You are on page 1of 12

งานซ่ อมแซมปรับปรุ งและยกปรับระดับ

อาคารหอประชุ มศูนย์ ศิลปวัฒนธรรม


มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้ านสมเด็จเจ้ าพระยา

จัดทำโดย

บริษทั สยาม เอ็นจิเนีย ฟอรั่ม จำกัด


ประวัตคิ วามเป็ นมา

อาคารหอประชุมศูนย์ ศิลปวัฒนธรรม เป็ นอาคารเก่ าแก่ มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้ านสมเด็จ


เจ้ าพระยา ก่ อสร้ างเมื่อปี 2475 อายุอาคาร 75 ปี ลักษณะอาคารคล้ ายโรงละครแสดงโอเปร่ า
ของประเทศตะวันตก อาคารเป็ นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น ขนาดอาคาร 31.50× 24.20
มีพนื้ ทีใ่ ช้ สอย ประมาณ 1,400 ตรม. ผนังอาคารก่ ออิฐ ฉาบปูน ก่ อนดำเนินการปรับปรุง พืน้
ชั้นล่ างมีระดับต่ำกว่ าผิวถนน ประมาณ 75 ซม.
ขอบเขตในการดำเนินงาน

การดำเนินงานได้ แบ่ งเป็ น 2 ช่ วงโดยมีขอบเขตในการดำเนินงานดังนีค้ อื


 1. งานสำรวจตรวจสอบสภาพอาคาร เพือ่ การออกแบบฐานราก พืน้ ชั้นล่ างและยกปรับระดับ
อาคาร โดยมีข้นั ตอนดังนี้
– การสำรวจตรวจสอบอาคารทั้งสภาพภายนอกและสภาพโครงสร้ างอาคาร
– การสำรวจและวิเคราะห์ ข้อมูลชั้นดิน
– การตรวจสอบระดับและสภาพการทรุ ดตัวของอาคาร
– ออกแบบกำหนดแนวทางการเสริมฐานรากและยกปรับระดับอาคาร
 2. งานซ่ อมแซมปรับปรุงอาคารหอประชุมศูนย์ ศิลปวัฒนธรรม โดยมีขอบเขตงานดังนี้
– งานเสริมฐานรากและยกปรับระดับอาคาร
– งานก่ อสร้ างคาน พืน้ และเสาชั้นที่ 1
– งานสถาปัตยกรรม และซ่ อมแซมส่ วนทีเ่ สี ยหาย
– งานทาสี และงานเบ็ดเตล็ด
 
1.การสำรวจ ตรวจสอบอาคาร

* การตรวจสอบสภาพทางกายภาพ( Geometry Survey )


* การตรวจหารอยแตกร้ าว( Crack Survey )
* การตรวจระดับและสภาพการทรุดตัว( Settlement & Elevation Survey )
* การตรวจสอบคุณภาพของคอนกรีต( โดยวิธี Rebound Hammer Test )
* การตรวจสอบและวิเคราะห์ ข้อมูลดิน( Soil Testing & Survey )
* การตรวจสอบลักษณะฐานรากอาคาร
2.ประมวลผลและวิเคราะห์ แนวทางการแก้ไข

2.1 สรุปสภาพปัญหาของอาคาร
* ระดับพืน้ ชั้นล่ างอยู่ทตี่ ่ำและมีน้ำขังตลอดเวลา ไม่ สามารถใช้ งานได้
* เสาอาคารบางตำแหน่ งเหล็กเสริมเป็ นสนิม ทำให้ คอนกรีตระเบิดออก
* ระบบฐานรากเดิมไม่ เหมาะสมสำหรับการใช้ งานในระยะยาว
2.ประมวลผลและวิเคราะห์ แนวทางการแก้ไข

2.2 ข้ อเสนอและแนวทางการแก้ ไขปรับปรุงอาคาร


* ทำการแก้ ไขเร่ งด่ วน คือ เสริมความแข็งแรงให้ กบั เสาอาคารทีเ่ กิดสนิม
* ทำการเสริมฐานรากอาคาร และยกปรับระดับอาคาร
* ทำการปรับปรุงอาคารชั้นล่ างใหม่ ท้งั หมด เพือ่ ใช้ ประโยชน์ อาคารอย่ าง
สมบูรณ์
3.การดำเนินการตามแนวทางการแก้ไขปรับปรุ งอาคาร

3.1 การเสริมความแข็งแรงของเสาอาคาร ทีเ่ หล็กเสริมเป็ นสนิม


และสู ญเสี ยการรับน้ำหนัก
กราฟท
กราฟท ี ่ 2.1RELATION
ี ่ 2.2 Relation ofOFLoad - Time - Settlement
LOAD-SETTLEMENT ของเสาเข
ของเสาเข็ ็ มขนาด
มขนาด 150 150
มม. มม.
40
3.การดำเนินการตามแนวทางการแก้ไขปรับปรุ งอาคาร
35 0 5 10 15 20 25 30 35 40
30 0.00
Load.(tons.)

25 -1.00
20 -2.003.2 การเสริมฐานรากและยกปรับระดับ
15 -3.00
10 -4.00
* การจัดเตรียมสถานที่ และงานรื้อถอนผนังอาคาร
5 -5.00 * งานเสริ มเสาเข็มและฐานรากอาคาร
Settlement.(mm.)
Settlement.(mm.)

0 -6.00
-5 0 5
1.เสาเข็
10
มระบบกด(
15 20
HYDRULIC
25 30 35
COMPRESSION
40 45 50
PILES:
55
HCP.)
60 65
-7.00
-10
-8.00 2.เสาเข็มระบบตอก( MICRO DRIVEN PILES: MDP.)
-9.00 * งานทดสอบการรั บน้ำหนักเสาเข็ม
-15

-10.00 * งานขุดดินและเทหุ้มเสาเข็ม Time.(Hr.)

* งานเสริมคานเหล็กรู ปพรรณ Load.(Tons.)


* งานยกปรับระดับอาคารการขึ้น Load รอบแรก การขึ้น Load รอบสอง
* ภาพเปรียบเทียบก่ อน-หลัง ยกปรับระดับอาคาร
3.การดำเนินการตามแนวทางการแก้ไขปรับปรุ งอาคาร

3.3 การปรับปรุงชั้นล่ างของอาคาร


* การติดตั้งเสาอาคาร
* งานก่ อสร้ างโครงสร้ างคานและพืน้ ชั้นล่ าง
* งานติดตั้งประตู หน้ าต่ างและผนังอาคาร
* การเก็บงานและความเรียบร้ อย
ภาพเปรียบเทียบ ก่ อน - หลัง ดำเนินการปรับปรุ งอาคาร

ก่อนดำเนินการ หลังดำเนินการ

You might also like