You are on page 1of 41

รายวิชา ACT 203

บัญชีธุรกิจ (BUSINESS ACCOUNTING


สัปดาห์ที่ 1 : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวการ
บัญชี
ดร.รัญชนา รัชตะนาวิน

คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
วัตถุประสงค์
- เพื่อเข้าใจความหมาย และความสำคัญของการบัญชีได้
- เพื่อเข้าถึงวัตถุประสงค์ และประโยชน์ของการบัญชี
- เพื่อทราบถึงข้อสมมติฐาน ทางการบัญชี
- เพื่อเรียนรู้ประเภท และประโยชน์ขององค์ประกอบที่
เกี่ยวข้องกับงบการเงินได้

สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ
หัวข้อ

สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 3
นิยาม
การบัญชี หมายถึง
ศิลปะ ของการจดบันทึก
ข้อมูล และจำแนกประเภท
รายการตามสถานการณ์ที่
เกี่ยวข้องกับการเงิน และสิ่ง
เทียบเท่าเงินสดในรูปแบบ
ของหน่วยเงินตรา รวมถึงการ
สรุปผล
การประมวลผลและตีความ
หมายของเหตุการณ์นน ั้

สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 4
ขัน
้ ตอนทางการบัญชี
1.การเก็บรวบรวม(Collecting) เก็บ
รวบรวมข้อมูลที่พิจารณาว่าเป็ น
รายการค้าเพื่อนำไปบันทึกบัญชีต่อ
ไป
2.การบันทึกรายการ(Recording)นำ
หลักฐานที่น่าเชื่อถือมาบันทึกบัญชี
รายการค้าในสมุดรายวันทั่วไปในรูป
ของหน่วยเงินตรา
3.การจำแนกรายการ(Classifying)
จำแนกรายการค้าที่บันทึกในสมุด
รายวันทั่วไปเพื่อไปบันทึกในบัญชี
แยกประเภทและคำนวณหายอดคง
เหลือแต่ละบัญชีในบัญชีแยก
ประเภท สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ
ขัน
้ ตอน
ข้อมูลรายการการค้า การเก็บรวบรวมข้อมูลใน
ในแต่ละวัน การบันทึกรายการค้า
(collecting) (Recording)

การสรุปผล การจัดหมวดหมู่ของรายการค้า
ของรายการค้า ในเหตุการณ์แต่ละวัน
(Summarizing) (Classifying)

การตีความหมายและการ
แสดงผลลัพธ์
(Interpreting & output)

สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 6
ประเภทของบัญชี
-การบัญชีการเงิน (Financial Accounting)
จัดทำเพื่อให้ข้อมูลแก่บุคคลภายนอกกิจการ ได้แก่ นักลงทุน เจ้า
หนี ้ หน่วยงานราชการ เพื่อทราบฐานะทางการเงิน และผลการดำเนิน
งานและต้องได้รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาตด้วย
-การบัญชีบริหาร (Managerial Accounting)
จัดทำเพื่อให้ข้อมูลเฉพาะบุคคลภายในกิจการเท่านัน
้ เพื่อประโยชน์ในการ
วางแผน การควบคุม การประเมินผล ตลอดจนการตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจ
ข้อมูลทางการบัญชีมักเป็ นความลับภายในกิจการ รูปแบบรายงานและหลักการ
สามารถปรับเปลี่ยนได้

สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 7
วัตถุประสงค์ของการบัญชี
• เพื่อจดบันทึกเหตุการณ์ทางการเงินที่เกิดขึน
้ ตาม
ประเภทรายการ และเรียงลำดับก่อนหลัง อย่าง
ครบถ้วน
• เพื่อจดบันทึกรายการค้าให้ ถูกต้อง เป็ นตามหลัก
การบัญชีและตามกฎหมายว่าด้วยการบัญชี
• เพื่อแสดงผลการดำเนินงานใน รอบระยะเวลาหนึ่ง
(งบกำไรขาดทุน)
• เพื่อแสดงฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่ง
(งบดุล) สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 8
ประโยชน์ของการบัญชี
• ช่วยให้เจ้าของกิจการสามารถ ควบคุม ดูแล รักษา
สินทรัพย์ของกิจการได้
• ช่วยให้ทราบ ผลการดำเนินงาน ของกิจการ – งบ
กำไร/ขาดทุน
• ช่วยให้ทราบ ฐานะทางการเงิน ของกิจการ - งบดุล
• ช่วยในการ กำหนดนโยบาย วางแผนการดำเนินงาน
• ช่วยในการ ตัดสินใจในการบริหาร การดำเนินงาน
• ช่วยในการ ตรวจสอบ หาข้อผิดพลาด
• ช่วย ให้ข้อมูล แก่บุคคลภายใน และภายนอก
• ทราบถึงข้อบกพร่องที่เกิดขึน
้ ในอดีตสัปเพื
่ อทใช้
ดาห์ ี่ 1 เ|ป็ความรู
นแนวทางในการ
้ทั่วไปเกี่ยวกับ 9
ผู้ใช้ข้อมูลทางการบัญชี
ผู้ใช้ ภายใน ผู้ใช้ ภายนอก

• ผู้ลงทุน (เจ้าของเงิน • ผู้ให้กู้ (สถาบันการเงิน)


ลงทุน) • ผูข้ ายสินค้าและเจ้าหนี ้
• ลูกจ้าง อื่น
(ความมั่นคงของ • ลูกค้า
กิจการ) • รัฐบาลและหน่วยงาน
. ผู้บริหาร ราชการ (กรม
. ผู้จัดการ สรรพากร ประกัน
สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 10
รูปแบบของธุรกิจ

• กิจการเจ้าของคนเดียว (Single
Proprietorship)

• ห้างหุ้นส่วน (Partnership)

•บริษัทจำกัด (Private Company


Limited)

สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 11
ประเภทของธุรกิจ
•ธุรกิจบริการ (Service Business) เช่นสถาบันการ
เงิน บริการขนส่ง โรงภาพยนต์ ร้านตัดผม เป็ นต้น
•ธุรกิจพาณิชยกรรม (Merchandising
Business) เป็ นการซื้อสินค้าสำเร็จรูปแล้วนำไปจำหน่ายต่อ เช่น
ห้างสรรพสินค้า ร้านจำหน่ายหน้งสือ ร้านขายของชำ เป็ นต้น
•ธุรกิจอุตสาหกรรม (Manufacturing Business)
เป็ นธุรกิจที่ทำการผลิตสินค้า มีกระบวนการผลิต เช่น โรงงาน
ผลิตเฟอร์นิเจอร์ บริษัทผลิตเสื้อผ้า เป็ นต้น

สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 12
13
รายการบัญชี / รายการค้า
รายการบัญชี/รายการค้า หมายถึง รายการที่
ก่อให้เกิด การโอน /แลกเปลี่ยน เงิน หรือ สิ่ง
ที่มีมูลค่าเป็ นเงิน ระหว่างกิจการกับบุคคลอื่น
ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ หนี ้
สิน และส่วนของเจ้าของ

สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 14
การวิเคราะห์รายการบัญชี / รายการค้า
• การวิเคราะห์รายการบัญชี/รายการค้า คือ การ
วิเคราะห์รายการที่เกิดขึน
้ จากการดำเนินงาน
ก่อน การบันทึกบัญชี ว่ารายการที่เกิดขึน ้ นัน
้ มี
ผลกระทบต่อสมการบัญชีอย่างไร
• นิยมใช้ สมการบัญชี (Accounting Equation) เข้ามาช่วย
ในการวิเคราะห์รายการ

สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 15
ตัวอย่าง รายการค้า
1.ร้านตัดผมได้รับเงิน
จากการตัดผมให้ลูกค้า
เป็ นเงิน200 บาท
2.บริษัทซื้อเครื่อง
คอมพิวเตอร์เพื่อใช้ใน
สำนักงานเป็ นเงินเชื่อ 3
5,000 บาท
3.บริษัทกู้เงินจาก
ธนาคาร เป็ นเงิน
300,000 บาท สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 16
ตัวอย่าง ไม่ใช่ รายการค้า
1. บริษทั ได้ รับคำสั่ งซื้อสิ นค้ าจากลูกค้ า จำนวน 100,000 บาท
2. บริษทั ได้ รับพนักงานบัญชีคนใหม่ เข้ าทำงานอัตราเงินเดือน 20,000
บาทโดยจะรับบรรจุในเดือนหน้ า
3. บริษทั เรียกประชุมใหญ่ ผู้ถอื หุ้น
4. พนักงานขายของบริษทั แนะนำสิ นค้ าให้ แก่ ลูกค้ า
5. บริษทั สอบถามราคาสิ นค้ าจากผู้ขาย

สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 17
สมการบัญชี
• สมการบัญชี คือ สมการที่แสดง
สัดส่วนความสัมพันธ์ ระหว่าง
สินทรัพย์ หนีส
้ ิน และ ส่วนของ
เจ้าของ (ทุน) จากเหตุการณ์ที่ส่ง
ผลกระทบต่องบการเงินของกิจการ
สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ
สมการบัญชี
A = L + OE
ASSETS = LIABILITIES + OWNER’S EQUITY
สินทรัพย์ = หนีส
้ ิน + ส่วนของเจ้าของ

ทุน + กำไร (ขาดทุน) สุทธิ

รายได้ - ค่าใช้จ่าย
การแบ่งประเภทหมวดหมู่
บัญชี
บัญชี แบ่งได้ 5 หมวดหมู่
ได้แก่
หมวดที่ 1 สินทรัพย์
หมวดที่ 2 หนีส้ ิน
หมวดที่ 3 ส่วนของเจ้าของ(ทุน)
หมวดที่ 4 รายได้
หมวดที่ 5 ค่าใช้จ่าย สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 20
หมวดหมู่บัญชี แบ่งได้ 5
หมวด
หมวดหมู่บัญชี เพิ่ม (+) ลด (-)
1. สินทรัพย์ เดบิต เครดิต
2. หนีส
้ ิน เครดิต เดบิต
3. ส่วนของ เครดิต เดบิต
เจ้าของ
4. รายได้ เครดิต เดบิต
5. ค่าใช้จ่าย เดบิต เครดิต
สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 21
งบการเงิน
Financial statement
วัตถุประสงค์ของงบการเงิน
การให้ข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผล
การดำเนินงาน และการเปลี่ยนแปลง
ฐานะทางการเงินของกิจการ อันเป็ น
ประโยชน์ต่อผู้ใช้งบการเงิน ในการนำไป
ใช้ตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ

สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 23
ลักษณะเชิงคุณภาพ
ของงบการเงิน
ความเข้าใจได้
(Understandability)

ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ
(Relevance)

ความเชื่อถือได้ (Reliability)

การเปรียบเทียบกันได้ สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ


องค์ประกอบของ
งบการเงิน
25
งบการเงินฉบับสมบู รณ์ ประกอบด้วย 5 งบ
งบแสดงฐานะทางการเงิน หรือ งบดุล
(สิ นทรัพย์ = หนีส้ ิ น + ทุน)
งบกำไรขาดทุน
(รายได้ – ค่ าใช้ จ่าย)
งบแสดงการเปลีย่ นแปลงในส่ วนของเจ้ าของ
งบกระแสเงินสด
หมายเหตุประกอบงบการเงิน

สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 26
องค์ประกอบของงบการเงิน
วัดฐานะการเงิน วัดผลการดำเนินงาน
งบกำไรขาดทุน
งบแสดงฐานะการเงิน

สินทรัพย์ รายได้
หนีส้ นิ ค่าใช้จา่ ย
ส่วนของเจ้าของ

สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ
งบแสดงฐานะการเงิน
• งบแสดงฐานะการเงิน
เป็ น
(Statement of Financial Position)
รายงานการเงินที่แสดงถึงฐานะ
การเงิน (สินทรัพย์ หนีส
้ ิน และ
ส่วนของเจ้าของ) ของกิจการ ณ
วันใดวันหนึ่ง
• งบแสดงฐานะการเงินประกอบ
ด้วย
– สินทรัพย์ (Assets)
– หนีส้ ิน (Liabilities)
– ส่วนของเจ้าของ (Owner’s Equity)
• ด้านซ้ายมือและ ด้านขวามือ
สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 28
งบแสดงฐานะการเงิน
จัดทำขึน ้ ตาม เกณฑ์คงค้าง
และการดำเนินงานต่อเนื่อง
ตัง้ อยู่บนสมการที่ว่า
สินทรัพย์ = หนีส ้ ิน + ส่วน
ของเจ้าของ
งบดุล สามารถแสดงได้ 2 แบบ
งบดุลแบบบัญชี
งบดุลแบบรายงาน
สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 29
สินทรัพย์
สินทรัพย์ (Assets) หมายถึง สิ่งที่มีมูลค่าเป็ นตัว
เงินที่บุคคล หรือกิจการเป็ นเจ้าของ
• สิ่งที่มีตัวตน เช่น เงินสด สินค้า เครื่องจักร อาคาร
ที่ดิน
• สิ่งที่ไม่มีตัวตน เช่น เครื่องหมายการค้า ลิขสิทธิ ์
สิทธิบัตร สัมปทาน ค่านิยม สัญญาเช่า เป็ นต้น

สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 30
ประเภทของสินทรัพย์

- เงินสด & เงินฝาก


- เงินลงทุนระยะยาว
ธนาคาร - เงินลงทุนในบริษัท
- เงินลงทุนชั่วคราว
- ตั๋วเงินรับ ร่วม
- เงินลงทุนในบริษัท
- ลูกหนีก ้ ารค้า
- เงินกู้ยืมระยะสัน ย่อย

- กองทุน
- สินค้าคงเหลือ
- ที่ดิน อาคาร และ
- รายได้ค้างรับ
- ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วง
สัปดาห์อุท
ปี่ กรณ์
1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ
หนี้สิน
หนีส้ ิน (Liabilities) หมายถึง ภาระ
ผูกพันในปั จจุบันของกิจการ เป็ นผล
ของเหตุการณ์ในอดีต การชำระภาระ
ผูกพันนัน ้ คาดว่าจะส่งผลให้กิจการสูญ
เสียทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ

หนีส ้ ิน หมายถึง จำนวนเงินที่กิจการ


เป็ นหนีบ ้ ุคคลอื่น ซึ่งจะต้องชำระคืนใน
ภายหน้าด้วยสินทรัพย์ หรือบริการ เช่น
เจ้าหนีก ้ ารค้า เงินกู้เงินเบิกเกินบัญชี
ธนาคาร เจ้าหนีอ ้ ่น
ื ๆ เป็ นต้น

สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 32
ประเภทของหนีส
้ ิน

- เจ้าหนีก ้ ารค้า
- ตั๋วเงินจ่าย
- ตั๋วเงินจ่าย
- เงินกู้
- เงินปั นผลค้างจ่าย
- เงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึง
- หุ้นกู้
- เงินกู้ยืมระยะยาว
กำหนดใน 1 ปี - เจ้าหนีจำ้ นอง
- เงินมัดจำ
- เงินเบิกเกินบัญชี
- รายได้รอการตัดบัญชี
- ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
- รายได้รับล่วงหน้า
ส่วนของเจ้าของ
ส่วนของเจ้าของ (Owner’s Equity) หมายถึง ส่วนได้เสีย
คงเหลือในสินทรัพย์ของกิจการหลังจากหักหนีส ้ ินออก
แล้ว
ส่วนของเจ้าของ หมายถึง สิทธิความเป็ นเจ้าของ
ที่แท้จริงในสินทรัพย์ หรือเรียกว่า สินทรัพย์สุทธิ (Net
Assets) หรือ สินทรัพย์ที่เป็ นส่วนของเจ้าของกิจการ

สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 34
งบกำไรขาดทุน
•งบกำไรขาดทุน เป็ นรายงานทางการเงินที่
แสดงถึงผลการดำเนินงาน (รายได้ และค่าใช้
จ่าย) ของกิจการ สำหรับรอบระยะเวลาใดเวลา
หนึ่ง (งวดบัญชี)
•องค์ประกอบของงบกำไรขาดทุน
• รายได้ (Revenues)
• ค่าใช้จ่าย (Expenses)
• กำไร (Gains) / ขาดทุน (Losses)
สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 35
รายได้
รายได้ (Revenue)
หมายถึง ผลตอบแทน
ที่กิจการได้รับจากการ
ขายสินค้าหรือบริการ
ตามปกติของกิจการ
รวมทัง้ ผลตอบแทนอื่น
ๆ ที่ไม่ได้เกิดจากการ
ดำเนินงานตามปกติ
สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ
ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่าย (Expense)
หมายถึง ต้นทุนส่วนที่หัก
ออกจากรายได้ในรอบระยะ
เวลาที่ดำเนินการงานหนึ่ง

สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ
รอบระยะเวลาบัญชี
• รอบระยะเวลาบัญชี (Accounting Period) คือ
การกำหนดช่วงเวลาสำหรับการสรุปผล
การดำเนินงานของกิจการ ซึ่งจะกำหนด
ไว้เป็ นระยะเวลาเท่าใด ขึน
้ อยู่กับดุลพินิจ
ของเจ้าของ หรือผู้บริหารกิจการ โดย
ปกติจะไม่นานเกิน 1 ปี

สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 38
สมมติฐานทางการบัญชี
• เกณฑ์คงค้าง (Accrual Basis )
เกณฑ์บันทึกบัญชีรายได้และค่าใช้จ่าย ด้วยการยึดหลักว่า
รายได้และค่าใช้จ่าย ที่เกิดขึน
้ ในงวดบัญชีใด ให้ถือเป็ นราย
ได้และค่าใช้จ่ายของงวดบัญชีนน ั ้ ๆ ไม่ว่าจะรับหรือจ่าย
เป็ นเงินสดหรือไม่ก็ตาม
• การดำเนินงานต่อเนื่อง ( Going Concern )
กิจการจัดตัง้ ตามวัตถุประสงค์ที่จะดำเนินงานอย่างต่อ
เนื่องและดำรงอยู่ต่อไปในอนาคต หากกิจการมีเจตนา
หรือความจำเป็ นที่เลิกกิจการการดำเนินงานอย่างมีนัย
สำคัญ งบการเงินต้องจัดทำขึน ้ โดยใช้ เกณฑ์
สัปดาห์ อ่ น
ื และต้
ที่ 1 | ความรู ้ทั่วไปเกีอ่ยงวกับ 39
เกณฑ์คงค้าง
• รายได้และค่าใช้จ่ายไม่ได้บันทึก ณ จุดที่
รับหรือจ่ายเงินเสมอไป แต่จะรับรู้เมื่อ
“เกิดขึน
้ ”
• ผลคือ รายได้และค่าใช้จ่าย ไม่ใช่ตัว
สะท้อนกระแสเงินสด

สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 40
การดำเนินงานต่อเนื่อง
• กิจการ ไม่มี เจตนาหรือ ไม่มี ความจำเป็ นที่จะ
เลิกกิจการ หรือลดขนาดการดำเนินงานอย่างมี
นัยสำคัญ
• หาก มีความไม่แน่นอน อันเป็ นเหตุให้สงสัยว่า
กิจการอาจไม่สามารถดำเนินงานได้อย่างต่อ
เนื่อง กิจการต้องเปิ ดเผยข้อมูล

สัปดาห์ที่ 1 | ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ 41

You might also like