You are on page 1of 28

แนวคิดหล ักในการ

ว ัดและประเมินผล
การศกึ ษา
ั สำค ัญ
ศพท์
การว ัด (measurement) หมายถึง การกำหนดปริมาณให ้กับสงิ่
่ ้องการวัด ไม่วา่ จะเป็ น วัตถุ สงิ่ ของ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์
ทีต
หรือพฤติกรรมต่าง ๆ โดยจะต ้องมีความหมาย เป็ นไปตามกฏเกณฑ์
ซงึ่ การจะได ้มาซงึ่ ปริมาณนัน ้ อ
้ อาจต ้องใชเครื ่ งมือไปวัดเพือ ่ ให ้ได ้
ปริมาณทีส ่ ามารถแทนคุณลักษณะต่าง ๆ ของสงิ ทีต ่ ้องการวัด
การวัดผลแบ่งได ้เป็ น 2 ประเภทคือ
1. การวัดทางตรง เป็ นการวัดคุณลักษณะทีต ่ ้องการวัดได ้
โดยตรง เรียกอีกอย่างว่า การวัดด ้านวิทยาศาสตร์ หรือการวัดทาง
กายภาพ
2. การวัดทางอ ้อม เป็ นการวัดคุณลักษณะทีต ่ ้องการ
โดยตรงไม่ได ้ สงิ่ ทีว่ ด
ั เป็ นนามธรรม ต ้องวัดโดยผ่านกระบวนการ
ทางสมองหรือพฤติกรรม
การวัดทางอ ้อมแบ่งออกเป็ น 3 ด ้านคือ
2.1 ด ้านสติปัญญา (Cognitive Domain)
ึ (Affective Domain)
2.2 ด ้านความรู ้สก
2.3 ด ้านทักษะกลไก (Psychomotor
Domain)
การทดสอบ (testing) หมายถึง เครือ ่ งมือหรือสงิ่ เร ้าทีไ่ ปเร ้าให ้ผู ้
ถูกทดสอบได ้แสดงพฤติกรรมหรือความสามารถทีต ่ ้องการออกมา ผล
การทดสอบมักออกมาในรูปของคะแนน และคะแนนเป็ นสงิ่ ทีแ ่ ทน
ความสามารถของบุคคล ดังนัน ้ การทดสอบจึงควรจะมีประสท ิ ธิภาพ
้ อ
โดยใชเครื ่ งมือการทดสอบวัดทีม ่ คี ณ
ุ ภาพ และต ้องพยายามดำเนิน
การทดสอบให ้เป็ นไปอย่างมีประสท ิ ธิภาพ และให ้ความยุตธิ รรมแก่ผู ้
ถูกทดสอบทุกคน ภายใต ้สถานการณ์เดียวกัน องค์ประกอบของการ
ทดสอบมีดงั นี้
1. บุคคลทีถ ่ ก
ู ทดสอบ
2. เครือ ้
่ งมือทีใ่ ชในการทดสอบ
3. การดำเนินการทดสอบ
4. ผลการทดสอบในรูปของคะแนนทีแ ่ ทนความ
สามารถ
ของผู ้ถูกทดสอบ
การว ัดผลการศก ึ ษา (educational measurement)

คือการสอบและการวัดต่าง ๆ ทีใ่ ชในการจั ดการศก ึ ษา มัก
เกีย่ วข ้องกับการวัดความสามารถ วัดผลสม ั ฤทธิ์ วัด
คุณลักษณะของผู ้เรียน วัดทักษะปฏิบต ั ต
ิ า่ ง ๆ ของผู ้เรียน

การประเมิน (assessment) มักนำมาใชแทนการวั ดทางการ
ศกึ ษา เป็ นคำทีใ่ ชแทนเพื
้ อ
่ แสดงให ้เห็นถึงวิธก ี ารวัดที่
นอกเหนือจากการสอบแบบเดิม ซงึ่ มีอยูห ่ ลากหลาย เชน ่
การประเมินตามสภาพจริง (authentic assessment)
เป็ นกระบวนการทีเ่ กิดขึน
้ และอยูใ่ นการเรียนการสอน
เป็ นการวัดและประเมินตามสภาพแท ้จริงของผู ้เรียนด ้วย
วิธก ี ารทีห
่ ลากหลาย
การประเมินทางเลือก (alternative assessment)
เป็ นการประเมินอืน ่ ๆ ทีน ่ อกเหนือจากการใช ้
ข ้อสอบแบบเดิม รวมถึงการประเมินภาคปฏิบต ั ิ
การสงั เกต การสม ั ภาษณ์ การใชแฟ้ ้ มสะสมงาน
เป็ นต ้น
การประเมินภาคปฏิบต ั ิ (performance-base
assessment) เป็ นแบบหนึง่ ของการประเมินทาง
เลือก เป็ นการประเมินเกีย ่ วกับทักษะการ
แสดงออก การเคลือ ่ นไหวทางร่างกายและ
ประสาทสม ั ผัส เชน่ การสอ ื่ สาร การเล่นเครือ
่ ง
ดนตรี การเล่นกีฬา เป็ นต ้น
การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การนำ
ตัวเลขทีไ่ ด ้จากการวัด (measurement) รวมกับ
การใชวิ้ จารณญาณของผู ้ประเมินมาตัดสน ิ ผล
(judgement) โดยการตัดสน ิ นัน
้ อาจไปเปรียบเทียบ
กับเกณฑ์ เพือ ่ ให ้ได ้ผลเป็ นอย่างใดอย่างหนึง่ เชน ่
เนือ
้ ปลาชน ิ้ นีห
้ นัก 0.5 กิโลกรัมเป็ นเนือ ้ ปลาชน ิ้ ที่
เบาทีส่ ด
ุ ในร ้าน เด็กชายแดงได ้คะแนนวิชาภาษา
ไทย 42 คะแนนซงึ่ ไม่ถงึ 50 คะแนนถือว่าสอบไม่
ผ่าน เป็ นต ้น
ประเมินผลแบ่งได ้เป็ น 2 ประเภท
1. การประเมินแบบอิงกลุม ่
2. การประเมินแบบอิงเกณฑ์
อิงกลุ่ม อิงเกณฑ์
1. การประเมินผลเป็นการเปรี ยบเทียบคะแนน 1. การประเมินผลเป็นการเปรี ยบเทียบคะแนน
ที่สอบได้กั บคะแนนของคนอื่นในกลุ่ม ที่สอบได้กั บเกณฑ์ที่กำหนดไว้
2. เหมาะสำหรั บการคัดเลือกแข่ งขั นกั น 2. เหมาะสำหรั บการเรี ยนการสอนเพราะเป็น
มากกว่ าการเรี ยนการสอน การสอบวั ดเพื่อปรั บปรุ งการเรี ยนการสอน
3. เสนอคะแนนในรู ปของอั นดับที่ร้อยละ 3. เสนอคะแนนในรู ปของการเรี ยนรู้ หรื อยั งไม่
(percentile rank) หรื อคะแนนมาตรฐาน เรี ยนรู้ ผ่านหรื อไม่ผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้
4. ใช้แบบทดสอบเดียวกั นสำหรั บนักเรี ยนทั้ง 4. ไม่จำเป็นต้องใช้แบบทดสอบฉบับเดียวกั น
ชั้นได้หรื ออาจใช้แบบทดสอบคู่ขนานเพื่อทำให้ ทั้งชั้น เนื่องจากไม่มีการเปรี ยบเทียบกั บคนอื่น
สามารถเปรี ยบเทียบกั นได้
5. แบบทดสอบมีความยากง่ ายพอเหมาะไม่ 5. แบบทดสอบค่อนข้างง่ าย เขี ยนตามเนื้อหา
ยากเกิ นไปหรื อง่ ายเกิ นไป เนื้อหาที่ถามต้อง และจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้
เป็นตัวอย่างของเนื้อหาทั้งหมด
6. ความเที่ยงตรงของแบบทดสอบทุกแบบมี 6. ความเที่ยงตรงตามเนื้อหามีความสำคัญมาก
ความสำคัญ
7. อำนาจจำแนกของข้อสอบ ควรสามารถ 7. อำนาจจำแนกของข้อสอบ ควรสามารถ
จำแนกผู้สอบออกเป็นกลุ่มสู งและกลุ่มต่ำ จำแนกผู้สอบออกเป็นกลุ่มรอบรู้-ไม่รอบรู้
หรื อผ่าน-ไม่ผ่าน
ข้ อดี - ข้ อเสียของการประเมินผลแบบอิงกลุ่ม
ข้ อดี ข้ อเสีย
1. สามารถเปรี ยบเทียบคะแนนความสามารถ 1. การเปรี ยบเทียบคะแนนกั นภายในกลุ่ม
ของนักเรี ยนกั บบุคคลอื่น ก่อให้เกิ ดการแข่ งขั นชิ งดีชิ งเด่นขาดการ
ช่วยเหลือซึ่งกั นและกั น
2. ใช้ได้ดีในการสอบคัดเลือกและพยากรณ์ 2. ไม่สามารถนำคะแนนไปใช้ประเมินผลแบบ
อิ งเกณฑ์ได้
3. ส่งเสริ มให้นักเรี ยนพัฒนาตนเองตลอดเวลา 3. เป็นการประเมินผู้เรี ยนเป็นส่วนใหญ่ ไม่ได้
เพราะต้องนำคะแนนไปเปรี ยบเทียบกั บคนอื่น ประเมินผู้สอน หรื อกระบวนการเรี ยนการสอน
4. สะดวกในการออกข้อสอบ เนื่องจากใช้ 4. เป็นผลเสี ยทางด้านจิ ตใจแก่ผู้ที่ได้คะแนนต่ำ
ข้อสอบเดียวกั นทั้งห้อง กว่ าผู้อื่น
ข้ อดี - ข้ อเสียของการประเมินผลแบบอิงเกณฑ์
ข้ อดี ข้ อเสีย
1. เป็นการประเมินเพื่อปรั บปรุ งการเรี ยนการ 1. ไม่คำนึงถึ งความยากง่ ายของข้อสอบ
สอนให้ดีขึ้นสอดคล้องกั บปรั ชญา “สอบเพื่อ
ค้นหาและพัฒนาสมรรถภาพมนุษย์”
2. ส่งเสริ มให้มีการช่วยเหลือซึ่งกั นและกั น 2. การกำหนดเกณฑ์ที่เหมาะสมทำได้ยาก
เนื่องจากมีลักษณะเป็นอั ตนัย
3. เป็นการประเมินทั้งตัวผู้เรี ยนและผู้สอน 3. วิ ธี ดำเนินการสอบเป็นภาระยุ่งยากแก่ผู้สอน
รวมทั้งกระบวนการเรี ยนการสอนด้วย
4. ส่งเสริ มให้ผู้เรี ยนเรี ยนอย่างมีจุดมุ่งหมาย
การประเมินผลนัน ้ ต ้องมีองค์ประกอบหลัก 3 ประการ
คือ
1) ผลการวัด (measurement)
2) เกณฑ์การพิจารณา (criteria)
3) การตัดสน ิ ใจ (judgement)
การประเมินผลทีเ่ ทีย ่ งธรรม ย่อมมาจากการ
วัดผลทีด่ ี คือควรวัดด ้วยเครือ ่ งมือหลาย ๆ อย่าง
อย่างละหลาย ๆ ครัง้ ครัง้ ละมาก ๆ ข ้อ นั่นคือการวัด
ซ้ำ 4 ครัง้ ด ้วยเครือ
่ งมือทีแ่ ตกต่างกัน ย่อมดีกว่าการ
วัดเพียงครัง้ เดียว หรือวัดด ้วยข ้อสอบ 20 ข ้อย่อมดี
กว่าวัดด ้วยข ้อสอบเพียง 5 ข ้อ
ึ ษา
ล ักษณะและข้อจำก ัดของการว ัดผลการศก
1. การวัดผลการศก ึ ษาเป็ นการวัดทางอ ้อม เพราะเป็ นการวัด
คุณลักษณะนามธรรมทีอ ่ ายในตัวบุคคล ซงึ่ ไม่สามารถ
่ ยูภ
สงั เกตเห็นได ้โดยตรง
2. การวัดผลการศก ึ ษาเป็ นการวัดทีไ่ ม่สมบูรณ์ คือไม่สามารถวัด
คุณลักษณะหรือพฤติกรรมต่าง ๆ ทีต ่ ้องการได ้อย่างครบถ ้วน
สมบูรณ์
3. ผลจากการวัดย่อมเกิดความคลาดเคลือ ่ นเสมอ
คะแนนจากการวัด จึงเท่ากับความสามารถทีแ ่ ท ้จริงกับ
ความคลาดเคลือ ่ นมาตรฐานของการวัด เขียนเป็ นสมการได ้ว่า
X = T+E
เมือ่ X แทนคะแนนทีไ่ ด ้จากการวัด T แทนความสามารถทีแ ่ ท้
จริง และ E แทนความคลาดเคลือ ่ นมาตรฐานของการวัด
ระด ับของผลการว ัด

1. ระด ับนามบ ัญญ ัติ (nominal scale)


2. ระด ับเรียงอ ันด ับ (ordinal scale)
3. ระด ับชว ่ ง (interval scale)
4. ระด ับอ ัตราสว่ น (ratio scale)
ึ ษา
หล ักการว ัดผลการศก
การจะดำเนินการวัดผลสงิ่ ใด หรือใน
โอกาสใดก็ตาม ผู ้วัดย่อมต ้องการผลการวัดทีม ่ ี
คุณภาพ เชน ่ ให ้เชอ
ื่ ถือได ้ ให ้ตรงกับความเป็ น
จริง เพือ่ จะนำผลไปใชให ้ ้เกิดประโยชน์อย่าง
มั่นใจ การทีจ ่ ะดำเนินการตามความต ้องการดัง
กล่าวนัน้ จำเป็ นต ้องมีหลักเกณฑ์ทด ี ำหรับ
ี่ ส
ยึดถือเป็ นแนวทางของการปฏิบต ั ิ หลักเกณฑ์
หรือองค์ประกอบสำคัญทีถ ่ อ
ื ว่าเป็ นหลักของการ
วัดผลการศก ึ ษา มีดงั นี้
1. วัดให ้ตรงกับวัตถุประสงค์ทต ี่ ้องการ
1.1 ทำความเข ้าใจคุณลักษณะทีต ่ ้องการวัด
้ อ
1.2 ใชเครื ่ งมือให ้เหมาะสมถูกต ้อง
1.3 วัดให ้ครบถ ้วนทุกแง่ทก ุ มุม
้ อ
2. ใชเครื ่ งมือวัดผลทีห่ ลากหลายและมีคณ ุ ภาพ
3. มีความยุตธิ รรม
3.1 เครือ ่ งมือทีใ่ ช ้
- วัดครอบคลุมทุกเรือ ่ งทุกแง่มมุ
- ไม่ควรให ้ผู ้เรียนเลือกตอบเพียงบางข ้อ
ได ้ เชน่ ออกข ้อสอบ 6 ข ้อให ้เลือกทำ 3 ข ้อ

- ใชภาษาช ดั เจน ไม่วกวน
- คำถามไม่ควรตอบกันเอง เชน ่ ข ้อหลัง
ๆ แนะนำคำตอบของข ้อแรก ๆ เป็ นต ้น

- ควรใชแบบทดสอบชุ ดเดียวกัน หากใช ้
ข ้อสอบคนละชุดจะมีความยากง่ายแตกต่างกัน
3.2 การใชเครื ้ อ ่ งมือ
- บอกใบ ้คำตอบระหว่างทีม ่ กี ารสอบวัด
- สง่ เสย
ี งรบกวนระหว่างทีผ ้
่ ู ้สอบใชความคิด
้ อ
- ใชเครื ่ งมือทีพ
่ มิ พ์ผด
ิ มาก ๆ ไม่มค ี ำตอบถูก
หรือมีคำตอบถูกหลายตัว
- ทำเฉลยผิด ตรวจผิด ให ้คะแนนอย่างไม่มห ี ลัก
เกณฑ์
4. ประเมินผลได ้ถูกต ้อง
5. ้
ใชผลการวั ดให ้คุ ้มค่า
- เด็กคนนีม ้ ค
ี วามสามารถ เด่น –
ด ้อย ด ้านไหน
- เด็กงอกงามมากขึน ้ เพียงใด
่ งมือทีใ่ ชมี้ คณ
- เครือ ุ ภาพอย่างไร
ขนตอนในการว
ั้ ึ ษา
ัดผลการศก
1. ขัน
้ วางแผน
1.1 กำหนดจุดมุง่ หมาย
- สอบใคร เพือ่ ทราบระดับความยากง่ายทีเ่ หมาะกับกลุม ่ ผู ้
สอบ
- สอบไปทำไม เพือ ่ ทราบชนิด/ลักษณะเครือ ่ งมือทีใ่ ช ้
- สอบอะไร เพือ ่ ทราบสงิ่ ทีต
่ ้องการวัด
1.2 กำหนดสงิ่ ทีจ
่ ะวัด คือพยายามกำหนดว่าเนือ ้ หา
ใด คุณลักษณะหรือพฤติกรรมใดทีต ่ ้องการสอบวัด แต่ละ
เนือ
้ หาและพฤติกรรมนัน ้ ๆ จะวัดมากน ้อยเพียงใด
1.3 กำหนดเครือ ่ งมือ การวัดคุณลักษณะหรือ
พฤติกรรมทีต ่ ้องการนัน
้ ควรใชเครื ้ อ
่ งมืออะไรบ ้าง จึงจะ
วัดได ้ตรงตามความต ้องการได ้อย่างครบถ ้วน
- รูปแบบคำถามทีใ่ ช ้
- จำนวนข ้อคำถามและเวลาทีใ่ ชในการวั ้ ด
- วิธก ี ารตรวจสอบคุณภาพเครือ ่ งมือ
- ผู ้รับผิดชอบในการสร ้างเครือ ่ งมือ
- กำหนดเวลาในการสร ้างเครือ ่ งมือ
- วิธก ี ารทีจ ่ ะให ้ผู ้เรียนตอบ
- วิธก ี ารตรวจให ้คะแนน และการบันทึกผลคะแนน
2. ขัน
้ ดำเนินการสร ้างเครือ
่ งมือ
2.1 เขียนข ้อคำถาม
2.2 พิจารณาคัดเลือกข ้อคำถาม
2.3 พิจารณาข ้อคำถามทัง้ หมดทีใ่ ช ้
2.4 พิมพ์และอัดสำเนาเครือ ่ งมือ
2.5 ทำเฉลย
2.6 จัดเตรียมเครือ ่ ะใช ้
่ งมือทีจ
3. ขัน ้ อ
้ ใชเครื ่ งมือ เป็ นการนำเครือ ่ งมือไปทดสอบ
กับผู ้เรียน โดยต ้องดำเนินการสอบให ้เกิดความ
ยุตธิ รรมแก่ผู ้เข ้าสอบทุกคน พยายามหลีกเลีย ่ ง
การรบกวนเวลาในการคิดของผู ้เรียน ควรชแ ี้ จง
วิธค ี ด
ิ คำตอบ ชแ ี้ จงวิธก ี ารตอบ
4. ขัน้ ตรวจและใชผลการวั ้ ด
4.1 แปลงคำตอบของผู ้เรียนให ้เป็ นคะแนนตาม
เกณฑ์ทก ี่ ำหนด แล ้วจดบันทึก
4.2 รวบรวมคะแนนของผู ้เรียนทีไ่ ด ้จากการวัด
ทุกชนิด ทุกระยะเพือ ้
่ นำไปใชในการประเมิ นผล

และใชผลตามจุ ดมุง่ หมายทีต ่ ้องการ
5. การตรวจสอบคุณภาพเครือ ่ งมือ นำผล

การวัดมาใชประโยชน์ ในการตรวจสอบ
คุณภาพของเครือ ่ งมือเป็ นรายข ้อและทัง้
ฉบับเพือ ้ จารณาว่าข ้อสอบนัน
่ ใชพิ ้ มี
คุณภาพมากน ้อยเพียงใด ควรแก ้ไข
ปรับปรุงในเรือ่ งใด รวมทัง้ ยังชว่ ยเก็บ
รวบรวมข ้อสอบทีด ่ เี อาไว ้ใชต่้ อไป
ึ ษา
แนวคิดหล ักในการว ัดและประเมินผลการศก

1. การประเมินทีเ่ น ้นการประเมินการปฏิบต ั ิ
(performance assessment)
2. การประเมินทีเ่ น ้นการประเมินตามสภาพจริง
(authentic assessment)
2.1 อะไรทีม ่ ค
ี ณ
ุ ค่าทีเ่ รียนไปและควรได ้รับ
การประเมินในบริบททีเ่ กีย ่ วข ้องกับชวี ติ จริง
2.2 กำหนดแนวทางการประเมิน โดยใช ้
ข ้อมูลทีห
่ ลากหลาย
3. การประเมินเน ้นการใชเครื ้ อ
่ งมือทีห่ ลาก
หลาย (multiple method)
การใชข้ ้อสอบอย่างเดียวไม่เพียงพอ แต่
ควรใชเครื ้ อ ่ งมือวัดทีห
่ ลากหลายทีเ่ หมาะ
กับสงิ่ ทีต ่ ้องการวัด เชน ่ การสงั เกต การ
บันทึกเหตุการณ์ การเขียนอนุทน ิ การ
ประเมินปฏิบต ั ิ การทำงานกลุม่ การรายงาน
หน ้าชน ั ้ การใชแฟ้ ้ มสะสมงาน เป็ นต ้น
4. การประเมินต ้องให ้ข ้อมูลทีเ่ ป็ นประโยชน์ตอ ่ การพัฒนาในด ้าน
ต่าง ๆ
- ประโยชน์ตอ ่ ผู ้เรียน ประเมินเพือ่ บอกว่าผู ้เรียนทำอะไรได ้บ ้าง
อะไรทีค ่ วรพัฒนา
- ประโยชน์ตอ ่ ผู ้สอน ชว่ ยปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอน
- ประโยชน์ตอ ่ ผู ้ปกครอง เห็นพัฒนาการเรียนรู ้ของผู ้เรียน
- ประโยชน์ตอ ่ สถานศก ึ ษา เป็ นข ้อมูลสำหรับสถานศก ึ ษาในการ
จัดชนั ้ เรียนให ้เรียนในโปรแกรมทีเ่ หมาะสม การจัดโปรแกรม
เสริม การให ้คำแนะนำในการศก ึ ษาต่อและอาชพ ี
คุณธรรมของผูท
้ ำหน้าทีว่ ัดผล
1. มีความยุตธิ รรม ในทุกขัน ้ ตอนของการประเมินผล
ตัดสน ิ ผลด ้วยความบริสท ุ ธิใ์ จ ไม่ลำเอียง
2. มีความซอ ื่ สต
ั ย์ ไม่บอกข ้อสอบหรือขายข ้อสอบ
เปลีย
่ นแปลงคะแนนโดยไม่ยด ึ หลักวิชา ฯ
3. มีความรับผิดชอบ ดำเนินการวัดและประเมินให ้สำเร็จ
ไปด ้วยดี สร ้างข ้อสอบหรือสง่ คะแนนทันตามกำหนด
เวลา คุมสอบให ้เป็ นไปตามระเบียบ
4. มีความละเอียดรอบคอบ รอบคอบในการวัดและการ
ตัดสน ิ ใจ ทำให ้ผลการวัดผลเชอ ื่ ถือได ้มากทีส
่ ด
ุ ทัง้
การออกข ้อสอบ การตรวจ การทานคะแนน การรวม
คะแนน การตัดเกรด
5. มีความอดทน เพือ ่ ให ้งานบรรลุเป้ าหมาย เชน ่ ตรวจ

ข ้อสอบอัตนัยทีใ่ ชเวลามาก ตรวจแบบฝึ กหัดทุกครัง้
ประเมินผลด ้วยวิธก ี ารทีห
่ ลากหลาย ฯ
6. มีความสนใจใฝ่ รู ้ในหลักการวัดและประเมินผลใหม่ ๆ
เพือ่ พัฒนางานและวิชาชพ ี ของตนเอง

You might also like