You are on page 1of 60

ผลของ


สญญาต่ าง
ตอบแทน
ม.369- ม.372
ผลของสัญญา
เมือ
่ สัญญาเกิด ย่อมก่อหนี้หรือความผูกพันระหว่างคูส่ ญั ญาทีจ่ ะ
ต้องปฏิบตั ต ้ หากฝ่ ายหนึ่งไม่ยอมชำระหนี้ อีกฝ่ ายหนึ่ง มี
ิ ามนัน
สิทธิอย่างไรบ้าง

1. มีปฏิเสธไม่ชำระหนี้ของฝ่ ายตน ตาม ม.369

2.มีบอกเลิกสัญญา ตาม ม.387-ม.389

3.การรับบาปเคราะห์ในภัยพิบตั ิ หากการชำระหนี้ของฝ่ ายใดฝ่ าย


หนึ่งตกเป็ นพ้นวิสยั อันจะโทษฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งก็ไม่ได้ คูส่ ญ
ั ญา
ฝ่ ายใด จะต้องรับผลเสียจากภัยนัน้ (ม.370-372)

ผลของสญญาต่
าง
ตอบแทน
ผลในเรือ
่ งการชำระหนี้ ผลในเรือ
่ งการรับภัยหรือการ
ในสัญญาต่างตอบแทน รับบาปเคราะห์ในภัยพิบตั ิ

ม.369
ม.370-ม.372
หล ักการชำระหนีใ้ นสญญา

ต่างตอบแทน
ม.369

ั ญาฝ่ ายหนึ่งจะไม่ยอมชำระหนี้จนกว่าอีกฝ่ ายหนึ่งจะ


คูส่ ญ
ชำระหนี้หรือขอปฏิบตั ก
ิ ารชำระหนี้ก็ได้

แต่ความข้อนี้ทา่ นมิให้ใช้บงั คับถ้าหนี้ของคูส่ ญ


ั ญาอีกฝ่ าย
หนึ่งยังไม่ถงึ กำหนด

การชำระหนี้ในสัญญาต่างตอบแทนเป็ นไปในลักษณะ
การ “ยืน
่ หมูยน
ื่ แมว”นั่นเอง
ตัวอย่าง

นายเอก นายโท

เมือ่ สัญญาเกิด ย่อมก่อหนี้ให้นายเอก (ผูข ้ าย) ต้องส่งมอบแหวนให้


แก่นายโท (ผูซ ้ ื้อ) และนายโท (ผูซ ้ ื้อ) ก็มห
ี นี้ทจี่ ะต้องชำระราคาให้แก่
นายเอก (ผูข ้ าย) สัญญาดังกล่าวจึงเป็ นสัญญาต่างตอบแทน
ดังนี้ หากนายเอกไม่ยอมส่งมอบแหวนให้แก่นายโท นายโทก็มส ี ท
ิ ธิ
ปฏิเสธไม่ชำระเงินให้แก่นายเอก กลับกัน หากนายโทไม่ยอมชำระเงินให้
แก่นายเอก นายเอกก็มส ี ท
ิ ธิปฏิเสธไม่ยอมส่งมอบทรัพย์ให้แก่นายโท

เว้นแต่ นายเอกกับนายโทจะตกลงกัน ให้นายโทชำระเงินในอีก 10


วันข้างหน้า ดังนี้ หากนายเอกจะปฏิเสธไม่สง่ มอบแหวน โดยอ้างว่านาย
โทยังไม่ได้ชำระเงินให้ตนไม่ได้
การรับบาปเคราะห์หรือ
ความเสีย่ งในภัยพิบตั ิ
ในสัญญาต่างตอบแทน
หลักการพิจารณาว่ าคู่สัญญาฝ่ ายใดจะเป็ นผู้รับ
บาปเคราะห์ ในภัยพิบัติ
1. ความผิด

ถ้าภัยพิบตั ท
ิ เี่ กิดเป็ นความผิดของคูส่ ญ
ั ญาฝ่ ายใด
ฝ่ ายนัน ้ ต้องเป็ นบาปเคราะห์เอง

2. กรรมสิทธิ ์

ถ้าภัยพิบตั น ิ น
้ ั มิได้เกิดจากความผิดของคูส่ ญ
ั ญาฝ่ ายใดเลย
ผูร้ บั ภัยย่อมได้แก่เจ้าของกรรมสิทธิใ์ นทรัพย์นน ้ ั ตามหลัก
“Res Perit Domino” (ม.370-ม.372)
ตัวอย่าง ผูก
้ อ
่ ภัยรับบาปเคราะห์เอง
นาย ก. ทำสัญญาขายม้าสีหมอกให้กบั นาย ข. ในวันที่ 1
ม.ค.2557 โดยทัง้ คูต
่ กลงส่งมอบม้าในวันที่ 10 ม.ค. 2557
ปรากฏว่า ในวันที่ 8 ม.ค. 2557 นาย ก. ได้ขม ี่ า้ ด้วยความเร็ว วิง่
ตัดหน้ารถยนต์อย่างกะชัน้ ชิด รถยนต์เบรคไม่ทน ั จึงชนม้าสี
หมอกตาย
Q:หากนาย ก. เรียกให้นาย ข. ชำระค่าม้าสีหมอกทีต
่ ายไป นาย ข.
ต้องชำระหรือไม่

A: นาย ข. ไม่ตอ้ งชำระค่าม้าสีหมอกให้แก่ นาย ก. เพราะการทีม ่ า้


ตายเกิดจากความผิดของ นาย ก.เอง
ตอบแบบนักกฎหมาย เมือ ่ นาย ก. ไม่ปฏิบตั ก
ิ ารชำระหนี้ คือ
ส่งมอบม้าให้ นาย ข. นาย ข. ย่อมมีสทิ ธิปฏิเสธทีจ่ ะไม่ชำระ
หนี้(ชำระราคา)ในส่วนของตนได้ ตาม ม.369
Q:นาย ข. จะเรียกค่าเสียหายจากนาย ก. ทัง้ ทีย่ งั ไม่ได้บอก
เลิกสัญญาได้หรือไม่

A:ได้ เพราะการชำระหนี้กลายเป็ นพ้นวิสยั อันจะโทษลูกหนี้ได้


ลูกหนี้ตอ
้ งรับผิด ตาม ม.218

Q:นาย ข. จะบอกเลิกสัญญาและเรียกค่าสินไหมทดแทนจาก
นาย ก.ได้หรือไม่

A:นาย ข. บอกเลิกสัญญากับนาย ก. ได้ตาม ม.389 และเมือ ่


บอกเลิกสัญญาแล้วย่อมไม่กระทบสิทธิของนาย ข.ทีจ่ ะเรียก
เอาค่าเสียหายจาก นาย ก. ตาม ม.391 ว.4
หลักการรับบาปเคราะห์ในภัยพิบตั ิ ตาม
ม.370-ม.372

เมือ่ การชำระหนี้ของคูส่ ญ ั ญาฝ่ ายหนึ่งกลายเป็ นพ้นวิสยั


อันจะโทษฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งไม่ได้แล้ว ลูกหนี้ซงึ่ การชำระหนี้
ของคนเป็ นพ้นวิสยั นัน ้ ย่อมหลุดพ้นความรับผิด (ตาม
ม.218) ส่วนใครจะเป็ นผูร้ บั ภัยหรือรับบาปเคราะห์ในภัย
พิบตั น
ิ น ้ ั พิจารณาตาม ม.370-ม.372 ซึง่ ยึดหลัก ใครเป็ น
เจ้าของกรรมสิทธิ ์ คนนัน ้ เป็ นผูร้ บั บาปเคราะห์
ข้อควรจำ
ม.370 ,ม. 371, ม. 372 และ ม.217- ม.
219, จะใช้เมือ ้ ภายหลังจากที่
่ ภัยพิบตั เิ กิดขึน
สัญญาเกิดแล้ว

หากภัยพิบตั เิ กิดก่อนทำสัญญาจะเป็ นเรือ


่ ง
วัตถุประสงค์เป็ นการพ้นวิสยั ตาม ม.150
หล กั การใช้มาตรา 370, 371 และ 372

ม.372 เป็ นบททั่วไป


ส่วน ม.370 ม.371 เป็ นบทเฉพาะ

ดังนัน
้ เวลาพิจารณา จึงต้องพิจารณา
ม.370 ม.371 ก่อน
ถ้าปรับเข้ากับทัง้ สองมาตรานี้ไม่ได้ จึงจะ
ใช้ ม.372
มาตรา 370
มาตรา 370
ถ้าสัญญาต่างตอบแทนมีวตั ถุทป ี่ ระสงค์เป็ นการก่อ
ให้เกิดหรือโอนทรัพยสิทธิในทรัพย์เฉพาะสิง่ และ
ทรัพย์นน ้ ั สูญหรือเสียหายไปด้วยเหตุอย่างใดอย่างหนึ่ง
อันจะโทษลูกหนี้มไิ ด้ไซร้ ท่านว่าการสูญหรือเสียหาย
นัน
้ ตกเป็ นพับแก่เจ้าหนี้
ถ้าไม่ใช่ทรัพย์เฉพาะสิง่ ท่านให้ใช้บทบัญญัตท ิ ี่
กล่าวมาในวรรคก่อนนี้บงั คับแต่เวลาทีท ่ รัพย์นน
้ ั กลาย
เป็ นทรัพย์เฉพาะสิง่ ตามบทบัญญัตแ ิ ห่งมาตรา 195
วรรค 2 นัน ้ ไป
หลักเกณฑ์ของ มาตรา 370 ว.แรก
1. ต้องเป็ นสัญญาต่างตอบแทน

2. ต้องมีวตั ถุประสงค์กอ
่ ให้เกิดหรือโอนทรัพยสิทธิ

3.ทรัพย์ทโี่ อนต้องเป็ นทรัพย์เฉพาะสิง่

4. ทรัพย์นน
้ ั สูญหายหรือเสียหายไป

5.โดยมิใช่ความผิดของลูกหนี้
ใครคือ ลูกหนี้ เจ้าหนี้
ตาม ม.370- ม.371

ผูท้ ม
ี่ ห
ี น้าทีส่ ง่ มอบ ผูท
้ ม
ี่ ห
ี น้าทีร่ บั มอบ
ทรัพย์ทส ี่ ญ
ู หายหรือถูก ทรัพย์ทส ี่ ญ
ู หายหรือ
ทำลาย ถูกทำลาย

คือ ลูกหนี้ คือ เจ้าหนี้


หลักเกณฑ์ของ ม.370 วรรคแรก

1. ต้องเป็ นสัญญาต่างตอบแทน

คือ เป็ นสัญญาทีค


่ ส ั ญาต่างเป็ นทัง้ เจ้าหนี้และลูกหนี้ซึง่
ู่ ญ
กันและกัน กล่าวคือ คูส่ ญั ญาต่างฝ่ ายต่างมีหนี้ทจี่ ะต้อง
ชำระให้แก่กน ั เป็ นการตอบแทน

ดังนัน
้ จึงไม่ใช้กบั สัญญากูย้ มื เงิน, สัญญาให้โดย
เสน่ หา
หลักเกณฑ์ของ ม.370 วรรคแรก (ต่อ)

2. ต้องมีวตั ถุประสงค์กอ่ ให้เกิดหรือโอนทรัพย


สิทธิ

เช่น สัญญาซื้อขาย สัญญาแลกเปลีย่ น

ดังนี้ สัญญาเช่าทรัพย์ ไม่อยูภ่ ายใต้บงั คับของ ม.นี้


เพราะ “สิทธิการเช่า” มิใช่ “ทรัพยสิทธิ”
หลักเกณฑ์ของ ม.370 วรรคแรก (ต่อ)

3.ทรัพย์ทโี่ อนต้องเป็ นทรัพย์เฉพาะสิง่

มาตรา 370 ว.2 กำหนด ไว้ชดั เจนว่าบทบัญญัตท ิ ก


ี่ ล่าวมา
ในวรรคก่อนนี้บงั คับแต่เวลาทีท
่ รัพย์นน
้ ั กลายเป็ นทรัพย์เฉพาะ
สิง่

เพราะเมือ ่ เป็ นทรัพย์เฉพาะสิง่ กรรมสิทธิย์ อ


่ มโอน
ไปทันที ความเสีย่ งภัยย่อมโอนไปพร้อมกับ
กรรมสิทธิ ์
ทรัพย์เฉพาะสิง่
กล่าวคือ ต้องได้มกี ารชั่ง ตวง วัด หรือคัดเลือก จน
เป็ นทีแ
่ น่ นอนแล้วว่า เป็ นทรัพย์ชน
ิ้ ไหน อันไหน หรือ
จำนวนไหน

โปรดอย่าลืม

ในสัญญาซื้อขาย แม้จะเป็ นทรัพย์เฉพาะสิง่ แล้ว


แต่ถา้ ผูข
้ ายยังต้อง นับ ชั่ง ตวง วัด หรือกระทำการอืน ่
เพือ ่ น่ นอน กรรมสิทธิจ์ ะยังไม่
่ ให้รรู ้ าคาทรัพย์เป็ นทีแ
โอนไปยังผูซ ้ ื้อจนกว่าจะได้ท ำการนัน้ แล้ว
ตาม ม.460 ว.2
ตัวอย่าง
EX. ก. ตกลงซื้อน้ำตาล 20 กก. จาก ข. ดังนี้ ตราบใดที่ ข. ยังมิได้
ชั่งน้ำตาล 20 กก. แยกจากน้ำตาลในกระสอบ ทรัพย์นน ้ ั ก็จะยัง
ไม่ใช่ทรัพย์เฉพาะสิง่
EX. ก.ตกลงซื้อรถยนต์ 1 คันจาก ข. โดย ข. มีรถยนต์ทง้ ั หมด
100 คัน ดังนี้ ตราบใดทีย่ งั ไม่ระบุวา่ รถยนต์คน ั นัน
้ คือคันไหน
ทรัพย์นน ้ ั ก็จะยังไม่กลายเป็ นทรัพย์เฉพาะสิง่
EX. ก. ตกลงซื้อปุ๋ ยทัง้ หมดในโกดังของ ข. ในราคาตันละ 1,000
บาท แต่ยงั ไม่รวู ้ า่ ปุ๋ ยในโกดังมีกต ั ดังนี้ กรรมสิทธิใ์ นปุ๋ ยจะยังไม่
ี่ น
โอนไปยัง ก. จนกว่าจะได้มก ี ารชั่งน้ำหนักปุ๋ ยทั่งหมดเพือ ่ ให้รรู ้ าคา
ก่อน
EX. นายกุหลาบซื้อทุเรียนจากนายบัวทัง้ สวน ตกลงกันว่าลูก
ละ 50 บาท กรรมสิทธิจ์ ะยังไม่โอนไปยังนายกุหลาบ จนกว่าจะได้มี
การนับดูวา่ ทัง้ สวนมีทเุ รียนกีล่ ูกและรวมเป็ นเงินเท่าไร  
หลักเกณฑ์ของ ม.370 วรรคแรก (ต่อ)

4. ทรัพย์นน
้ ั สูญหายหรือเสียหายไป

“สูญหาย” หมายถึง ไม่มต ี วั ทรัพย์นน ้ ั อยูแ


่ ล้ว เช่น
ถูกขโมยไป หรือเกลือถูกน้ำท่วมละลายไปกับสายน้ำ
“เสียหาย” หมายถึง ยังมีตวั ทรัพย์นน้ ั อยู่ แต่ทรัพย์
นัน
้ เสือ
่ มสภาพไป เช่น รถยนต์ทต ี่ กลงซื้อขายกันนัน ้
ถูกรถคันอืน่ ชน,หรือถูกวางระเบิด เป็ นต้น

***ข้อสงเกต***
การสูญหรือเสียหายไปนัน
้ ไม่รวมกรณี ที่
กฎหมายเวนคืน ห้ามโอน หรือถูกเจ้าหน้าทีใ่ ช้อ ำนาจ
ยึดตามกฎหมาย

หากเป็ นกรณี ดงั กล่าวข้างต้น จะเข้า 372 แม้จะ


เป็ นสัญญาต่างตอบแทนทีม ่ วี ตั ถุประสงค์กอ
่ ให้เกิด
หรือโอนทรัพยสิทธิในทรัพย์ เฉพาะสิง่ ก็ตาม

ตัวอย่าง ฎ. 2526/2543,ฎ. 9241/2539


หลักเกณฑ์ของ ม.370 วรรคแรก (ต่อ)
5.การทีท ่ รัพย์สญ
ู หายหรือเสียหายนัน
้ โทษลูก
หนี้ไม่ได้
กรณี ทม
ี่ ใิ ช่ความผิดของลูกหนี้ เช่น สูญหายหรือเสีย
หายไปเพราะเหตุสด ุ วิสยั หรือเพราะความผิดของบุคคล
ภายนอก
หากโทษลูกหนี้ได้ เช่น ลูกหนี้จงใจหรือประมาทเลินเล่อทำให้
ทรัพย์นน ้ ั สูญหายหรือเสียหาย ลูกหนี้ยอ ่ มต้องรับบาปเคราะห์แห่ง
ภัยพิบตั น ิ น
้ ั เอง กล่าวคือ จะเรียกให้เจ้าหนี้ชำระหนี้ไม่ได้ และยัง
ต้องรับผิดชดใช้คา่ สินไหมทดแทนให้แก่เจ้าหนี้ ตาม ม.218
ด้วย
ผลของมาตรา 370 ว.แรก

ภัยพิบตั น
ิ น
้ ั ตกพับแก่เจ้าหนี้

หมายความว่า
-เจ้าหนี้ยงั ต้องชำระหนี้ในส่วนของตนให้แก่ลูก
หนี้
-โดยเจ้าหนี้จะเรียกให้ลูกหนี้ชำระหนี้ (ส่งมอบ
ทรัพย์) ไม่ได้อก ี เพราะลูกหนี้หลุดพ้นจากการ
ชำระหนี้ตาม ม.219
ตัวอย่าง
Q:นาย ก. ทำสัญญาซื้อม้าสีหมอกจากนาย ข. ในราคา 100,000
แสน โดยตกลงว่า จะชำระราคาและส่งมอบทรัพย์ในวันที่ 10 ม.ค.
ปรากฏว่า ในวันที่ 8 ม.ค. ม้าของนาย ข.ตาย เพราะถูกฟ้ าผ่า ใคร
ต้องเป็ นผูร้ บั บาปเคราะห์ในภัยพิบตั น
ิ น
้ั
A: สัญญาดังกล่าวเป็ นสัญญาต่างตอบแทนทีม ่ วี ตั ถุประสงค์ในการ
โอนกรรมสิทธิใ์ นทรัพย์เฉพาะสิง่ ดังนัน ้ เมือ
่ ทรัพย์อน ั เป็ นวัตถุของ
สัญญาถูกทำลายไปเพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งอันจะโทษลูกหนี้ไม่
ได้ กรณี นี้ ภัยพิบตั จิ งึ ตกเป็ นพับแก่เจ้าหนี้ กล่าวคือ นาย ข. มีสท ิ ธิ
เรียกให้นาย ก. ชำระราคาม้าจำนวน 100,000 แสนบาทได้ ตาม
ม.370 ว.แรก และเมือ ่ การชำระหนี้ (ส่งมอบม้า) กลายเป็ นพ้นวิสยั
เพราะพฤติการณ์ อน ั จะโทษลูกหนี้ (นาย ข.)ไม่ได้ ดังนี้ นาย ข.จึง
หลุดพ้นจากการชำระหนี้ ตาม ม.219
คำพิพากษาฎีกา
ฎ.339/2506 จำเลยทำสัญญาขายไม้สกั ให้โจทก์และรับเงินค่าไม้
ไปแล้ว ต่อมาเจ้าหน้าทีข ่ องโจทก์ได้ตรวจไม้ทจี่ ำเลยเตรียมไว้ตาม
สัญญา และตีตราของโจทก์ลงไว้ ย่อมถือได้วา่ ไม้ทต ี่ ต
ี ราแล้วนัน

เป็ นทรัพย์เฉพาะสิง่ ตาม ปพพ. มาตรา 370 และบ่งตัวทรัพย์
แน่ นอน กรรมสิทธิใ์ นไม้ตกเป็ นของโจทก์แล้ว เมือ ่ มีคนลอบวาง
เพลิงโรงเลือ่ ยจำเลยซึง่ มิใช่ความผิดของจำเลย โจทก์จะเรียกร้อง
ราคาไม้คน ื จากจำเลยไม่ได้
มาตรา 371
มาตรา 371
บทบัญญัตท ิ ก ี่ ล่าวมาในมาตราก่อนนี้ ท่านมิให้ใช้บงั คับ ถ้า
เป็ นสัญญาต่างตอบแทนมีเงือ ่ นไขบังคับก่อนและทรัพย์อน ั เป็ น
วัตถุแห่งสัญญานัน ้ สูญหรือทำลายลงในระหว่างทีเ่ งือ ่ นไขยังไม่
สำเร็จ (ตกเป็ นพับแก่ลูกหนี้)
ถ้าทรัพย์นน ้ ั เสียหายเพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งอันจะโทษ
เจ้าหนี้มไิ ด้ และเมือ ่ เงือ
่ นไขนัน ้ สำเร็จแล้ว เจ้าหนี้จะเรียกให้
ชำระหนี้โดยลดส่วนอันตนจะต้องชำระหนี้ตอบแทนนัน ้ ลงหรือ
เลิกสัญญานัน ้ เสียก็ได้ แล้วแต่จะเลือก แต่ในกรณี ทต ี่ น
้ เหตุเสีย
หายเกิดเพราะฝ่ ายลูกหนี้นน ้ ั ท่านว่าหากระทบกระทั่งถึงสิทธิ
ของเจ้าหนี้ทจี่ ะเรียกค่าสินไหมทดแทนไม่
หลักเกณฑ์ ตาม มาตรา371 วรรคแรก

1. ต้องเป็ นสัญญาต่างตอบแทน

2. ต้องมีวตั ถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิใ์ นทรัพย์


เฉพาะสิง่
หลักเกณฑ์ ตาม มาตรา371 วรรคแรก

3. สัญญาอยูภ
่ ายใต้เงือ
่ นไขบังคับก่อน

มีนกั กฎหมายเห็นว่า น่ าจะขยายถึงสัญญาทีม


่ เี งือ
่ นเวลา
บังคับก่อนด้วย และยังรวมถึงสัญญาจะซื้อจะขายด้วย

***ข้อควรจำ ผลทีถ ่ ูกชะลอในทีน


่ ี้หมายถึงเฉพาะ
ผลทางทรัพย์ คือ ชะลอยังไม่ให้กรรมสิทธิใ์ นทรัพย์
โอนไปยังผูซ ้ ื้อ หากเป็ นการชะลอผลทางหนี้ ย่อมไม่
เข้า ม.นี้ แต่เข้า ม.370
ตัวอย่าง สัญญาทีม่ เี งือ
่ นไขหรือเงือ
่ นเวลาผลอัน
เป็ นการหน่ วงหรือชะลอการโอนกรรมสิทธิ ์
สัญญาทีม่ เี งือ
่ นไขบังคับก่อน
Ex1 ก. ทำสัญญาขายรถยนต์ให้ ข. โดยตกลงว่าให้สญ ั ญานี้ มี
ผลหรือให้กรรมสิทธิใ์ นรถยนต์โอนไปยัง ข. เมือ
่ ก. ได้รถยนต์คน ั
ใหม่แล้ว หรือ
Ex2 เอกตกลงขายแหวนเพชรให้กบั โท โดยตกลงว่า จะให้
กรรมสิทธิใ์ นแหวนโอนไปยังโท เมือ
่ โทชำระค่าแหวนครบถ้วนแล้ว
(ฎ.)
สัญญาทีม
่ เี งือ
่ นเวลาบังคับก่อน
ex ก. ทำสัญญาขายรถยนต์ให้กบั ข. ในวันที่ 1 ม.ค.2557
โดยตกลงกันว่าจะให้กรรมสิทธิใ์ นรถยนต์โอนไปยัง ข. ในวันที่ 1
ม.ค.2558 หรือ ในอีก 10 วันข้างหน้านับจากวันทำสัญญา
หลักเกณฑ์ ตาม มาตรา371 วรรคแรก

4. ทรัพย์อน
ั เป็ นวัตถุแห่งสัญญาสูญหาย หรือถูกทำลาย
ไปทัง้ หมด ไม่เหลืออะไรเลย
ถ้าเสียหายเพียงบาง ใช้ ม.371 ว. 2

5. การสูญหาย หรือถูกทำลายนัน
้ เกิดในระหว่างเงือ
่ นไข
ยังไม่สำเร็จ
โปรดอย่าลืม ถ้าทรัพย์สญ
ู หายหรือถูกทำลายหลังจากทีเ่ งือ
่ นไข
สำเร็จแล้ว ต้องใช้ ม.370 ว.แรก ไม่ใช่ ม. 371 วรรคแรก นี้

6.การสูญหายหรือเสียหายนัน
้ ไม่อาจโทษลูกหนี้ได้
ผลของมาตรา 371 ว.แรก

ภัยพิบตั น
ิ น
้ ั ตกแก่ลูกหนี้

หมายความว่า
-เจ้าหนี้ไม่ตอ
้ งชำระหนี้ในส่วนของตนให้กบั ลูกหนี้
-ส่วนลูกหนี้ก็เป็ นอันหลุดพ้นจากการชำระหนี้ ตาม
ม.219
ตัวอย่าง
EX. นาย ก. ทำสัญญาจะซื้อคอนโดของนาย ข. โดยกำหนดว่าจะ
ไปจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิใ์ นทรัพย์ เมือ ่ นาย ก. ได้ยา้ ยมาอยู่
กทม.แล้ว ปรากฏว่า ก่อนทีเ่ งือ ่ นไขจะสำเร็จ ไฟไหม้คอนโดของ
นาย ข. เสียหายทัง้ หมดโดยมิได้เกิดจากความผิดของนาย ข.
่ มตกเป็ นพับแก่นาย ข. ซึง่ เป็ นลูกหนี้ ตาม
กรณี นี้ ภัยพิบตั ยิ อ
ม.371 ว.แรก นาย ข.จึงไม่มส ี ทิ ธิเรียกให้นาย ก. ชำระราคาคอน
โดได้
คำถาม
Q: นาย ก. สัญญาซื้อรถยนต์เลขทะเบียน 1234 ของ นาย ข. โดยตกลง
ให้กรรมสิทธิโ์ อนไปยัง นาย ก. เมือ่ นาย ก. สอบเนติฯผ่านแล้ว ปรากฏ
ว่า ก่อนทีเ่ งือ
่ นไขจะสำเร็จ รถยนต์คน
ั ดังกล่าวถูกขโมยไปโดยมิได้เกิด
จากความผิดของนาย ก. ดังนี้ ใครจะเป็ นผูร้ บั บาปเคราะห์ในภัยพิบตั น
ิ ี้

A: สัญญาซื้อขายดังกล่าวเป็ นสัญญาต่างตอบแทนทีม ่ วี ตั ถุประสงค์


เป็ นการโอนกรรมสิทธิใ์ นทรัพย์เฉพาะสิง่ แต่อยูภ ่ ายใต้เงือ ่ นไขบังคับ
ก่อน โดยหน่ วงหรือชะลอยังไม่ให้กรรมสิทธิโ์ อนไปยังผูซ ้ ื้อ
จึงเข้า ม.371 วรรคแรก ไม่ใช่ ม.370 ดังนี้ เมือ่ ทรัพย์อน ั เป็ นวัตถุแห่ง
สัญญาสูญหายไปก่อนทีเ่ งือ ่ นไขจะสำเร็จ ภัยพิบตั น ิ น
้ ั จึงตกเป็ นพับแก่
นาย ข. จึงไม่สามารถเรียกให้นาย ก. ชำระราคารถยนต์ตอบแทนได้
แต่เมือ่ การชำระหนี้กลายเป็ นพ้นวิสยั เกิดจากพฤติการณ์ ซึง่ ไม่อาจ
โทษลูกหนี้ได้ นาย ข. จึงหลุดพ้นจากการชำระหนี้ ตาม ม.219 ไม่ตอ ้ ง
ชดใช้คา่ สินไหมทดแทนในความเสียหายใดๆต่อนาย ก.
คำถาม
Q:นายเอกทำสัญญาขายให้กบั นายโท ในวันที่ 1 ม.ค.2557 โดยตกลง
กันว่า จะให้กรรมสิทธิใ์ นรถยนต์คน ั นี้โอนไปยังนายโทในวันที่ 10 ม.ค.
2557 ปรากฏว่าในวันที่ 8 ม.ค.2557 นายเอกได้ขบั รถด้วยความ
ระมัดระวังเพือ ่ จะไปซื้อของทีห ่ า้ งสรรพสินค้า แต่ระหว่างทางถูกซึง่ นาย
ตรีขบั มาด้วยความเร็วชนเข้า จนรถของนายเอกเกิดระเบิดไฟลุกไม้เสีย
หายทัง้ คัน ดังนี้ ใครต้องเป็ นผูร้ บั บาปเคราะห์แห่งภัยพิบตั น ิ ี้
A:สัญญานี้เป็ นสัญญาต่างตอบแทนซึง่ มีวตั ถุประสงค์เป็ นการโอน
กรรมสิทธิใ์ นทรัพย์เฉพาะสิง่ และอยูภ ่ ายใต้เงือ
่ นเวลาบังคับก่อน คือ
หน่ วงยังไม่ให้กรรมสิทธิโ์ อนไปยังผูซ ้ ื้อจนกว่าจะถึงเวลาทีก ่ ำหนดไว้ จึง
เข้า ม.371 ไม่ใช่ ม.370 ดังนี้ เมือ่ วัตถุแห่งสัญญาเสียหายไปทัง้ คันก่อน
ทีเ่ งือ
่ นเวลาจะสำเร็จ ลูกหนี้จงึ เป็ นผูร้ บั บาปเคราะห์ หมายความว่า ลูก
หนี้(นายเอกผูข ้ าย)ไม่อาจเรียกให้ให้เจ้าหนี้ (นายโทผูซ ้ ื้อ)ชำระราคา
รถยนต์ให้กบั ตนได้
และนายเอกย่อมเป็ นอันหลุดพ้นจากการชำระหนี้ ตาม ม.219 จึงไม่ตอ ้ ง
ชดใช้คา่ สินไหมทดแทนเพราะเหตุทไี่ ม่อาจส่งมอบทรัพย์ให้นายโทได้
คำถาม
นาย ก. ตกลงซื้อหนังสือนิตก
ิ รรมสัญญาจากนาย ข. ในราคา 200
บาท โดยกำหนดให้กรรมสิทธิใ์ นหนังสือโอนไปยัง นาย ก. เมือ ่
นาย ข. สอบผ่านวิชานิตกิ รรม-สัญญาแล้ว หลังจากทีม
่ กี าร
ประกาศผลว่านาย ข. สอบผ่าน ปรากฏว่า หนังสือนิตก ิ รรมสัญญา
นัน
้ ถูกขโมยไป

Q: ความสูญหายของหนังสือหรือภัยพิบตั น
ิ น
้ ั ตกแก่คส
ู่ ญ
ั ญาฝ่ ายใด

้ ภายหลังเงือ
A:นาย ก. เพราะภัยพิบตั ไิ ด้เกิดขึน ่ นไขสำเร็จแล้ว จึง
ต้องใช้ ม.370 ว.แรกบังคับ ไม่ใช่ ม.371 ว.แรก
หลักเกณฑ์ ตามมาตรา 371 วรรคสอง
1. ต้องเป็ นสัญญาต่างตอบแทน
2. ต้องมีวตั ถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิใ์ นทรัพย์เฉพาะ
สิง่
3. สัญญาอยูภ
่ ายใต้เงือ
่ นไขบังคับก่อนหรือเงือ
่ นเวลาบังคับ
ก่อน (ชะลอผลทางทรัพย์ คือหน่ วงการโอนกรรมสิทธิ)์

4. ทรัพย์อน
ั เป็ นวัตถุแห่งสัญญาเสียหายเพียงบางส่วน

5. การสูญหาย หรือถูกทำลายเกิดในระหว่างเงือ
่ นไข ยังไม่สำเร็จ

้ โทษเจ้าหนี้ไม่ได้
6. ความเสียหายทีเ่ กิดขึน
ผลของมาตรา 371 วรรคสอง
ภัยพิบตั ต
ิ กเป็ นพับแก่ลูกหนี้

โดยให้เจ้าหนี้ มีสท
ิ ธิเลือกอย่างใดอย่าง
หนึ่ง ดงั นี้

1. เรียกร้องให้ลูกหนี้
ชำระหนี้ในส่วนทีเ่ หลือ 2. บอกเลิกสัญญา
โดยลดส่วนทีต ่ นจะชำระ (ม.389)
หนี้ตอบแทนลง
ตัวอย่าง
นาย ก. ตกลงซื้อข้าวสารจาก นาย ข. 1 กระสอบ ราคา 200
บาท โดยกำหนดให้กรรมสิทธิใ์ นข้าวสารโอนไปยัง นาย ก.
เมือ่ ข้าวในยุง้ ฉางของนาย ก. หมดแล้ว ปรากฏว่า ก่อนที่
เงือ
่ นไขจะสำเร็จ เกิดน้ำท่วม ทำให้ขา้ วสารจมน้ำเสียหายไป
ครึง่ หนึ่ง เช่นนี้ หากเงือ
่ นไขสำเร็จ นาย ก. อาจเลือกให้ นาย ข.
ส่งมอบข้าวสารส่วนทีเ่ หลือครึง่ กระสอบ โดยลดราคาทีต ่ นจะ
ต้องชำระลง 100 บาท หรือนาย ก. จะเลือกบอกเลิกสัญญา
ตาม ม. 389 ก็ได้
มาตรา 372
มาตรา 372
นอกจากกรณี ทก ี่ ล่าวไว้ในสองมาตราก่อน ถ้าการชำระหนี้ตก
เป็ นพ้นวิสยั เพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งอันจะโทษฝ่ ายหนึ่งฝ่ ายใดก็
ไม่ได้ไซร้ ท่านว่าลูกหนี้หามีสท ิ ธิจะรับชำระหนี้ตอบแทนไม่ (ตก
เป็ นพับแก่ลูกหนี้)
ถ้าการชำระหนี้ตกเป็ นพ้นวิสยั เพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งอันจะ
โทษเจ้าหนี้ได้ ลูกหนี้ก็หาเสียสิทธิทจี่ ะรับชำระหนี้ตอบแทนไม่ แต่วา่
ลูกหนี้ได้อะไรไว้เพราะการปลดหนี้ก็ดี หรือใช้คณ ุ วุฒคิ วามสามารถ
ของตนเป็ นประการอืน ่ เป็ นเหตุให้ได้อะไรมา หรือแกล้งละเลยเสีย
ไม่ขวนขวายเอาอะไรทีส่ ามารถจะทำได้ก็ดี มากน้อยเท่าไร จะต้อง
เอามาหักกับจำนวนอันตนจะได้รบั ชำระหนี้ตอบแทน วิธีเดียวกันนี้
ท่านให้ใช้ตลอดถึงกรณี ทก ี่ ารชำระหนี้อน ั ฝ่ ายหนึ่งยังค้างชำระอยูน ่ น
้ั
ตกเป็ นพ้นวิสยั เพราะพฤติการณ์ อน ั ใดอันหนึ่งซึง่ ฝ่ ายนัน
้ มิตอ
้ งรับผิด
ชอบ ในเวลาเมือ ่ อีกฝ่ ายหนึ่งผิดนัดไม่รบั ชำระหนี้”
หลักเกณฑ์ตาม มาตรา 372 ว.แรก
1. ต้องเป็ นสัญญาต่างตอบแทน

2. ต้องมิใช่กรณี ตาม ม.370, ม.371

2.1 เป็ นสัญญาต่างตอบแทนทีม่ ไิ ด้มวี ตั ถุประสงค์ ในการ


โอนกรรมสิทธิใ์ นทรัพย์เฉพาะสิง่

เช่น สัญญาเช่าทรัพย์ สัญญาจ้างแรงงาน จ้างทำของ


หลักเกณฑ์ตาม มาตรา 372 ว.แรก (ต่อ)
2.2 แม้จะเป็ นสัญญาต่างตอบแทนทีม ่ วี ตั ถุประสงค์ในการโอน
กรรมสิทธิใ์ นทรัพย์เฉพาะสิง่ แต่ไม่อาจปรับเข้า ม.370 และ
ม.371 ได้
เช่น สัญญาซื้อขาย,สัญญาแลกเปลีย่ น ทีย่ งั ไม่มก
ี ารนับ ชั่ง วัด ตวง
หรือ คัดเลือกว่าเป็ นทรัพย์ชน
ิ้ ไหน อันไหน (ยังไม่ใช่ทรัพย์เฉพาะ
สิง่ )
เช่น สัญญาซื้อขาย,สัญญาแลกเปลีย่ น ซึง่ ทรัพย์วตั ถุแห่งสัญญาถูก
กฎหมายเวนคืน หรือห้ามโอน หรือถูกเจ้าหน้าทีใ่ ช้อำนาจยึดตาม
กฎหมาย ซึง่ ถือว่าการชำระหนี้ตกเป็ นพ้นวิสยั มิใช่กรณี ทท ี่ รัพย์
สูญหายหรือถูกทำลาย อันจะเข้าม.370 และ 371เช่น
ฎ.2526/2543 ,ฎ.9241/2539
หลักเกณฑ์ตาม มาตรา 372 ว.แรก (ต่อ)

4. การพ้นวิสยั เกิดภายหลังทำสัญญาแล้ว

5. การพ้นวิสยั นัน
้ โทษใครไม่ได้ ไม่วา่ เจ้าหนี้หรือลูกหนี้
ผลของมาตรา 372 วรรคแรก

ภัยพิบตั ต
ิ กเป็ นพับแก่ลูกหนี้

หมายความว่า
-เจ้าหนี้ไม่ตอ้ งชำระหนี้ในส่วนของตนให้แก่ลูก
หนี้
-ลูกหนี้หลุดพ้นจากการชำระหนี้ ตาม ม.219 จึง
ไม่ตอ้ งชดใช้คา่ สินไหมทดแทนเพือ ่ ความเสียหาย
อย่างใดๆแก่เจ้าหนี้
คำถาม
Q:นาย ก. ทำสัญญาเช่าบ้านของนาย ข. มีกำหนดเวลา 1 ปี คิดค่าเช่าเดือน
ละ 1000 บาท โดยนาย ก. ชำระค่าเช่าล่วงหน้าทัง้ หมดจำนวน 12000 บาท
แล้ว หลังจากทีน
่ าย ก. อาศัยในบ้านเช่าได้ 4 เดือน ปรากฏว่าบ้านหลังดังกล่าว
ได้ถูกไฟไหม้ เพราะเกิดไฟฟ้ าลัดวงจร โดยไม่ได้เกิดจากความประมาท
เลินเล่อของ นาย ก.

A:สัญญาดังกล่าวเป็ นสัญญาต่างตอบแทนทีม ่ ีได้มีวตั ถุประสงค์เป็ นการโอน


กรรมสิทธิใ์ นทรัพย์เฉพาะสิง่ เมือ ่ การชำระหนี้กลายเป็ นพ้นวิสยั อันจะโทษฝ่ าย
ใดฝ่ ายหนึ่งไม่ได้ ลูกหนี้จงึ ไม่มีสทิ ธิได้รบั ชำระหนี้ตอบแทน (ภัยพิบตั น ิ น
้ ั ตก
แก่ลูกหนี้ ) ตาม ม.372 ว.แรก ดังนี้ นาย ก. จึงสามารถเรียกค่าเช่าในส่วนที่
ไม่ได้ใช้ประโยชน์จากสัญญาเช่าคืนจาก นาย ข.ได้ (คือ เรียกค่าเช่าคืนได้ 8
เดือน )
เมือ่ การชำระหนี้ของนาย ข. กลายเป็ นพ้นวิสยั โดยพฤติการณ์ อน ั จะโทษลูก
หนี้ (นาย ข.)ไม่ได้ เช่นนี้ นาย ข. ย่อมหลุดพ้นจากการชำระหนี้ ตาม ม.219
ไม่ตอ ้ งรับผิดชดใช้คา่ สินไหมทดแทนเพือ ่ ความเสียหายอย่างใดๆแก่ นาย ก.
คำพิพากษาฎีกา
ฎ 1346/2517 (ประชุมใหญ่) ทรัพย์สน ิ ทีเ่ ช่าได้สญ
ู หายไป
หมดสิน ้ เพราะถูกไฟไหม้โดยมิใช่ความผิดของผูเ้ ช่า และโจทก์ยงั
ใช้ทรัพย์สน ิ ทีเ่ ช่าไม่ครบถ้วนตามอายุการเช่า เมือ ่ สัญญาเช่ามิได้
กำหนดข้อยกเว้นไว้วา่ ผูเ้ ช่าไม่มส ี ท
ิ ธิเรียกค่าเช่าบางส่วนคืนจาก
ผูใ้ ห้เช่าในกรณี ทท ี่ รัพย์สน ิ ทีใ่ ห้เช่าได้สญ ู หายไปเพราะเหตุใดๆ
แล้ว โจทก์ยอ ่ มมีสท ิ ธิเรียกค่าเช่าทีไ่ ด้ชำระให้แก่จำเลยผูใ้ ห้เช่า
ไปแล้วนัน ้ คืนตามส่วนถัวของระยะเวลาทีโ่ จทก์ไม่ได้รบั
ประโยชน์จากทรัพย์สน ิ ทีเ่ ช่าได้
คำพิพากษาฎีกา
ฎ 2526/2543 การซื้อขายทีด ่ น
ิ ระหว่างผูร้ อ้ งกับผูต
้ าย มีขอ้
ตกลงว่า ผูต ้ ายจะต้องไปจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิใ์ ห้แก่ผรู้ อ้ ง
หลังจากออกโฉนดทีด ่ นิ แล้ว จึงเป็ นเพียงสัญญาจะซื้อจะขาย เมือ ่
การชำระหนี้ตามสัญญาจะซื้อขายทีด ่ น
ิ ดังกล่าวตกเป็ นพ้นวิสยั
เพราะทีด ่ น
ิ ของผูข ้ ายทีอ่ อกโฉนดในภายหลังต้องห้ามไม่ให้โอน
ภายใน 10 ปี ตาม ป.ทีด ่ น
ิ ทำให้ผต ู้ ายหลุดพ้นจากการชำระหนี้
ตาม ปพพ. มาตรา 219 วรรคหนึ่ง ไม่ตอ ้ งไปจดทะเบียนโอนให้
ผูร้ อ้ ง แต่ผต ู้ ายหามีสทิ ธิได้รบั ชำระราคาทีด ่ น
ิ ตอบแทนตาม
ปพพ.มาตรา 372 วรรคหนึ่งไม่ ผูต ้ ายต้องคืนราคาทีด ่ น
ิ ให้แก่ผู้
ร้อง
คำพิพากษาฎีกา
ฎ. 723/2492 ทำสัญญาซื้อขายน้ำตาลซึง่ ใส่กระสอบไว้เป็ น
จำนวนแน่ นอน น้ำตาลทีซ ่ ื้อขายกัน ไม่มน ี ้ำตาลอืน
่ ปะปน และ
ไม่ตอ
้ งชั่งตวงวัดกันอีก ผูซ ้ ื้อได้ชำระราคาน้ำตาลนัน ้ เสร็จแล้ว
แม้ผซู้ ื้อฝากผูข ้ ายเก็บไว้ ณ ทีเ่ ดิม ก็ถือว่ากรรมสิทธิต ์ กเป็ น
ของผูซ ้ ื้อแล้ว เมือ
่ ถูกทางราชการบังคับซื้อไป ผูข ้ ายไม่ตอ ้ งรับ
ผิด ตาม ม.219 แต่ผข ู้ ายหามีสท ิ ธิได้รบั ค่าน้ำตาลตอบแทนไม่
เพราะกรณี ดงั กล่าว เข้า ม.372 มิใช่ ม.370
คำพิพากษาฎีกา
ฎ 9241/2539 วัตถุประสงค์แห่งหนี้ตามสัญญาจะซื้อจะขายที่
พิพาท คือการรับโอนกรรมสิทธิใ์ นทีด ่ น ิ ตามจำนวนเนื้อทีท ่ จี่ ะซื้อ
สำหรับโจทก์ (ผูซ
้ ื้อ) และการรับชำระค่าทีด ่ น ิ ตามจำนวนทีต ่ กลง
กันสำหรับจำเลย (ผูข ้ าย) เมือ
่ ข้อเท็จจริงปรากฏตัง้ แต่วน ั โอน
ตามสัญญาว่ามีการเวนคืนทีด ่ น ิ และทีด ่ นิ ทีจ่ ะซื้อจะขายอยูใ่ น
เขตเวนคืนอันจะมีผลทำให้ทด ี่ นิ ทีจ่ ะซื้อจะขายถูกเวนคืนทัง้ หมด
หรือบางส่วนได้ กรณี ถือได้วา่ การชำระหนี้ตามสัญญาจะซื้อจะ
ขายทีพ ิ าทตกเป็ นพ้นวิสยั เพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งอันจะ
่ พ
โทษฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งไม่ได้ ตาม ปพพ.มาตรา 372 ต่างฝ่ ายต่าง
ไม่ตอ
้ งชำระหนี้ตอ ่ กันอีก กรณี ไม่อาจเรียกค่าเสียหายจากจำเลย
ได้และจำเลยต้องคืนเงินมัดจำให้แก่โจทก์ (ทำนองเดียวกับ ฎ.
545/2532)
คำพิพากษาฎีกา
ฎ 282/2525 สัญญาเช่าซื้อตาม ปพพ.มาตรา 572 เป็ นสัญญา
เช่าอย่างหนึ่ง โดยผูใ้ ห้เช่าย่อมมีหน้าทีส่ ง่ มอบทรัพย์สน ิ ทีเ่ ช่า
ให้ผเู้ ช่าได้ใช้ประโยชน์ตามสัญญา เมือ ่ จำเลยไม่สามารถส่ง
มอบทีด ่ นิ ให้โจทก์ได้ใช้หรือได้รบั ประโยชน์ตามสัญญาเพราะ
ทีด
่ น
ิ ถูกเวนคืน การชำระหนี้ยอ ่ มตกเป็ นพ้นวิสยั เพราะเหตุ
อย่างใดอย่างหนึ่งอันจะโทษฝ่ ายหนึ่งฝ่ ายใดมิได้ จำเลยซึง่ เป็ น
ลูกหนี้ยอ ่ มไม่มสี ท
ิ ธิได้รบั ชำระหนี้ตอบแทนตาม ปพพ.มาตรา
372 วรรคแรก โจทก์จงึ มีสท ิ ธิเรียกค่าเช่าซื้อทีช
่ ำระไปแล้วคืน
จากจำเลย(ผูใ้ ห้เช่าซื้อ)ได้
คำพิพากษาฎีกา
ฎ. 357/2486 ตกลงเช่าซื้อรถยนต์กน ั ราคา 4,000 บาท ผูเ้ ช่า
ซื้อชำระราคาในวันทำสัญญา 1,500 บาท และชำระค่าเช่า
เดือนละ 250 บาท ส่งมอบรถกันแล้ว แต่ทางราชการยึด
รถยนต์ไปใช้ในราชการสงคราม ผูเ้ ช่าซื้อจึงบอกเลิกสัญญา
และเรียกเงิน 1,500 บาทคืน ศาลตัดสินให้คน ื เงิน 1,500 แก่
ผูเ้ ช่าซื้อ โดยให้เหตุผลว่า สัญญาเช่าซื้อเป็ นสัญญาต่าง
ตอบแทน เมือ ่ รถยนต์ถูกยึดไปใช้ราชการ ก็เป็ นกรณี ทกี่ าร
ชำระหนี้ของผูเ้ ช่าซื้อกลายเป็ นพ้นวิสยั ตามมาตรา 372 ผูเ้ ช่า
ซื้อจึงไม่มส ี ท
ิ ธิรบั ชำระหนี้ตอบแทน
หลักเกณฑ์ตามมาตรา 372 วรรคสอง
1. เป็ นสัญญาต่างตอบแทน

2. ต้องมิใช่กรณี ตาม ม.370, ม.371

3. การชำระหนี้ของลูกหนี้พน
้ วิสยั

4. เหตุทพ
ี่ น
้ วิสยั นัน
้ โทษเจ้าหนี้ หรือถือว่าโทษเจ้าหนี้ได้

กล่าวคือไม่ได้เกิดจากความผิดของเจ้าหนี้
โดยตรง เช่น เกิดขึน้ ในระหว่างเจ้าหนี้
ผิดนัด (วรรคสองตอนท้าย )
ผลของมาตรา 372 วรรคสอง
ภัยพิบตั ต
ิ กเป็ นพับแก่เจ้าหนี้
เจ้าหนี้ตอ
้ งชำระหนี้ในส่วนของตนให้แก่ลูกหนี้
แต่ลูกหนี้อาจได้รบั ชำระหนี้ไม่เต็มจำนวน หากปรากฏ
ข้อเท็จจริง ดังนี้
ลูกหนี้ใช้คณ
ุ วุฒิ ลูกหนี้แกล้งละเลย
ลูกหนี้ได้อะไรไว้ หรือความสามารถ เสียไม่ขวยขวาย
จากการปลดหนี้ เป็ นเหตุให้ได้ เอาอะไรทีส่ ามารถ
อะไรมา ทำได้

ลูกหนี้หลุดพ้นจากการชำระหนี้ ตามม.219
EX. นาย ก. จ้างให้นาย ข. ทาสีบา้ น มีกำหนด 10 วัน ตกลงค่าจ้างกันวันละ
1000 บาท ปรากฏว่า ยังไม่ทนั ได้เริม
่ ทาสี บ้านหลังดังกล่าวถูกไฟไหม้ โดยเกิด
จากการทีก่ น
้ บุหรีท
่ น
ี่ าย ก. ทิง้ ไว้
กรณี นี้ ภัยพิบตั ยิ อ
่ มตกเป็ นพับแก่เจ้าหนี้ คือ นาย ก. เพราะการทีบ
่ า้ นถูกทำลาย
เกิดเพราะความผิดของ นาย ก. ดังนี้ นาย ก. จึงต้องชำระค่าทาสีบา้ นจำนวน
10000 บาทให้แก่ นาย ข.
แต่หากปรากฏข้อเท็จจริง ดังต่อไปนี้
1. นาย ข. ไม่ตอ ้ งเสียค่าเดินทางมาทาสีบา้ น วันละ 100 บาท รวม 10 วันเป็ น
เงิน 1000 บาท (ถือว่านาย ข. ได้อะไรได้จากการปลดหนี้ )
2. นาย ข. ได้ใช้เวลาทีไ่ ม่ได้ทาสีบา้ นให้ นาย ก. ไปทาสีบา้ นให้ นาย ค. 5 วัน
ได้เงินมา 3000 บาท (ถือว่านาย ข.ได้ใช้คณ ุ วุมค ิ วามสามารถเป็ นเหตุให้ได้
อะไรมา)
3.หากเวลาอีก 5 วันทีเ่ หลือ นาย ข. นอนอยูบ ่ า้ นเฉยๆ จงใจไม่ไปทาสีบา้ นให้
กับคนอืน่ ทีต
่ ด
ิ ต่อมา โดยจะให้คา่ จ้างวันละ 1000 บาท (ถือว่านาย ข. แกล้ง
ละเลยไม่ขวนขวายเอาอะไรทีส่ ามารถจะทำได้ )

เช่นนี้ ก็ตอ
้ งนำมาหักจากเงินที่ นาย ข. จะได้จากนาย ก.ด้วย
คำถาม
Q: นายแดงตกลงซื้อรถยนต์จากนายดำ 1 คัน ราคา 800,000
บาท โดยตกลงส่งมอบและชำระราคาในอีก 7 วันข้างหน้ายังไม่ทน ั
ถึงเวลาทีก่ ำหนด เกิดน้ำท่วมทัง้ จังหวัดเชียงใหม่แม้นายดำจะ
ป้ องกันอย่างดีแล้ว และทำให้รถยนต์เสียหายทัง้ คัน ระหว่างนาย
แดงกับนายดำ ใครจะเป็ นผูร้ บั บาปเคราะห์ในภัยพิบตั ิ และผลจะ
เป็ นอย่างไร

ิ กแก่เจ้าหนี้ในตัวทรัพย์ คือนายแดง ซึง่ ได้กรรมสิทธิ ์


A: ภัยพิบตั ต
ในทรัพย์เฉพาะสิง่ ไปแล้วตามมาตรา 370 จึงต้องชำระราคารถ 8
แสนแก่ผข ู้ ายคือนายดำ และเมือ ่ การชำระหนี้กลายเป็ นพ้นวิสยั นัน

ไม่อาจโทษลูกหนี้ได้ นายดำจึงหลุดพ้นจากการชำระหนี้ ตาม
ม.219
คำถาม
Q: นายแดงตกลงซื้อรถยนต์จากนายดำ 1 คัน ราคา 800,000 บาท โดยชำระ
ราคาแล้ว และตกลงส่งมอบในอีก 7 วันข้างหน้า 3 วันต่อมา นายดำจอดรถยนต์
ทิง้ ไว้ในทีต
่ ่ำ ขณะฝนกำลังตกหนัก อีก 2 วันถัดมาเกิดน้ำท่วมจังหวัดเชียงใหม่
แล้ว และทำให้รถยนต์เสียหายทัง้ คัน ดังนี้ระหว่างนายแดงกับนายดำ ใครจะเป็ น
ผูร้ บั บาปเคราะห์ในภัยพิบตั ิ และผลจะเป็ นอย่างไร เจ้าหนี้หรือลูกหนี้จะมีสท
ิ ธิ
ต่อกันอย่างไร
้ เพราะความผิดของลูกหนี้ทไี่ ม่ดแ
A:ภัยพิบตั เิ กิดขึน ู ลเอาใจใส่ ภัยพิบตั จิ งึ ไม่ตก
เป็ นบาปเคราะห์ของนายแดงเจ้าหนี้
ผลคือ
1.นายแดงเจ้าหนี้มีสท
ิ ธิไม่ชำระหนี้ ตามม.369 และมีสท
ิ ธิเรียกค่าสินไหม
ทดแทนความเสียหาย ตามม.218 หรือ
2.นายแดงมีสท ิ ธิเลิกสัญญา ตามม.389 ซึง่ ทำให้เจ้าหนี้และลูกหนี้กลับคืนสู่
ฐานะเดิม หากนายแดงชำระเงินไปแล้วย่อมเรียกคืนได้พร้อมดอกเบี้ย และมี
สิทธิเรียกค่าเสียหายได้ ตามม.391
คำถาม
นายสมชายทำสัญญาซื้อไก่พน ั ธุ์พเิ ศษซึง่ เพราะเลี้ยงจากฟาร์มไก่ของนายพินิจ
เท่านัน้ จำนวน 1000 ตัว ในราคา 50000 บาท ตกลงจะมีการส่งมอบและชำระ
ราคาทีเ่ หลือในอีก 1 เดือน ก่อนวันส่งมอบประมาณ 1 สัปดาห์ ปรากฏว่ามีโรค
ไข้หวัดนกระบาดเข้าไปถึงท้องทีฟ ่ าร์มไก่ของนายพินิจ เป็ นเหตุให้ไก่ทน
ี่ าย
พินิจเลี้ยงอยูป ่ ระมาณ 10000 ตัว ตาย ไปประมาณครึง่ หนึ่ง ทางการได้
ประกาศให้ทอ ้ งทีด
่ งั กล่าวเป็ นเขตไข้หวัดนกระบาดและมีค ำสั่งให้นำไก่ในเขต
นัน้ ไปทำลายโดยเร็ว ครัน ้ ถึงวันส่งมอบไก่ นายพินิจไม่สง่ มอบไก่ให้นายสมชาย
ได้
Q:นายพินิจมีสท ิ ธิเรียกให้นายสมชายชำระราคาไก่หรือไม่ และนายพินิจต้องรับ
ผิดต่อนายสมชายหรือไม่เพียงใด
A: กรณี นี้ยงั ไม่มีการคัดไก่ จึงไม่เข้า ม. 370 และ 371 จึงเป็ นไปตามหลัก
ทั่วไป ตาม ม.372 ว.1 นายพินิจจึงไม่มีสท ิ ธิเรียกให้นายสมชายชำระค่าไก่ได้
A:การทีม ่ ีโรคไข้หวัดนกระบาดและทางการได้มีค ำสั่งให้นำไก่ไปทำลาย กรณี นี้
จึงเป็ นเรือ
่ งการชำระหนี้ของลูกหนี้กลายเป็ นพ้นวิสยั เพราะเหตุทโี่ ทษลูกหนี้ไม่
ได้ ลูกหนี้ยอ ่ มหลุดพ้นความรับผิด ตาม ม.219 ว.1 นายสมชายจึงไม่มีสท ิ ธิ
เรียกให้นายพินิจรับผิดใช้คา่ สินไหมทดแทนได้

You might also like