You are on page 1of 30

แผนพัฒนาสุขภาพไทย

Lecturer Pakpoom ounhalekjit


1
วัตถุประสงค์
สาระสำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ
สาระสำคัญแผนพัฒนาสุ ขภาพแห่ งชาติ

2
3
สุขภาพและการจัดการของประเทศไทยมีประเด็น
และสาระสำคัญในแผนพัฒนาการสาธารณสุข
ฉบับที่ 1 ถึง 9 อะไรบ้าง
แผนการพัฒนาสาธารณสุขฉบับที่
1-3
- มีนโยบายสอดคล้องกับทิศทาง การพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เป็ นแผนที่แก้
ปั ญหาหน้า

- ใช้หลักแพทย์ล้วนๆ ยึดสถานการณ์โรคเป็ น
หลัก
- เน้นการเจริญเติบโตและขยายตัวทางเศรษฐกิจ

- ขยายสถานบริการสาธรณสุขภาครัฐ ได้แก่ โรง


แผนการพัฒนาสาธารณสุข

ฉบั บ ที ่ 4
มีนโยบายเป็ นแบบการแก้ไขหรือการลดช่อง
ว่างของปั ญหาสาธรณสุข
• จัดทำแผนงาน/โครงการ/การพัฒนา
สาธารณสุขไปพร้อมกัน
• ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา
งานสาธารณสุข
• มีการฝึ กอบรม อาสาสมัครสาธารณสุข
- ตัง้
เป้ าหมายสุขภาพดีถ้วนหน้า
- ขยาย
แผนการพัฒนา สาธารณสุขฉบับที่ 5 -
6
- มีนโยบายในเรื่องของการจัดทำแผนงาน/
โครงการ/การพัฒนางานสาธารณสุข แล
แผนแก้ไขปั ญหาสาธารณสุข เช่นเดียวกับแผน 4

- - เน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วม

- - กำหนดเป้ าหมายระยะยาว “สุขภาพดีถ้วนหน้า ปี


2543” และโครงการ จปฐ.
ร่วมกับ 4 กระทรวงหลักได้แก่ เกษตร ศึกษา
มหาดไทย และสาธารณสุข
- - จัดตัง้ โรงพยาบาลระดับอำเภอให้ครบทุกอำเภอ
แผนพัฒนาสาธารณสุขฉบับที่ 7
- นโยบายยังคงอยู่ที่การมีสุขภาพดีถ้วนหน้า
ของประชาชน - กำหนด
ยุทบธศาสตร์
1. สนั และทิ
สนุนการดำเนิ ศทางอย่างชัขดมูเจนดั
นงานสาธารณสุ งนี ้
ลฐานในเขต
ชนบท 2. ปรับปรุง
คุณภาพและประสิทธิภาพของสถานบริการทุกระดับ
3. สนับสนุนให้ประชาชนผู้
ด้อยโอกาสมีหลักประกันสุขภาพ
4. ปรับปรุงประสิทธิภาพในการบริหารงาน
สาธารณสุข 5.
แสวงหาและพัฒนาทรัพยากรเพื่อสนับสนุนงาน
สาธารณสุข 6. ปรับปรุงและ
พัฒนาขบวนการเผยแพร่ข่าวสารด้านสาธารณสุข
• แผนพัฒนา
สาธารณสุขฉบับที่ 8
• นโยบายมีเป้ าหมายอยู่ที่ “คน” เน้นคน
ศูนฒ
• การพั ย์กนาเป็
ลาง นแบบองค์รวมหรือบูรณาการ
• การพัฒนาปั จจัยต่างๆมีความสัมพันธ์กันอย่างเป็ น
ระบบมี 2 แนวทาง
1. การพัฒนาศักยภาพของคนทัง้ ทางร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา

2. การพัฒนาสิ่งแวดล้อมต่างๆที่อยู่รอบตัวคน ได้แก่ ครอบครัว ชุมชน


สภาพแวดล้อมทัง้ ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ๆลๆ

- เน้นการพัฒนาด้านสาธารณสุขที่มีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงกับทาง
เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ค่านิยม พฤติกรรม และสิ่งแวดล้อมต่างๆ
• แผนการพัฒนา
สาธารณสุขฉบับที่ 9
วัตถุประสงค์

1. เพื่อสร้างสุขภาพเชิงรุก
2.
เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
3. เพื่อสร้าง
ความเข้มแข็งปั จเจกบุคคล ครอบครัว
ชุมชน และสังคม
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่
9

10
กลวิธีการพัฒนา
สุขภาพ
เสริมสร้างศักยภาพใหม่และความเข้มแข็ง (Empowerment) ให้
กับสังคมทุกระดับ ให้มีบทบาทในการเสริมสร้างและการดูแลสุขภาพ
การทํางานเชื่อมโยงเป็ นเครือข่าย (Network) ระหว่างชุมชน
องค์กร และสถาบัน ต่างๆ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบ
สุขภาพ และธรรมาภิบาล (Good governance)
การทํางานโดยยึดหลัก Problem and Area-based approach
ส่งเสริมด้านนวัตกรรมด้านการเสริมสร้างสุขภาพ การพัฒนาระบบ
การบริการ การ ควบคุมป้ องกันโรค และมาตรการคุ้มครองด้าน
สุขภาพเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable developement)

11
แนวคิดหลักในการพัฒนาสุ ขภาพ
แนวคิดที่ 1 สุ ขภาพคือสุ ขภาวะ
สุ ขภาพเป็ นมิติท้ งั ทางด้านกาย จิต สังคม และวิญญาณ ที่เชื่อมโยงกับเหตุปัจจัย ทาง
เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง และสิ่ งแวดล้อม
สุ ขภาพไม่ได้แยกจากวิถีชีวติ ดําเนิ นไปบนพื้นฐานของความถูกต้องพอดี
แนวคิดที่ 2 พัฒนาสุ ขภาพทั้งระบบ
• สุ ขภาพที่สมบูรณ์เกิดจากระบบสุ ขภาพที่สมบูรณ์
• สร้างการมีส่วนร่ วมของภาคส่ วนต่างๆ ในการพัฒนาสุ ขภาพ

12
ประเด็นสาระที่สำคัญของ
แผน 9
1. การสร้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค
• ประกาศใช้ พรบ. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พรบ.
กองทุนสร้างเสริมสุขภาพ 2. หลัก
ประกั นสุขภาพพรบ. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
• ประกาศใช้
3. ความเสมอภาคทางด้านสุขภาพ
4. การปรับโครงสร้าง
ขององค์
• มีกกรด้ านสุขภาพ
ารจัดสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่ง*
• ปรับบทบาทภาระกิจของกระทรวงสาธารณสุข
5. การสนับสนุนการกระจายอำนาจด้าน
สุขภาพ 6.
การพัฒนาศักยภาพด้านสุขภาพของประชาชน
ครอบครั วและชุ
• เน้นการใช้ มชน
ระบบเสื
่ อสารเพื่อการศึกษาและการเรียนรู้
7.ของประชาชนด้ านสุขภาพ
การพัฒนาสถานบริ การสาธารณสุขระดับต้น
เพื่อเชื่อมโยงกับบริการขัน ้ สูงทัง้ เขตเมืองและ
ชนบท
8. การพัฒนาคุณภาพ
สถานบริ การสาธารณสุ
• เป็ นการแพทย์ ข สมุนไพรและการ
แผนไทย
10.แพทย์
การสนั 9.
ทางเลื
บสนุ อนกการสนั บสนุนการพั
อุตสาหกรรมสุ ขภาพฒนา
ศักยภาพทางปั ญญาของระบบสุขภาพ
สรุปประเด็นและสาระสำคัญ

ของแผน 9
เน้นให้คนไทยทุกคนมีหลักประกันสุขภาพ
ถ้วนหน้า สามารถดำรงชีวิตอย่างมีสุข
ภาวะและเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ
อย่างเท่าเทียมกัน รวมทัง้ อยู่ในครอบครัว
ชุมชน และสังคมที่มีพอเพียง มีศักยภาพ
มีการเรียนรู้ และมีส่วนร่วมในการจัดการ
สุขภาพ ดูแลสุขภาพตนเอง โดยยึดหลัก
การสร้างสุขภาพแทนการร่วมสุขภาพ
 จากแผนฯ ฉบับที่ 10
สรุปผลการประเมินยุทธศาสตร์สุขภาพที่ใช้ใน
การพัฒนา
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างเอกภาพและธรรมาภิบาล
ในการจัดการระบบสุขภาพ

ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างวัฒนธรรมสุขภาพและวิถี
ชีวิตที่มีความสุขในสังคมแห่งสุขภาวะ

ยุทธศาสตร์ 3 การสร้างระบบบริการสุขภาพและ
การแพทย์ที่ผู้รับบริการอุ่นใจ ผู้ให้บริการมีความสุข

16
 จากแผนฯ ฉบับที่ 10
สรุปผลการประเมินยุทธศาสตร์สุขภาพที่ใช้ใน
การพัฒนา
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างระบบภูมิคุ้มกันเพื่อลดผลกระ
ทบจากโรคและภัยคุกคามสุขภาพ

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสร้างทางเลือกสุขภาพที่หลาก
หลายผสมผสานภูมิปัญญาไทยและสากล

ยุทธศาสตร์ 6 การสร้างระบบสุขภาพฐานความรู้ด้าน
การจัดการความรู้
17
 ปั จจัยที่เกี่ยวข้องกับการนำ
นโยบายไปสู
1. การเลื อกกลยุทธ์ก่ก ารปฏิบัติ  บัติไม่
ารนำนโยบายไปปฏิ
เหมาะสม
2. กลยุทธ์การนำนโยบายเหมาะสมแต่การเลือก
หน่วยปฏิบัติ
และกลไกในการปฏิบัติไม่เหมาะสม
3. ความชัดเจนนโยบายไม่เพียงพอ
4. ขาดการสนับสนุนขององค์กรในบางยุทธศาสตร์
5. ความตัง้ ใจจริงทางการเมืองในการใช้ยุทธศาสตร์
ตาม
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ในการขับ
เคลื่อนไม่
เพียงพอ 18
 ประเด็นที่ยังคงต้องพิจารณา 

 การขาดแคลนกำลังคนด้านสาธารณสุข
 การขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์ยังเกิดจากภาวะสมอง
ไหลที่แพทย์ลาออกจากระบบรัฐ ไปทำงานในระบบเอกชนมาก
ขึ
น ้
การสร้างสุขภาพดีถ้วนหน้า Health for All ไปสู่ All for
Health
 ปั ญหาการจัดสรรงบประมาณให้แก่สถานพยาบาล
 แนวโน้มภาระค่าใช้จ่ายทางการแพทย์ในอนาคตเพิ่มมากขึน

19
 สถานการณ์และปั จจัยที่มีผลต่อการพัฒนา
สุขภาพ 
1. การเปลี่ยนแปลงในระดับโลกที่
สำคัญ
Globalization and
regionalization
Environmental problem and
global warming
Aging society
Food security and suitable
energy 20
 สถานการณ์และปั จจัยที่มีผลต่อการพัฒนา
สุ ข ภาพ
2. การเปลี่ยนแปลงภายในประเทศ  
ที่สำคัญ
สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจ
สถานการณ์ด้านการเมือง
สถานการณ์ด้านการกระจายอำนาจ การปฏิรูประบบ
สุขภาพ
สถานการณ์ด้านสังคม
สถานะสุขภาพของคนไทย

21
 ยุทธศาสตร์การพัฒนา
สุขภาพ (ฉบับที่ 11) 
 เสริมสร้างระบบบริการสุขภาพให้มีมาตรฐานในทุกระดับ
เพื่อตอบสนองต่อปั ญหาสุขภาพในทุกกลุ่มเป้ าหมาย และ
พัฒนาระบบส่งต่อที่ไร้รอยต่อ
 สร้างกลไกกลางระดับชาติในการดูแลระบบบริการสุขภาพ
และพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ

22
 ทิศทางของแผนพัฒนาสุขภาพแห่ง
ชาติ ฉบับที่ 11 
ระบบสุขภาพพอเพียง
• กระบวนการพัฒนาสุขภาพของประชาชนให้ไปสู่การมีสุข
ภาวะ
• ทัง้ มิติทางกาย จิต สังคม และปั ญญา โดยมีระบบบริการ
สุขภาพที่มี
• คุณภาพ มาตรฐาน เข้มแข็ง เพียงพอ และเข้าถึงได้สะดวก
• ตอบสนองต่อปั ญหาและความต้องการที่แท้จริงของประชน
บนต้นทุน
• ที่เหมาะสม

23
 ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ (ฉบับที่
11) 
 สร้างเสริมความเข้มแข็งของภาคีสุขภาพในการ
สร้างสุขภาพ ตลอดจนการพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพ
บนพื้นฐานภูมิปัญญาไทย
 พัฒ นาระบบเฝ้ าระวัง เตือนภัย และการจัดการภัย
พิบัติ อุบัติเหตุและภัยสุขภาพ
 มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพ การป้ องกัน ควบคุมโรค
และคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ เพื่อให้คนไทยแข็ง
แรงทัง้ ร่างกาย จิตใจ สังคมและปั ญญา

24
 ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ
(ฉบับที่ 11) 
 เสริมสร้างระบบบริการสุขภาพให้มีมาตรฐานในทุก
ระดับเพื่อตอบสนองต่อปั ญหาสุขภาพในทุกกลุ่มเป้ า
หมาย และพัฒนาระบบส่งต่อที่ไร้รอยต่อ
 สร้างกลไกกลางระดับชาติในการดูแลระบบบริการ
สุขภาพ และพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรให้มี
ประสิทธิภาพ

25
กรอบทิศทาง แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 พศ 2560-2564

26
สรุ ป แผนพัฒนาสุขภาพ เนื้อหาสำคัญ
แห่งชาติ
ฉบับที่ 1 มุ่งเน้นด้านการรักษา ยกมาตรฐานการครองชีพ คุณภาพชีวิต
(2504-2509) ของประชาชน ใช้ทรัพยากรให้เป็ นประโยชน์มากที่สุด มีแนวคิด
ในการสร้างโรงพยาบาลภาครัฐ รพ อำเภอ สถานีอนามัย
เน้นการป้ องกันโรคติดต่อ เช่น โรคเรื้อน วัณโรค อหิวาฯ โดย
จัดทำโครงการ เช่น โครงการควบคุมวัณโรค และ โครงการ
จัดหาน้ำดื่มฯ
ฉบับที่ 2 ปรับปรุงบริการสาธารณสุขในชนบทที่ห่างไกลให้มีคุณภาพที่ดี
(2510-2514) ขึน
้ โดยเริ่มให้ นศ ไปทำงานใช้ทุนครัง้ แรก ในปี 2508
ผลที่เกิด จำนวนบุคลากรทางการแพทย์และพยาบาล ยังไม่เป็ น
ไปตามเป้ าหมาย
27
แผนพัฒนาสุขภาพ เนื้อหาสำคัญ
แห่งชาติ
ปรับกระบวนการเป็ น Health for All >>> เป็ นจุดเริ่มต้นของ
การมีส่วนร่วมของประชาชน
อบรมพยาบาล อสม
สร้างโรงพยาบาลอำเภอ 15 แห่ง และ ยกฐานะ รพ จังหวัดขึน

เป็ น รพ เขต จำนวน 14 แห่ง
ฉบับที่ 5 กระจายบริการสาธารณสุขไปสู่ท้องถิ่นชนบท
(2525-2529) เพิ่มกลวิธี และสนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ
พัฒนาอย่างจริงจัง เช่น
• การจัดตัง้ กองทุนยาประจำหมู่บ้าน
• ร่วมลงทุนพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม
28

แผนพัฒนาสุขภาพ เนื้อหาสำคัญ
แห่งชาติ
ฉบับที่ 7 มุ่งเน้นความสำคัญคุณภาพชีวิตต่อจากแผนที่ 6 เพื่อให้บรรลุ
(2535-2539) การมีสุขภาพดีถ้วนหน้าในระยะอันใกล้
เน้นพัฒนาสถานีอนามัยให้เป็ นจุดเชื่อมงานสุขภาพดีถ้วนหน้า
แก้ไขปั ญหาขาดแคลนบุคลากรสุขภาพที่กระจายไปยังภาค
เอกชน
สร้างหลักประกันสุขภาพให้ครอบคลุม
ฉบับที่ 8 เน้นการพัฒนาฉบีบทรัพยากรมนุษย์ พัฒนาการสาธารณสุข
(2540-2544) เน้นพัฒนาศักยภาพคนให้มีความรู้ด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้ องกัน
โรค การดูแลสุขภาพตนเอง และครอบครัว เช่น
• ลดการเจ็บป่ วยและเสียชีวิตจากโรคที่ป้องกันได้
• ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีในสภาพแวดล้อมที่ดี 29
แผนพัฒนาสุขภาพ เนื้อหาสำคัญ
แห่งชาติ

ฉบับที่ 9
(2545-2549)

30

You might also like