You are on page 1of 14

เคมี เล่ม1

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
5
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หน่วยการ หน่วยการ หน่วยการ


เรียนรู้ที่ 1 เรียนรู้ที่ 2 เรียนรู้ที่ 3

Slide PowerPoint_สื่อ
ประกอบการสอน

บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200


Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสาร : 02 622 1311-8 webmaster@aksorn.com / www.aksorn.com
หน่วยการเรียนรู้
ที่
3
สมดุล
เคมี

ผลการเรียนรู้
• ทดสอบ และอธิบายความหมายของปฏิกิริยาผันกลับได้และภาวะสมดุล
• อธิบายการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสาร อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า และอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อน
กลับ เมื่อเริ่มปฏิกิริยา จนกระทั่งระบบอยู่ในภาวะสมดุล
• คำนวณค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา
• คำนวณความเข้มข้นของสารที่ภาวะสมดุล
• คำนวณค่าคงที่สมดุลหรือความเข้มข้นของปฏิกิริยาหลายขัน ้ ตอน
• ระบุปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลและค่าคงที่สมดุลของระบบ รวมทัง้ คาดคะเนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน
้ เมื่อภาวะ
สมดุลของระบบถูกรบกวน โดยใช้หลักของเลอซาเตอลิเอ
ปฏิกิริยาเคมีที่ผันกลับได้
และผันกลับไม่ได้
ปฏิกิริยาที่ผันกลับไม่ได้ ปฏิกิริยาที่ผันกลับได้

• เกิดในระบบเปิ ดหรือระบบปิ ดก็ได้ • เกิดในระบบปิ ดเท่านัน ้


• มีเฉพาะการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้า • มีทงั ้ การเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้า
ผลิตภัณฑ์ไม่เปลี่ยนกลับมาเป็ นสารตัง้ ต้น และการเปลี่ยนแปลงย้อนกลับ
มื่อปฏิกิริยาเกิดขึน • ผลิง้ ตต้ภันณฑ์สามารถเปลี่ยนกลับมาเป็ นสารตัง้ ต
้ สมบูรณ์ในระบบสารตั
จะหมดไป เหลือแต่ผลิตภัณฑ์ที่เกิ•ดขึในระบบจะมี

้ ทงั ้ สารตัง้ ต้นและผลิตภัณฑ์อยู่ทุก

ช้เครื่องหมาย แทนปฏิกิริยาเคมีที่ผันกลับได้ และเขียนลูกศรไปกลับยาวเท่าก


ระบบเกิดภาวะสมดุล (อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า = อัตราการเกิดปฏิกิริยาย
กราฟแสดงสมดุลเคมี
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีก

A2 (g)+ 2B2 (g ) 2AB 2 ( g)


A2 +2B2 2AB 2
อัตราการเกิดปฏิกิริยา

ที่เวลา ระบบเริ่มเข้าสู่ภาวะสมดุล
อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า
A2 +2B2 2AB 2
=
อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ

0 t1 เวลา
2AB 2 A2 +2B2
กราฟแสดงสมดุลเคมีกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารกับ

X Y
แบบที่ 1ที่สมดุล แบบที่ 2ที่สมดุล แบบที่ 3ที่สมดุล
ความเข้มข้นของสารตัง้ ต้นที่เหลื
ความเข้
อ มข้นของสารตัง้ ต้นที่เหลืความเข้
อ มข้นของสารตัง้ ต้นที่เหล
< > =
ความเข้มข้นของสาร

ความเข้มข้นของสาร

ความเข้มข้นของสาร
ความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ ความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ ความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์
[Y] [X] [X]
[X] [Y] [Y]

0 t1 เวลา 0 t2 เวลา 0 t3 เวลา


• ที่สมดุล [X] < [Y] • ที่สมดุล [X] > [Y] • ที่สมดุล [X] = [Y]
• ระบบเริ่มเข้าสู่สมดุล ณ เวลา
• ระบบเริ่มเข้าสู่สมดุล ณ เวลา
• ระบบเริ่มเข้าสู่สมดุล ณ เวลา
ค่าคงที่สมดุล ความหมายและลักษณะของค่าคงที่สมดุล

อัตราส่วนระหว่างผลคูณของความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์
แต่ละชนิดยกกำลังด้วยเลข
บอกจำนวนโมลของผลิตภัณฑ์นน ั ้ ๆ กับผลคูณของความ
เข้มข้นของสารตัง้ ต้นที่เหลือ
แต่ละชนิดยกกำลังด้วยตัวเลขบอกจำนวนโมลของสารตัง้
ต้นนัน
้ ๆ จะได้ค่าคงที่เสมอ เรียกว่า ค่าคงที่สมดุลK(K=หรือ
aA (g) + bB (g)cC (g) + ) dD (g)

ในกรณีที่สารในภาวะสมดุลอยู่ในสถานะของแข็ง (s) หรือ


ของเหลว (l)
จะมีความเข้มข้นคงที่ การเขียนค่าคงที่สมดุลจึงไม่ต้องนำ
aA (s) + bB (aq) มาคิ ด
cC (g) + dD (l) K =
ค่าคงที่สมดุล ความสัมพันธ์ของค่าคงที่สมดุลกับสมการเคมี

1
กรณีที่ 1เมื
่ อ กลั บ สมการเคมี K
จะได้ ว า
่ ใหม่   =  
Kเดิม

กรณีที่ 2่ อคูณหรือหารตัวเลขใด ๆ เข้าไปในสมการเคมี


เมื
x
K = K
เมื่อคูณตัวเลขใด ๆ เข้าไปในสมการเคมี จะได้วใหม่่า เดิมเมื่อ x คือ ตัวเลขใด ๆ
K ใหม่ว = 
เมื่อหารตัวเลขใด ๆ เข้าไปในสมการเคมี จะได้ ่า √ Kเดิเมืม ่ อ x คือ ตัวเลขใด ๆ
x

ี่ 3 กิริยาเคมีที่มีกลไกการเกิดปฏิกิริยาหลายขัน้ ตอน
กรณีทในปฏิ
ถ้าสมการเคมีของปฏิกิริยารวมเกิดจากการนำสมการเคมีย่อยมารวมกันใหม่จะได้ 1 ว่า K =K  x  K 2
K1
ถ้าสมการเคมีของปฏิกิริยารวมเกิดจากการนำสมการเคมีย่อยมาลบกัน K ใหม่ =ว
จะได้   ่า
K2
ค่าคงที่สมดุล ค่าคงที่สมดุลในรูปของความเข้มข้นและในรูปของคว

ยาที่เป็ นแก๊ส ค่าคงที่สมดุลเขียนอยู่ได้ทงั ้ ในรูปของความเข้มข้น () หรือเขียนอยู่ในรูปของความ

aA (g) + bB (g) cC (g) + dD (g)


c
[C] [D ] d PcC PdD
สามารถเขียนค่าคงที่สมดุลได้ ดังนี ้ Kc= a b หรือ Kp = a b
[ A ] [ B] P P
A B

ความสัมพันธ์ของ กับ เป็ นดังนี ้ K p =Kc (RT )∆ n

นวนโมลรวมของผลิตภัณฑ์ที่เป็ นแก๊ส - จำนวนโมลรวมของสารตัง้ ต้นที่เป็ นแก๊ส


บ เมื่อจำนวนโมลรวมของผลิตภัณฑ์ที่เป็ นแก๊สเท่ากับจำนวนโมลรวมของสารตัง้ ต้นที่เป็ นแก๊ส
ปั จจัยที่มีผลต่อภาวะ ผลของการเปลี่ยนแปลงความเข้ม
[ สมดุล ข้นต่อภาวะสมดุล
เกิดปฏิกิริยาไปข้ า งหน้ า มากขึ
น ้ A (aq) + B (aq) C (aq)
เมื่อ A [
ที่สมดุลใหม่ลดลง
A แต่มากกว่าสมดุลเดิม
] [B
] ลดลง
[] [ [
C เพิ่มขึน
้ [B
A C
[B เกิดปฏิกิริยาย้][อนกลับมากขึน้ [ ]
]
]
เมื่อ

ความเข้มข้น ()
C
] ที่สมดุลใหม่[BA เพิ่มขึน้ A
[
]
] ่มขึน
เพิ ้ แต่ น อ
้ ยกว่ า สมดุ ล เดิ ม
[] ]
[B
C เพิ่มขึน ้ ]
[C ]
เกิดปฏิกิริยาย้[อนกลับมากขึน ้
เมื่อ
] ที่สมดุลใหม่A เพิ่มขึน
[B

0 t1 t2 t 3 เวลา (s)
] เพิ่มขึน ้
[]
ลดลง
C แต่มากกว่าสมดุลเดิม
]
ปั จจัยที่มีผลต่อภาวะ ผลของการเปลี่ยนแปลงความดัน
สมดุล ต่อภาวะสมดุล
เมื่อจำนวนโมลรวมของแก๊สในสารตัง้ ต้นไม่เท่าเมื
กับ
่ อจำนวนโมลรวมของแก๊สในสารตัง้ ต้นเท่าก
จำนวนโมลรวมของแก๊สในผลิตภัณฑ์ จำนวนโมลรวมของแก๊สในผลิตภัณฑ์

X (g) + 3Y (g) 2Z (g) X (g) + Y (g) 2Z (g)


เพิ่ม เพิ่ม
ความ ความ
ดัน
ะปรับตัวเพื่อลดความดัน โดยการทำให้ จำนวนโมลรวมของแก๊ส ดัน
ไม่รบกวนภาวะสมดุล
บลดลง สมดุลจะเลื่อนไปด้านที่มีจำนวนโมลรวมของแก๊สน้อย
(เลื่อนไปข้
ลดางหน้า) ลด
ความ ความ
ะปรับตัวเพื่อเพิ่มความดัน ดัโดยการทำให้
น จำนวนโมลรวมของแก๊ส ดัน
บเพิ่มขึน
้ สมดุลจะเลื่อนไปด้านที่มจี ำนวนโมลรวมของแก๊สมาก ไม่รบกวนภาวะสมดุล
(เลื่อนย้อนกลับ)
ปั จจัยที่มีผลต่อภาวะ ผลของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิต่อ
สมดุล ภาวะสมดุล
คายความ
A (g)ร้อ2B
น (g) + x kJ
เพิสมดุ
่ม ลจะปรับตัวไปในทิศทางที่ต้องลดอุณหภูมิ ดูดความ
อุณหภูมิ ร้อน
จึงเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับมากขึน
้ ลด
[B เพิ่ม
ที่สมดุลใหม่ [] ลดลง อุณหภูมิ
อุณหภู

ความเข้มข้นของาร ()
A เพิ่มขึน มิ

] [B
]
ลด
สมดุลจะปรับตัวไปในทิศทางที่ต้องเพิ่มอุณหภูมิ [
อุณหภูมิ A
จึงเกิดปฏิกิริยาไปข้
[ างมากขึน
้ ]
ที่สมดุลใหม่ A ลดลง
[B
] เพิ่มขึน

] 0 t1 t2 อุณหภูมิ ()

You might also like