You are on page 1of 9

้ ่ี 3

แผนการจัดการเรียนรูท

วิชา วิทยาศาสตร์ หน่ วยที่ 4 งานและ


พลังงานความรูอน
เรื่อง อุณหภ้มิและการวัด จำานวน 2
ชั่วโมง
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1
ชัน ภาคเรียนที่ 2
ปี การศึกษา 2552
ผู้สอน นางสาววราภรณ์ โทพิลา โรงเรียนวัดเขาปิ่ น
ทอง
.....................................................................................................
..................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 5.1
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับ การดำา รงชีวิ ต การเปลี่ ยนรู ป
พลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิต
และสิ่ ง แวดล้ อ ม มี ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู้ แ ละจิ ต วิ ท ยาศาสตร์
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำ าความร้ไู ปใช้ประโยชน์

2. ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง
เปรียบเทียบความสามารถในการวัดอุณหภูมิโดยใช้ประสาทสัมผั ส
กับการใช้เทอร์มอมิเตอร์ได้
เข้าใจวิธีการใช้ การเก็บรักษาเทอร์มอมิเตอร์ชนิ ดต่างๆได้

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เปรียบเทียบความสามารถในการวัดอุณหภูมิโดยใช้ประสาทสัมผัส
กับใช้เทอร์มอมิเตอร์ได้
2. เข้าใจวิธีการใช้ การเก็บรักษาเทอร์มอมิเตอร์ชนิ ดต่างๆได้

4. สาระการเรียนรู้
ความร้อนเป็ นพลังงานรูปหนึ่ งที่ร่างกายของเราสามารถรับรู้ได้โดยใช้
ประสาทสัมผัส แต่ความรู้ สึกทางผิวกายเชื่อถือไม่ได้เสมอไป จึงใช้อุปกรณ์
สำา หรับวัดอุณหภูมิ คือ เทอร์มอมิเตอร์ ซึ่งสามารถวัดได้ถูกต้องกว่าการวัด
โดยใช้ประสาทสัมผัสทางผิวกาย

5. กระบวนการจัดการเรียนรู้
5.1 ขัน
้ นำ าเขูาส่้บทเรียน
1. นั กเรียนบอกสิ่งที่สามารถนำ ามาใช้วัดอุณหภูมิได้ และ
เปรี ย บเที ย บกั บ ภาพเทอร์ ม อมิ เ ตอร์ ท่ี ใ ช้ ใ นห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร หรื อ เทอร์ ม อ
มิเตอร์วัดไข้ว่าต่างกันหรือไม่
2. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
5.2 ขัน
้ สอน
1. นั กเรียนศึกษาเรื่อง อุณหภูมิและการวัด จากหนั งสือเรียน
้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 1 หน่ วยการเรียนรู้ท่ี 4 เรื่อง งาน
วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชัน
และพลังงานความร้อน
2. นั กเรียนทำาใบงานที่ 1 เรื่อง เครื่องมือวัดอุณหภูมิ
3. ครูเปิ ดโอกาสให้นักเรียนซักถามเนื้ อหาในส่วนที่ยัง
ไม่เข้าใจ
4. นั กเรียนทำาใบงานที่ 2 เรื่อง หน่ วยวัดอุณหภูมิ
5. ครู และนั กเรีย นร่ วมกั นสรุปเนื้ อ หาเรื่ องอุ ณหภู มิ
และการวัด
5.3 ขัน
้ สรุป
1. ครูและนั กเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง อุณหภูมิและการวัด
2. ครูเปิ ดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย

6. สื่อ / แหล่งการเรียนรู้
6.1 สื่อการเรียนรู้
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1
1. หนั งสือเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับ ชัน

หน่ วยการเรียนรู้ท่ี 4 เรื่อง งานและพลังงานความร้อน


2. ใบงานที่ 1 เรื่อง เครื่องมือวัดอุณหภูมิ
3. ใบงานที่ 2 เรื่อง หน่ วยวัดอุณหภูมิ
6.2 แหล่งการเรียนรู้
-

7. การวัดผลและการประเมินผล
7.1 วิธีการวัดและประเมินผล
7.1.1 ตรวจใบงานที่ 1 เรื่อง เครื่องมือวัดอุณหภูมิ
7.1.2 ตรวจใบงานที่ 2 เรื่อง หน่ วยวัดอุณหภูมิ
7.2 เครื่องมือวัดและประเมินผล
7.2.1 ใบงานที่ 1 เรื่อง เครื่องมือวัดอุณหภูมิ
7.2.2 ใบงานที่ 2 เรื่อง หน่ วยวัดอุณหภูมิ
7.3 เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
7.3.1 ใบงานที่ 1 ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 จึงจะ
ถือว่าผ่านเกณฑ์
7.3.2 ใบงานที่ 2 ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ
60 จึงจะถือว่าผ่านเกณฑ์
8. บันทึกผลหลังสอน
8.1 ผลการสอน
.......................................................................................................
................................................................................................................
.........................................................................................................
8.2 ปั ญหา / อุปสรรค
.......................................................................................................
................................................................................................................
.....................................................................................................
8.3 ขูอเสนอแนะ / แนวทางแกูไข
.......................................................................................................
................................................................................................................
.........................................................................................................

ลงชื่อ ..................................
................ผู้สอน

(..................................................)
วัน
ที่.......เดือน.....................พ.ศ. ............
ใบงานที่ 1
เรื่อง เครื่องมือวัด
อุณหภ้มิ
จุดประสงค์การเรียนรู้ เปรียบเทียบความสามารถในการวัด อุณหภู มิโดยใช้
ประสาทสัมผัสกับการใช้เทอร์-มอมิเตอร์ได้
คำาชีแ
้ จง ใหูนักเรียนทำากิจกรรม และตอบคำาถามต่อไปนี้
อุปกรณ์การทดลอง
1. นำ ้ าที่อุณหภูมิห้อง
2. อ่างนำ ้ า
3. นำ ้ าแข็ง
4. นำ ้ าอุ่น 1. นำ ้ า + นำ ้ าแข็ง 2. นำ ้ าที่อุณหภูมิห้อง
วิธีทำาการทดลอง 3. นำ ้ าอ่น

1. ใช้อ่าง 3 ใบ วางเรียงกัน ใบที่ 1 เติมนำ ้ าผสมนำ ้ าแข็ง ใบที่ 2 ใช้นำ้าที่มี
อุ ณ หภู มิ เ ท่ า กั บ อุ ณ หภู มิ ห้ อ ง ใบที่ 3 เติ ม นำ ้ า อุ่ น ที่ มี อุ ณ หภู มิ 50 องศา
เซลเซียส
2. จุ่ ม
มือขวาลงในอ่างนำ ้าใบที่ 1 และจ่ม
ุ มือซ้ายลงใน
อ่ า งนำ ้ า ใบที่ 3 พร้ อ มกั น แช่ ไ ว้ สั ก ครู่
(ประมาณ 20 นาที)
3. ยกมือทัง้ 2 ข้างขึ้นจากอ่าง แล้ วจุ่ มมื อ
ทัง้ 2 ข้างลงในอ่างใบที่ 2 พร้อมกัน

4. สั ง เกตผลการทดลองเปรี ย บเที ย บ
อุณหภูมิท่ีรู้สึกได้
5. อ่านค่าอุณหภูมิของนำ ้ าจากทัง้ 3 อ่าง

คำาสั่ง
1. บันทึกและสรุปผลการทดลอง โดยผลการทดลองอาจนำ าเสนอ
ในรูปของตารางบันทึกผล
2. อภิปรายว่าเพราะเหตุใดมือของนั กเรียนทัง้ สองข้างจึงรู้สึกไม่
เหมือนกัน โดยอาจใช้ค่าอุณหภูมิ
ั ได้จากการทดลองข้อ 5. มาช่วยในการตอบคำาถาม
ที่วด
ใบงานที่ 2
เรื่อง หน่ วยวัดอุณหภ้มิ

จุดประสงค์การเรียนรู้ เปรียบเทียบค่าอุณหภูมิระหว่างหน่ วยวัดอุณหภูมิ


ในระบบต่างๆ ได้
คำาชีแ
้ จง ให้นักเรียนทำากิจกรรมต่อไปนี้
1. ให้นักเรียนเติมสมการแสดงความสัมพันธ์ของหน่ วยวัดอุณหภูมิแต่ละ
หน่ วยให้สมบูรณ์

X - M.P = C-0 = 2 - 273 = F- 3


= 5 - 0
B.P - M.P 1 = 100
4 80
C = K- 7 = 9 - 273
= 11
6 8
10 4
K = 12 + 13

2. ถ้ า อุ ณ หภู มิ บ นยอดเขาแห่ ง หนึ่ งเท่ า กั บ 59 ำF เมื่ อ คิ ด


เป็ นเซลเซียส โรเมอร์ และเคลวิน มีค่าเท่าไร
3. จงเปลี่ยนค่าอุณหภูมิ 293 K ให้มีหน่ วยเป็ นเซลเซียส
โรเมอร์ และฟาเรนไฮต์
4. เทอร์มอมิเตอร์อันหนึ่ งอ่านค่าอุณหภูมิได้ 40 ำR ถ้าเป็ น
หน่ วยเซลเซียส ฟาเรนไฮต์ และเคลวิน จะอ่านค่าได้เท่าไร
5. เทอร์มอมิเตอร์วัดไข้ ส่วนมากใช้หน่ วยของอุณหภูมิเป็ น
หน่ วยใด
6. หากสภาพอากาศมีอุณหภูมิสูง นั กเรียนจะรู้สึกเหมือน
หรือแตกต่างจากสภาพอากาศที่มีอุณหภูมิตำ่า
เฉลยใบงานที่ 1
เรื่อง เครื่องมือวัด
อุณหภ้มิ

1. บันทึกผลการทดลองตามที่เกิดขึ้นจริง
2. เพราะประสาทสัมผัสทางผิวกายมีขอบเขตจำา กัด ทำา ให้บอกค่า
ระดับความร้อนได้ไม่แน่ นอน และแต่ละคนมีขอบเขตในการรับ
รู้ ค วามรู้ สึ ก ไม่ เ หมื อ นกั น ดั ง นั ้ น การจะระบุ อุ ณ หภู มิ จึ ง ต้ อ ง
อาศัยเครื่องมือในการวัด เช่น เทอร์มอมิเตอร์ และต้องทำาการวัด
หลายๆ ครัง้ แล้วนำ ามาหาค่าเฉลี่ยจึงจะได้คา่ ที่ใกล้เคียงที่สุด

เฉลยใบงานที่ 2
เรื่อง หน่ วยวัด
อุณหภ้มิ
1. บันทึกผลการทดลองตามที่เกิดขึ้นจริง

X - M.P = C-0 = K - 273 = F- 32


= R -0
B.P - M.P 100 = 100
180 80
C = K- 273 = F - 32
= R
5 5
9 4
K = C + 273
2. เซลเซียส = 15 ำC
โรเมอร์ = 12 ำR
เคลวิน = 288 K
3. เซลเซียส = 20 ำC
โรเมอร์ = 16 ำR
ฟาเรนไฮต์ = 68 ำF
4. เซลเซียส = 50 ำC
ฟาเรนไฮต์ = 122 ำF
เคลวิน = 323 K
5. เซลเซียส และฟาเรนไฮต์
6. ตามความรู้สก
ึ ของนั กเรียนที่เกิดขึ้นจริง

You might also like