You are on page 1of 14

1

เครื่องไส
SHAPING MACHINE
การไสเปนการเอาเนื้อชิ้นงานออก โดยตัดชิ้นงาน
ในแนวระนาบผิว
เรียบ มีเครื่อง
มื อ ตั ด เคลื่ อ นที่
ในแนวเส น ตรง
ไปกลับ ชิ้นงาน
อยูกับที่หรือเคลื่อนที่ในแนวขวางกับมีดตัด
ลักษณะงานไส
• ไสผิวเรียบลดขนาดงาน เปนการเอาชิ้นงานออก
ในแนว
ระนาบ
(horizonta
l) เพื่อให
งานไดผิว
เ รี ย บ
ร ะ ดั บ
หนึ่ง
2

• ไสงานหนาเรียบแนวดิ่ง เปนการเอาชิ้นงานออก

ในแนวดิ่ง(vertical) จุดประสงคเพื่อใหงานได
ฉากกับแนวระนาบ
• ไสผิวเอียง ไสดานขางใหเอียงจากแนวระนาบ
เชนรองหางเหยี่ยว รูปแบบของมีดตัดตองลับ
มุมใหสะดวกสําหรับการตัด
3

• ไสงานฉาก เชนบาฉากงาน เปนการไสงานใน


ลั ก ษ ณ ะ
เ ดี ย ว กั บ
ไ ส ผิ ว
เรี ย บและ
ผิ ว เ รี ย บ
แ น ว ดิ่ ง
โดยตั้งมีด
ครั้ ง เดี ย ว
เพื่อใหงานไดฉาก
**ในการไสงานแตละแบบจะมีวิธีการจับงาน จับมีด
เอียงปอมมีด เพื่อใหสะดวกแกการปอนตัดงานไดตามที่
ตองการ
4

สวนตางๆของเครื่องไส
เครื่องไสมีทั้งแบบตั้งโตะขนาดเล็ก และแบบตั้ง

พื้นขนาดใหญ แตสวนประกอบหลักจะเปนเชนเดียว
กัน แตกตางกันที่ขนาดและรูปรางเทานั้น
• โครงเครื่องไส(Body casting) ทําจากเหล็กหลอ

เปนสวนยึดประกอบชิ้นสวนอื่นๆ
5

• RAM เครื่องไส สวนเคลื่อนที่ที่พามีดตัดตัดงาน


ในแนวเสนตรง
วิ่ ง อยู ใ นรางไส
รองหางเหยี่ยว
หลอน้ํามัน
• โตะงาน(Table) ทําดวยเหล็กหลอ เปนกลองสี่
เหลี่ ย มเซาะร อ งเพื่ อ ไว ใ ช ป ระกอบการจั บ งาน
เคลื่ อ นที่ ใ นแนวระนาบด ว ยรางเลื่ อ น และ

เคลื่ อ นที่ ใ นแนวดิ่ ง ได ต ามรางคอลั ม น บาง


เครื่องสามารถหมุนหนาโตะเอียงเปนมุมเพื่อใช
จับงานเอียงได
• หัวไส(Tool head) เปนสวนจับยึดมีดไสติดอยูบน
ปลายRam หมุนปรับองศาไดเพื่อเยื้องมีดตัด
6

เอียง หมุนปรับเลื่อนมีดไส
ขึ้ น ลงในแนวดิ่ ง เพื่ อ ปรั บ
มี ด ใน
การ
กิ น ลึ ก
งาน

ระหว า งหั ว ไสงานกั บ ป อ มมี ด มี ก ารยึ ด กล อ งมี ด


(Clapper block)
เข า กั บ กล อ งนอก
(Clapper box)
เพื่อใหกลองมีดยก
ตัวขึ้นไดชวงการชักลากมีดกลับ
7

กลไกการขับเคลื่อนของเครื่องไส
ลักษณะการทํางานของเครื่องไส เปนการเคลื่อนที่
มีดไสไปในแนวของเสนตรงดวยแรม(Ram)ของเครื่อง
ซึ่งเปลี่ยนการเคลื่อนที่มาจากการหมุนของมอเตอรดวย

การแกวงของขอเหวี่ยง(Crank) โดยชวงชักของแรมจะ
ยาวมากน อ ยแค ไ หนขึ้ น อยู กั บ การปรั บ ช ว งกว า งการ
แกวงของขอเหวี่ยง(Crank)ดวยการเลื่อนSliding block
ใหหนีศูนยจากBull wheel
8

ชวงเดินหนา(Cutting stroke) Sliding blockจะหมุน


อยูในตําแหนง(ABC)เปนมุม 240 องศา ขณะที่ชวงชัก
กลับ(Return stroke) Sliding blocksหมุนอยูในตําแหนง

(ADC)เปนมุม 120 องศา จึงทําใหชวงชักกลับของแรม


มีความเร็วมากกวาชวงเดินหนา ชวยลดเวลาการสูญ
เสียโดยไมเกิดงานลงได
การจับมีดไส
ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง มี ด ไ ส จ ะ
คลายกับมีดกลึงงานจับอยูบน
ปอมมีด ตองคํานึงถึงความ
แข็งแรงในการทํางานขณะไส
โดยแรงกระทําขณะไสงาน
9

ควรจับมีดใหมีระยะชวงมีดไสยื่นออกมาใหนอยที่
สุดเทาที่ไมเปนอุปสรรคตอการทํางาน จะสามารถชวย
รั บ แรงกระทํ า
ไดมาก ถายื่น
ออกมายาวเกิน
ไปจะเกิ ด การ
สั่ น ส ะ เ ทื อ น
เนื่ อ งจากการ
ดี ด ตั ว ของมี ด
ไส โอกาสที่จะเกิดการแตกราวของมีดไสมีมาก
ระยะชักของแรม(Stroke)
ชวงชัก(Stroke)การไส 1 ชวงชัก ประกอบดวยชวง
ไสเดินหนา(Cutting stroke) และชวงชักกลับ(Return
stroke) ความยาว
ชวงชักอยางนอยที่
สุดตองไมนอยกวา
ความยาวของงาน
โดยทั่ ว ไปจะเผื่ อ
ชวงหนามีดและชวงหลังมีดไวรองรับ โดยชวงหนามีด
10

เผื่อไว 10 มม.หรือ ¼ นิ้ว ชวงหลังมีดเผื่อไว 20 มม.


หรือ ½ นิ้ว ดังนั้น:-
ความยาวชวงชัก = ความยาวหนางานไส + 30 มม.

การที่เผื่อชวงหลังมีดยาวกวาก็เพราะเมื่อมีดไสชัก
กลับคมมีดจะถูกยกลอยเพื่อไมใหครูดกับงาน ชวงหลัง
มีดจึงเผื่อไว
ใ ห มี ด ต ก
ก ลั บ เ ข า สู
ก ล อ ง มี ด
(Clapper)
11

เนื่องจากชวงชักกลับจําเปนตองใหมีดลอยไมครูด
กับผิวงาน ในการไสผิวเอียงหรือการไสผิวแนวดิ่งจะ

ตองเอียงหัวไสเพื่อใหมีดสามารถยกตัวลอยได
มีดไส
ลักษณะจะคลายกับมีดกลึงทั้งวัสดุ และมุมมีดตัด

งาน นั่นคือมี (1.)มุมคาย(Rake angle), (2.)มุมหลบ


(Clearance angle), (3.)มุมคมตัด(Cutting angle)
12

ในลักษณะของมีดไสหยาบ(Roughing)ที่ใชชวงแรก
เพื่ อ เอาเนื้ อ งานออก
มาก จะลับใหมีความ
แข็งแรง มุมคายและ
มุมหลบจะนอยเพื่อให
มุมคมตัดใหญ สวนมีดไสเรียบ(Finishing)จะใชเพื่อให
ผิ ว งานเรี ย บ
จึ ง ตั ด เ นื้ อ
ง า น น อ ย
และคมต อ ง
กวาง โดยจะลับเปนคมตัดตรงหรือคมตัดโคง
ความเร็วตัด(Cutting speed)
ขึ้นอยูกับวัสดุงาน วัสดุมีดตัด โดยทั่วไปวัสดุที่มี
ความแข็งนอยจะใชความเร็วตัดที่สูงกวา นอกจากนี้ยัง
ขึ้นอยูกับ อัตราการปอน(Feed) และการปอนลึก
(Depth of cut) เมื่อใหอัตราการปอนหรือการปอนลึก
มากขึ้น ก็ตองลดความเร็วตัดลง สามารถหาไดจากตา
ราง
13
CONDITION OF MATERIAL
F.C. Free cuting
S Soft
M Medium
H Hard
T Tough
A Alloy

CUTTING MATERIAL Tool


SPEED Material
Rough Finish
m / min
60 Brass S
45 Brass S Mild steel F.C.
Mild steel
30 Mild steel F.C.

HIGH SPEED STEEL


Bronze
Steel M
25 M S Bronze
Cast iron S
Steel M
18 Cast iron M
Cast iron S
Steel T
15 Cast iron M
Cast iron H
Steel T
12 Steel A
Cast iron H
10 Steel A

อั ตราการปอ นไส(Feed) และ


การปอนลึก(Depth of cut)
จะเปนปฏิภาคกลับ คือถา
อัตราการปอนไสมากจะตองใช
การปอนลึกนอย ในทางปฏิบัติ
เราจะใชอัตราการปอนไสนอย
14

และใหการปอนลึกมาก เพื่อใหเศษโลหะบางการมวน

ตัวออกไดงาย และทําใหผิวเรียบดวย

You might also like