You are on page 1of 17

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หนุวยที่
5 อิเล็กทรอนิ กส์
เรื่อง การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิ กส์ อยุางงุาย จำานวน
3 ชัว่ โมง
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่
2 ปี การศึกษา 2552
ผู้สอน นางสาววราภรณ์ โทพิลา โรงเรียนวัด
เขาปิ่ นทอง
...................................................................................................
....................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 5.1
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำารงชีวิต การเปลี่ยน
รู ป พลั ง งาน ปฏิ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสารและพลั ง งาน ผลของการใช้
พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ
จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์

2. ผลการเรียนรูท
้ ่ีคาดหวัง
อธิบายแผงการต่อวงจรตัวต้านทาน วงจรไดโอดเปล่งแสง และ
วงจรทรานซิ ส เตอร์ บอกสัญลักษณ์ตา่ งๆ ทีใ่ ช้ตอ
่ ในวงจรตัวต้านทาน
วงจรไดโอดเปล่งแสง และวงจรทรานซิสเตอร์ และต่อวงจรตัวต้านทาน
วงจรไดโอดเปล่งแสง และวงจรทรานซิสเตอร์ได้

3. จ่ดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบ ายแผงการต่อ วงจรตัว ต้านทาน วงจรไดโอดเปล่ ง แสง
และวงจรทรานซิสเตอร์ได้
2. บอกสัญลักษณ์ตา่ งๆ ทีใ่ ช้ตอ
่ ในวงจรตัวต้านทาน วงจรไดโอด
เปล่งแสง และวงจรทรานซิสเตอร์ได้
3. ต่ อ วงจรตั ว ต้ า นทาน วงจรไดโอดเปล่ ง แสง และวงจร
ทรานซิสเตอร์ได้

4. สาระการเรียนรู้
การต่อวงจรตัวต้านทาน วงจรไดโอดเปล่งแสง และการต่อวงจร
ทรานซิสเตอร์ เป็ นพื้ นฐานที่สำาคัญของวงจรชนิ ดต่างๆ การต่อวงจรตัว
ต้ านทาน และวงจรไดโอดเปล่ ง แสงจะต้ อ งต่ อ แบบอนุ กรม กั บ วงจร
เพื่อควบคุมการไหลและทิศทางของกระแสไฟฟ้ าในวงจรให้มีปริมาณ
มากน้อยตามต้องการ สำาหรับการต่อวงจรทรานซิสเตอร์จะต้องต่อแบบ
อนุ กรม เพื่อเป็ นตัวขยายสัญญาณในวงจร

5. กระบวนการจัดการเรียนรู้
5.1 ขั้นนำาเขูาสุ้บทเรียน
1. ครูและนั กเรียนร่วมกันทบทวนเกี่ยวกับความต้านทาน ได
โอดเปล่ ง แสง และทรานซิ ส เตอร์ พร้ อ มทั้ งประโยชน์ ข องอุ ป กรณ์
อิเล็กทรอนิ กส์
2. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
5.2 ขั้นสอน
1. ครูแสดงแผนภาพการต่อวงจรตัวต้านทาน วงจรไดโอด
เปล่งแสง และวงจรทรานซิสเตอร์ ให้นักเรียนดูและร่วมกันอภิปรายถึง
การต่อแผงวงจร สัญลักษณ์ต่างๆ และชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ท่ี
ใ ช้ แ ท น ว ง จ ร ตั ว ต้ า น ท า น ว ง จ ร ไ ด โ อ ด เ ป ล่ ง แ ส ง แ ล ะ ว ง จ ร
ทรานซิ ส เตอร์ พร้ อ มทั้ ง ให้ นั ก เรีย นศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม จากหนั ง สื อ เรีย น
สาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ม.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่องที่
36 และจากใบความรู้ท่ี 1
2. นั กเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน โดยคละเพศและ
ความสามารถ ครูแจ้งให้นักเรียนทราบว่า ผลงานของนั กเรียนคือผล
งานกลุ่ม
3. นั กเรียนแต่ละกลุ่มรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ แล้วร่วมกัน
อภิปรายเกี่ยวกับแผนภาพอุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ชนิ ดต่างๆ แล้วหาข้อ
สรุปของแต่ละกลุ่ม พร้อมทำาใบงานที่ 1 และใบงานที่ 2
4. ครู ส ุ่ม ตั ว แทนนั กเรี ย นของแต่ ล ะกลุ่ ม ที่ ต่ อ วงจรแล้ ว
สามารถใช้งานได้ดี และต้องปรับปรุงมาอภิปรายหน้าชั้นเรียนว่ามีวิธี
การต่ออย่างไร และให้กำาลังใจกับกลุ่มนั กเรียนที่ยังต้องปรับปรุงแก้ไข
5.3 ขั้นสร่ป
1. ครูและนั กเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการต่อวงจร
อิเล็กทรอนิ กส์ พร้อมทั้งหาแนวทางที่จะนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวัน
แนวสร่ ป การต่อวงจรตัวต้านทาน วงจรไดโอดเปล่งแสง
และวงจรทรานซิสเตอร์เป็ นชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ทเ่ี ป็ นอุปกรณ์พนฐานที
ื้ ่
สำาคัญของวงจรชนิดต่างๆ การต่อวงจรตัวต้านทาน และไดโอดจะต้องต่อ
แบบอนุกรมกับวงจร เพื่อควบคุมการไหลและทิศทางของกระแสไฟฟ้ าใน
วงจรให้มป
ี ริมาณมากน้อยตามต้องการ สำาหรับการต่อวงจรทรานซิสเตอร์
จะต้องต่อแบบอนุกรมกับวงจรเพื่อเป็ นตัวขยายสัญญาณในวงจร
2. นั กเรีย นทำา แบบทดสอบหลั ง เรีย น หน่ ว ยการ
เรียนรู้ที่ 5 เพื่อประเมินผลการเรียน และพัฒนาการในการเรียนรู้
3. ครูเปิ ดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย

6. สื่อ / แหลุงการเรียนรู้
6.1 สื่อการเรียนรู้
1. ใบความรู้ท่ี 1 เรื่อง การเขียนวงจร
อิเล็กทรอนิ กส์
2. ใบงานที่ 1 เรื่อง วงจรอิเล็กทรอนิ กส์
3. ใบงานที่ 2 เรื่อง การออกแบบวงจร
4. แผนภาพการต่อวงจรตัวต้านทาน วงจรไดโอดเปล่ง
แสง และวงจรทรานซิสเตอร์
5. อุปกรณ์ตามใบงานที่ 1 และ 2
6. หนั ง สื อ เรีย นสาระการเรีย นรู้ พื้ นฐานวิ ท ยาศาสตร์
ม.3 หน่วยการเรียนรู้ 5 เรื่อง การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิ กส์อย่าง
ง่าย ของบริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำากัด
6.2 แหลุงการเรียนรู้
-

7. การวัดผลและการประเมินผล
7.1 วิธีการวัดและประเมินผล
7.1.1 ตรวจใบงานที่ 1 เรื่อง วงจรอิเล็กทรอนิ กส์
7.1.2 ตรวจใบงานที่ 2 เรื่อง การออกแบบวงจร
7.1.3 ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
7.2 เครื่องมือวัดและประเมินผล
7.2.1 ใบงานที่ 1 เรื่อง วงจรอิเล็กทรอนิ กส์
7.2.2 ใบงานที่ 2 เรื่อง การออกแบบวงจร
7.2.3 แบบทดสอบหลังเรียน
7.3 เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
7.3.1 ใบงาน นั กเรียนต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
จึงจะถือว่าผ่านเกณฑ์
7.3.2 แบ บ ท ดส อบ ห ลั ง เ รี ย น หน่ ว ย ก าร เ รี ย น รู้ ที่ 5
นั กเรียนต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 จึงจะถือว่าผ่านเกณฑ์

8. บันทึกผลหลังสอน
8.1 ผลการสอน
...........................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
8.2 ปั ญหา / อ่ปสรรค
...........................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
8.3 ขูอเสนอแนะ / แนวทางแกูไข
...........................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................

ลงชื่อ .......................
...........................ผ้ส
ู อน

(..................................................)
วัน
ที่.......เดือน.....................พ.ศ. .............

ใบความรู้ที่ 1
เรื่อง การเขียนวงจรอิเล็กทรอนิ กส์
สัญลักษณ์ทางอิเล็กทรอนิ กส์พื้นฐาน
อุ ป กรณ์ ท างอิ เ ล็ ก ทรอนิ กส์ ท่ี ผ ลิ ต ขึ้ นมาใช้ ง าน มี ห ลายชนิ ด
หลายลักษณะ ตลอดจนหน้าที่ในการทำางานและหน้าที่ในการใช้งาน ก็
แตกต่างกันไป ทำาให้สัญลักษณ์ท่ีใช้เขียนแทนอุปกรณ์แต่ละตัวจึงแตก
ต่างกัน เพื่อที่จะทำา ให้สามารถแยกอุ ปกรณ์แต่ ละชนิ ดออกจากกัน ได้
ถูกต้อง
การเขี ย นสั ญ ลั ก ษณ์ ข องอุ ป กรณ์ ท างอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์
แทนอุ ป กรณ์ จ ริง ช่ ว ยให้ เ กิ ด ความสะดวกในการเขี ย นและการอ่ า น
ดั ง นั้ นการเขี ย นและการใช้ สั ญ ลั ก ษณ์ แ ทนอุ ป กรณ์ จ ริง ของอุ ป กรณ์
อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ จึ ง เป็ นที่ นิ ย มใช้ ง านและใช้ ง านกั น อย่ า งแพร่ ห ลาย
ทัว่ ไป
การเขียนและอ่านวงจรทางอิเล็กทรอนิ กส์ สิ่งสำา คัญเบื้ องต้นคือ
จะต้ อ ง รู้ จั ก คุ ณ ส มบั ติ รู้ ห น้ า ที่ และ เข้ า ใจสั ญ ลั กษณ์ ต่ าง ๆ ท าง
อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ และจะต้ อ งเขี ย นสั ญ ลั ก ษณ์ ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง แต่ เ นื่ องจาก
สัญลักษณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิ กส์มีมากมาย มีความยุ่งยากในการจดจำา
จึ ง ต้ อ งอาศั ย การฝึ กฝน หั ด เขี ย น หั ดอ่ านสั ญ ลั ก ษณ์ ต่า งๆ อยู่ เ สมอ
พร้อมทั้งฝึ กการเขียน การอ่าน ด้วยการทำาแบบฝึ กหัดบ่อยๆ หลายๆ
ครั้ง จะช่วยให้สามารถจำา และอ่านได้ถูกต้อง การเขียนสัญลักษณ์ก็จะ
ต้องมีความระมัดระวัง มีความละเอียดรอบคอบ เพราะถ้าลืมเพียงเล็ก
น้อย เช่นลืมเติมจุดหรือเขียนตำาแหน่งหัวลูกศรผิด มีผลต่อการทำางาน
ของวงจรอิ เล็ กทรอนิ กส์อ ย่ างมาก จนอาจทำา ให้ ว งจรไม่ ทำา งาน หรือ
ทำางานผิดพลาดได้

วิธีเขียนวงจรที่ถ้กตูอง
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์หลายตัวเมื่อนำา มาประกอบกัน จะกลาย
เป็ นวงจรหนึ่ ง อุ ปกรณ์ แต่ ล ะชนิ ด แต่ ล ะแบบ มี ห น้ าที่ ใ นการทำา งาน
แตกต่างกันไป ตลอดจนขาของอุปกรณ์แต่ละขาก็ทำาหน้าที่แตกต่างกัน
ไปเช่ น กั น การเข้ าใจหลั ก ในการทำา งานของอุ ป กรณ์ แ ต่ ล ะตั ว เข้ า ใจ
หน้าที่การทำางานของขาอุปกรณ์แต่ละขา จึงถือได้ว่าเป็ นส่วนสำาคัญ ที่
จ ะ ทำา ใ ห้ ช่ า ง อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ส า ม า ร ถ อ่ า น ทำา ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ว ง จ ร
อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ต่ า งๆ ได้ และสามารถวิ เ คราะห์ ว งจรอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์
ต่างๆ ได้ว่าผิดหรือถูก
ประสบการณ์จากการฝึ กทักษะในการเขียนวงจร การอ่านวงจร
และการประกอบทดลองวงจร จะมีสว่ นช่วยเพิม
่ ประสบการณ์หรือทักษะ
ทางช่างอิเล็กทรอนิกส์ได้มาก ช่วยทำาให้เกิดความค้น
ุ เคย เกิดความเข้าใจ
และความชำา นาญ จนสามารถวิ เ คราะห์ ว งจร ดั ด แปลงวงจร และ
ออกแบบวงจรได้ การฝึ กฝนในการเขีย นวงจรและการอ่านวงจรทาง
อิ เ ล็ ก ทรอ นิ กส จ
์ ึ ง ถื อ ว่ า เ ป็ น สิ่ ง สำา คั ญ ที่ นั กเ รี ย น ที่ เ รี ย น ใ น ส าข า
อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ จ ะต้ อ งเรีย นทุ ก คน ตลอดจนต้ อ งมี ค วามรอบคอบ
ระมัดระวังเอาใจใส่ และหัดสังเกตวงจรต่างๆ จนสามารถแยกแยะวงจร
ที่ถูกต้อง หรือวงจรที่บกพร่องได้
ขูอบกพรุองในการเขียนวงจร
1. เขียนอุปกรณ์ไม่ได้ข นาด แต่ล ะวงจรทีอ
่ อกแบบขึ้นมา จะ
ประกอบด้วยอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์หลายชนิ ด และต่างขนาดกัน ดังนั้น
การเขียนสัญลักษณ์ของอุปกรณ์ จึงเป็ นสิง่ ทีส
่ ำาคัญ
2. รายละเอียดอุปกรณ์ไม่ครบ อุปกรณ์บางชนิ ดมีรายละเอียด
ต่างๆ ที่บอกถึงส่วนประกอบอันแสดงถึงหน้าที่ของส่วนประกอบนั้ น
โดยเฉพาะอุปกรณ์ประเภท ไอซี อุปกรณ์ประเภทที่มีข้ ัว เป็ นต้น
3. บอกตำา แหน่ งอุ ปกรณ์ ไม่ ถูกต้อ ง การบอกตำา แหน่ ง ขาของ
อุปกรณ์ไม่ถูกต้อง เกิดผลต่อการนำา ไปใช้งานในทางปฏิบัติ ทำา ให้ผล
ทางการปฏิ บั ติ ไ ม่ เ ป็ นไปตามต้ อ งการ เกิ ด ความเสี ย หายต่ อ อุ ป กรณ์
นั้ นๆ และอุปกรณ์ท่ีใช้ต่อร่วม
ใบงานที่ 1
วง
จรอิเล็กทรอนิ กส์

จ่ดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายแผงการต่อวงจรตัวต้านทาน วงจรไดโอดเปล่งแสง
และวงจรทรานซิสเตอร์ได้
2. บอกสัญลักษณ์ตา่ งๆ ทีใ่ ช้ตอ
่ ในวงจรตัวต้านทาน วงจรไดโอด
เปล่งแสง และวงจรทรานซิ สเตอร์ ได้
3. ต่อวงจรตัวต้านทาน วงจรไดโอดเปล่งแสง และวงจร
ทรานซิสเตอร์ได้
คำาชี้แจง
ให้นักเรียนศึกษากิจกรรมที่กำาหนด แล้วบันทึกผลการศึกษา

 กิจกรรมที่ 1 การตุอวงจรตัวตูานทานและวงจรไดโอดเปลุง
แสง
อ่ปกรณ์การทดลอง
1. แบตเตอรี่
2. ไดโอดเปล่งแสงสีต่างๆ
3. สายไฟ
4. ตัวต้านทาน
5. อุปกรณ์ท่ีใช้ในการบัดกรี
วิธีทำากิจกรรม
1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มต่อวงจรของไดโอดเปล่งแสง ดังภาพ
ด้านล่าง ทดสอบการทำางาน
2. ให้นักเรียนสังเกตความสว่างของไดโอดเปล่งแสงแต่ละดวง
ที่มีสีแตกต่างกัน แล้วบันทึกผลการทดลอง

สัญลักษณ์การต่อวงจรไดโอด การต่อไดโอดเปล่งแสงในวงจร
เปล่งแสง อิเล็กทรอนิ กส์จะต้องต่อตัว
ตารางบันทึกผลการทดลอง
ชนิ ดของไดโอดเปลุงแสงสีตุางๆ ความสวุางของไดโอดเปลุงแสง
1. สีแดง
2. สีเขียว
3. ขึ้นอยู่กับครูผส
ู้ อน
4. ขึ้นอยู่กับครูผส
ู้ อน
5. ขึ้นอยู่กับครูผส
ู้ อน

 กิจกรรมที่ 2 การตุอวงจรทรานซิสเตอร์
อ่ปกรณ์การทดลอง
1. แบตเตอรี่ ขนาด 6 โวลต์ 2.
หลอดไฟ 2 ดวง
3. ตัวต้านทานขนาด 1,000 โอห์ม
4. ทรานซิสเตอร์
5. อุปกรณ์ท่ีใช้ในการบัดกรี
วิธีทำาการทดลอง
1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาวงจรทรานซิสเตอร์ ดังภาพด้าน
ล่าง แล้วต่อวงจรทรานซิสเตอร์พร้อม ทดสอบการทำางานของวงจร
2. ให้ นั กเรีย นแต่ ล ะกลุ่ ม ร่ ว มกั น อภิ ป รายผลการต่ อ วงจร
ทรานซิสเตอร์ และบันทึกผลการทดลอง ต่อวงจรทรานซิสเตอร์

ทรานซิสเตอร์ 6V L 6V
L 1
2
0.06 A 0.06 A +6V
6V เบส
หลอดไฟดวงที่ คอลเล็ก
แบตเตอรี่
2 1,000
Ω อิมิตเตอร์
หลอดไฟ
ดวงที่ 1 1,000

ส่วนประกอบของวงจรอิเล็กทรอนิ กส์ท่ีมี แผนผังวงจรของ
ทรานซิสเตอร์ ทรานซิสเตอร์

ผลการทดลองตุอวงจรทรานซิสเตอร์
..............................................................................................................
..............................................................................................................
..............................................................................................................
..............................................................................................................
..............................................................................................................
..............................................................................................................
..............................................................................................................
.................................................................
ใบงานที่ 2

ารออกแบบวงจร

จ่ดประสงค์การเรียนรู้
สามารถออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิ กส์อย่างง่ายได้
คำาชี้แจง
ให้นักเรียนปฏิบัติตามคำาแนะนำา
อ่ปกรณ์การทดลอง
1. ไมโครแอมมิเตอร์ 4. ลวดทองแดง 7. หลอด
ไฟฟ้ า
2. แบตเตอรี่ 5. บีกเกอร์ 8. ทรานซิสเตอร์
3. พลาสติก 6. นำ้า 9. ตัวต้านทาน
10. สายไฟ
วิธีทำาการทดลอง
1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 - 5 คน แบตเตอรี่
2. ศึกษาเครื่องตรวจวัดความชื้ น เมื่อต่อกับ
พลาสติก
ไมโครแอมมิเตอร์ บันทึกผล ไมโคร
3. นำาเครื่องตรวจวัดความชื้ นไปแช่ในบีก แอมมิเตอร์

เกอร์ท่ีมีน้ ำา สังเกตเข็มที่ไม
ทองแดง เครื่องตรวจ
โครแอมมิเตอร์ บันทึกผล
ความชื้ น

คำาถามทูายกิจกรรม
1. ในเครื่องไมโครแอมมิเตอร์สามารถวัดกระแสไฟฟ้ าได้
แม้มีปริมาณน้อย นั กเรียนคิดว่าน่าจะเกี่ยวข้องกับชิ้นส่วน
อิเล็กทรอนิ กส์ชนิ ดใด
2. ถ้านั กเรียนจะเปลี่ยนไมโครอิเล็กทรอนิ กส์
เป็ นวงจรอิเล็กทรอนิ กส์โดยมีส่วนประกอบคือ หลอดไฟฟ้ า
ทรานซิสเตอร์ ลวดทองแดง และตัวต้านทาน นั กเรียนจะ
ออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิ กส์น้ ี อย่างไร หมายเหต่
ให้เขียนผัง: วงจรโดย
ไมโครแอมมิเตอร์

ใช้สัญลักษณ์แทนชื่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิสามารถตรวจวั
กส์แต่ละอย่ดาง
กระแสไฟฟ้ าทีม
่ ป
ี ริมาณน้อยขนาด 1 ใน
เฉลยใบงานที่ 1
ประโยชน์ของอิเล็กทรอนิ กส์

 กิจกรรมที่ 1 การตุอวงจรตัวตูานทาน และไดโอดเปลุงแสง


ตารางบันทึกผลการทดลอง
ชนิ ดของไดโอดเปลุงแสงสีตุางๆ ความสวุางของไดโอดเปลุงแสง
1. สีแดง บันทึกตามสภาพความเป็ นจริง
2. สีเขียว บันทึกตามสภาพความเป็ นจริง
3. ขึ้นอยู่กับครูผส
ู้ อน บันทึกตามสภาพความเป็ นจริง
4. ขึ้นอยู่กับครูผส
ู้ อน บันทึกตามสภาพความเป็ นจริง
5. ขึ้นอยู่กับครูผส
ู้ อน บันทึกตามสภาพความเป็ นจริง
การบันทึกผลจะขึ้นอย่ก
ู บ
ั การต่อวงจรของนั กเรียน ครูควรให้คำา
แนะนำาในการต่อวงจรแก่นักเรียน

 กิจกรรมที่ 2 การตุอวงจรทรานซิสเตอร์
ผลการทดลองตุอวงจรทรานซิสเตอร์
ให้ตรวจดูจากสภาพจริงจากการต่อวงจรทรานซิสเตอร์ว่า
สามารถทำางานได้จริงหรือไม่

เฉลยใบงานที่ 2
การออกแบบวงจร
คำาถามทูายกิจกรรม
L2
1. ตอบ ทรานซิสเตอร์ หัววัด
b c + 6V
2. ตอบ

1,000 e

หัวอัดความชื้ น หลอดไฟ

สวิตช์
ทรานซิสเตอร์

You might also like