You are on page 1of 24

อิสลามในสมัยอยุธยา เปนธรรมดาอยูเองเมื่อบรรดามุสลิมไดตั้งรกรากอยูคั้รงกรุงสุโขทัย ก็ยอม

สืบเชื้อสายมาในสมัยอยุธยาดวย เมื่อกรุงศรีอยุธยาถูกเพลิงเผาพินาศคราวเสียกรุงครั้งที่ ๒ แกพมาใน


พ.ศ. ๒๓๑0 (ค.ศ. ๑๗๖๗) เราจึงมีหลักฐานตาง ๆ เหลือนอย ภาพลายรดน้ําบนบานตูใบหนึ่งในพระที่
นั่งศิวโมกขพมิ าน ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติปจจุบนั นี้ ซึ่งเขาใจวาไดเขียนไวในสมัยสมเด็จพระเจา
เสือ แสดงภาพของพระเจาหลุยสที่ ๑๔ และอีกภาพซึ่งเขาใจวาเปนกษัตริยเอารังซีบแหงวงศโมกุล
(Mughal) –อินเดีย-นั้น เปนเรื่องที่นาทึ่ง เพราะรัชกาลของกษัตริยเอารังซีบ เริ่มแต พ.ศ. ๒๒0๑ ถึง
พ.ศ. ๒๒๕0 (ค.ศ. ๑๖๕๘-๑๗0๗) รวมราว ๕0 ป ประสูติเมื่อ ๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๑๖๑
(ค.ศ. ๑๖๑๘) สวนของพระนารายณมหาราชเริ่มแต พ.ศ. ๒๒.. ถึง พ.ศ. ๒๒๓๑ (ค.ศ. ๑๖๕๗ –
๑๖๘๘) รวมเวลา ๓๒ ป และของพระเจาหลุยสที่ ๑๔ นั้น พระองคประสูติเมื่อ พ.ศ. ๒๑๘๑ และ
สวรรคตเมื่อ พ.ศ. ๒๒๕๘ (ค.ศ. ๑๖๓๘ ถึง ๑๗๑๕) จะเห็นไดวารัชสมัยของกษัตริยสามองคนี้ไลเลี่ย
กัน พระเจาหลุยสที่ ๑๔ ไดทรงใหคณะฑูตมาเจริญพระราชไมตรี และเพื่อจะชักชวนใหนับถือศาสนา
คริสตดวย ในระหวางนั้นราชฑูตของพระเจาชาฮฺแหงเปอรเชียก็มาถึง และพํานักอยูในกรุง จนมีขาว
ลือวาจะมาชักชวนพระนารายณมหาราชใหนับถือศาสนาอิสลาม หากภาพนี้มิใชของกษัตริยเอารังซีบ
ก็นาจะเปนของชาอฺสุลัยมานแหงวงศเศาะฟะวี เพราะรัชสมัยตรงกัน พ.ศ. ๒๒๑0 – ๒๒๓๓ ( ค.ศ.
๑๖๖๗ – ๑๖๙๔) และมีการติดตอกับสมเด็จพระนารายณ ฯ ดวย อยางไรก็ดี เปนเรื่องนาทึ่งที่มีภาพ
ลายรดน้ําเชนนั้นบนบานตูห นังสือของหลวง
ความจริงกอนหนานี้ที่คลองบางกอกใหญไดมีมุสลิมตั้งภูมิลําเนาคาขาย อยูบกก็มี อยูแพก็มี
มาแลวเชนกัน ในสมัยนั้นไทยมุสลิมเรียกมัสญิดของตนวากุฎี และบางครั้งก็เพี้ยนเปนกะฎีหรือเขียน
เปนกะดี กลาวกันวาชาวไทยมุสลิมทีค่ ลองบางกอกใหญนั้นมีมากอนสมัยพระเจาทรงธรรม (พ.ศ.
๒๑๕๓ – ๒๑๗๑ ค.ศ. ๑๖๑0 – ๑๖๒๘)๓๕ กระดานจารึกอักษรอฺรับซึ่งถูกไฟไหมตนสนจนบัดนี้นั้น
ก็เปนหลักฐานอีกประการหนึ่ง๓๖
นอกจากตํารับตําราและวรรณกรรมสวนมากถูกเผาหรือสูญหายในระหวางเสียกรุงศรีอยุธยาแลว
หนังสือที่เกีย่ วกับศาสนาอิสลามก็มีนอย เพราะดวยไมมีการพิมพหนังสือแพรหลายประการหนึง่ เจา
บานเจาเมืองไมประสงคที่จะใหอิทธิพลของศาสนสอิสลามเขามามีสวนในราชสํานักประการหนึ่ง เชน
สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงนิพนธเกี่ยวกับนิทานอิหรานราชธรรมวา “มีเคาเงื่อนใน
พงศาวดารวา เมื่อครั้งแผนดินสมเด็จพระนารายณฯใหเขารีตศาสนาอิสลาม เหมือนอยางที่พวกฝรั่งเศส

๓๕. ที่ระลึกงานเปดมัสญิดตนสน วันที่ ๒๕. ๒. ๒๔๖๘ หนา ๑๕


๓๖. ทีร่ ะลึกงานเปดมัสญิดตนสน วันที่ ๒๕. ๒. ๒๔๖๘ หนา ๒๓
พยายามเกลี้ยกลอมจะใหเสด็จเขารีตศาสนาคริสตัง ฑูตเปอรเชียเขามาในครั้งนั้นคงจะพา
ครูบาอาจารยที่ชํานาญศาสนาและราชธรรมทางประเทศเปอรเชียเขามาดวย บางทีจะนําหนังสือเรื่องนี้
เขามา และสมเด็จพระนารายณใหแปลออกเปนภาษาไทยในครั้งนัน้ เหตุดวยหนังสือเรื่องนีว้ าดวย
ราชธรรมเปนพื้น ไมสูเกีย่ วกับศาสนาจึงรักษาไวเปนแบบฉบับสืบมา”๓๗
เมื่อปลายเดือนกันยายนและตนเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕00 (ค.ศ. ๑๙๕๘) กรมศิลปากรไดขุดกรุ
พระปรางคที่วดั ราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งสรางในแผนดินพระเจาสามพระยาคือ
พระบรมราชาธิราชที่ ๒ ผูเสวยราชยเมื่อ พ.ศ. ๑๙๖๑ สวรรคตเมื่อ พ.ศ. ๑๙๗๗ หรือประมาณ ค.ศ.
๑๔๑๘ –๑๔๓๔ อันเปนสมัยตน ๆ ของกรุงศรีอยุธยา ในบรรดาเครื่องสมบัติตาง ๆ ที่ไดพบมีเหรียญ
ทองอยู ๒ อัน มีอักษรอฺรับจารึกไวดานหนึ่งวา สุลฏอนอัล-อฺาดิล และอีกดานหนึ่งวาชัยนุลอฺบิดีน
(Zain-al-Abidin) ไดทรงปกครองประเทศแคชเมียรตั้งแต พ.ศ. ๑๙๖๕ – ๒0๑๗ (ค.ศ. ๑๔๒๒ –
๑๔๗๔) และไดทรงรับการยกยองวา เปนกษัตริยผูสามารถพระองคหนึ่ง๓๙ ตลอดเวลาครองราชย ๕0
ปของยุคทองนั้น พระองคเปนผูทรงอุปถัมภและทรงสนพระทัยในศิลปะ๔0 สมัยนั้นตรงกับสมัยเจา
สามพระยา หรือสมเด็จพรบรมราชาธิราชที่ ๒
ในจดหมายเหตุโบราณมีคําวา “แขกเทศ” ซึ่งเขาใจหมายถึงมุสลิมที่มาจากอินเดีย เปอรเชีย
และอฺรับ ชาวอินเดียเรียกคนตางดาววา ปรฺเดสี (Pardesi) หรือแผลงทางสําเนียงไทยวา ปรเทสี และ
กลายเปนบรเทศ “ตอมามีผูแปลงคํา บรเทศ เปน วรเชษฐ ดังเรียกเพลงดนตรีวา เพลงแขกวรเชษฐ ก็นา
หัวเราะ คงเปนเพราะผูนนั้ ไมรูความของศัพทบรเทศ สังเกตแตเสียงก็แปลงไปเปนวรเชษฐ”๔๑ พวกแขก
เทศเหลานี้ตั้งบานเรือนอยูทางดานตะวันตกของกรุงศรีอยุธยาและยังมีทาน้ําทําเลคาขาย เรียกวา ทากายี
คํานี้เปนศัพทเปอรเชีย คงจะเพีย้ นมาจากคํา อากฺอ (Aqa) ซึ่งแปลวาหัวหนา สวนยี (ตามอักษรเทียบ
เปน ญี) นั้น เดิมเขาเพื่อแสดงคารวะ เชน ครับหรือใตเทา คํานี้ยังเปนนามสกุล อากายี ของพวกเจา
เซ็นตระกูลหนึ่งทุกวันนี้ คําอากาดาน (Aghakhan) ก็เพี้ยนจากศัพทนี้ ในบริเวณมีกุฎีทอง ซึ่งบางครั้ง
ก็เรียกวา โคกแขกบาง โคกกุฎีทองบาง ทานเจาพระยาภาสกรวงศวาเปนสุเหราของเฉกอะหฺมดั ๔๒

๓๗. นิทานอิหรานราชธรรม (คลังวิทยา) หนา ค.


๓๘. จิตรกรรมศิลปวัตถุโบราณในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ
๓๙. Danger in Kashmir p. 11
๔0. Outlines lslamic Culture p.164
๔๑. สาสนสมเด็จ เลม ๒๔ หนา ๘
๔๒. วัฒนธรรมไทย ปที่ ๑ ฉบับที่ ๓ หนา ๒๙
นอกนั้นมีพวกอินโดนีเชียหรือมลายูที่มาจากเกาะมากาซา ไทยเรียกมักกะสัน ตั้งบานเรือนอยูใ กลปาก
คลองตะเคียน

คําวา จุฬาราชมาตรี ซึ่งเปนตําแหนงฝานมุสลิมใหขอปรึกษาดานศาสนาอิสลามแกกรรมการ


ศาสนา กระทรวงศึกษาธิการขณะนี้ ก็มปี ระวัติมาแตครั้งกรุงศรีอยุธยา ในทําเนียบศักดินาของสมเด็จ
พระบรมไตรโลกนาถมีทําเนียบตําแหนงขุนนาง ซึ่งในชั้นหลังเรียกวา “กรมทาขวา” มี”พระจุลาราช
มนตรี” เปนหัวหนาฝายแขก คูกับ “หลวงโชฎึกราชเศรษฐี” หัวหนาฝายจีน๔๓
เมื่อพวกฮอลันดาเขามา คงจะเห็นวาพวกแขกไดวาหลายพวกแลว ก็เลยแยกพวกฮอลันดามา
ไวกับฝายจีนเสียบาง และไดเติมคําวา “ ไดวาวิลันดา” ลงไป พอสันนิษฐานไดวาตัง้ แตสมัยสุโขทัยลง
มาจนถึงสมัยศรีอยุธยา แผนดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พศ. ๒0๓๑ ค.ศ. ๑๔๘๘) จะตองมีพวก
แขก เชน เปอรเชีย หรือ อฺรับ หรือพวกอินเดียเขามาอยูแ ลว ก็เลยแยกพวกฮอลันดามาไวกับฝายจีนเสีย
บาง และไดเติมคําวา “ไดวาวิลันดา” ลงไป พอสันนิษฐานไดวาตั้งแตสมัยสุโขทัยจนมาสมัยศรีอยุธยา
แผนดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. ๒0๓๑ ค.ศ. ๑๔๘๘) จะตองมีพวกแขก เชน เปอรเชีย
หรืออฺรับ หรือพวกอินเดียเขามาอยูแลวจึงมีกลาวถึงพวกนักเทศขันที แลวก็มีตําแหนงจุลาราชมนตรี
ในธรรมเนียบกรมภูษามาลามีชื่อแขกจริง ๆ ปรากฎอยู ๔ คน เปนพวกชางขุนชื่อ นายเวระกู นายคูปา
นายประหมานันตี และนายเอระกะป ถือศักดินาคนละ ๕0 ไร๔๔
ตอจากสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. ๑๙๙๑ – ๒0๓๑ ค.ศ. ๑๔๔๘ – ๑๔๘๘) ลงมา
๕ แผนดิน ถึงแผนดินพระยอดฟา (พ.ศ. ๒0๘๙ – ๒0๙๑ ค.ศ. ๑๕๔๖ – ๑๕๔๘) มีเรื่องยุงเกีย่ วกับ
ขุนวรวงษาธิราช ครั้งนั้นมีขุนนาง ๔ คนคิดกําจัดขุนวรวงษาธิราช คือ ขุนพิเรนทรเทพ ขุนอินทรเทพ
หมื่นราชเสนหา และหลวงศรียศ ชาวบานลานตากฟา แขวงเมืองสุพรรณบุรี ราชชินนาม “หลวงศรี
ยศ” นี้ เทาทีไ่ ดพบในสมัยหลัง ๆ ปรากฎวาเปนตําแหนงขุนนางแขก เชน ในแผนดินพระเอกาทศรถ
(พ.ศ. ๒๑๔๘ – ๒๑๖๓ ค.ศ. ๑๖0๕ – ๑๖๒0) มีพวกฮอลันดาเขามา แลวมีอังกฤษเขามา ในจดหมาย
เหตุฮอลันดามีชื่อ “ออกขุนศรียศ” เปนผูหนึ่งที่มีหนาที่ตดิ ตอกับพวกอังกฤษ๔๕
มาถึงแผนดินพระเพทราชา (พ.ศ. ๒๒๓๑ – ๒๒๔๖ ค.ศ. ๑๖๘๘ – ๑๗0๓) มีเยอรมันชื่อหมอ
แกมปเฟอรเขามา เขียนเลาตอนจะไปหาพระยาพระคลัง (คือโกษาปาน) ก็วา มีขนุ นางชื่อ “ออกพระ
ยาศรียศ) เปนผูนําไป บอกวา ออกพระศรียศเปนขุนนางแขกอินเดีย ถือศาสนาอิสลามเปนหัวหนา

๔๓. เรื่องกฎหมายเมืองไทย หนา ๑๓๕ – ๑๓๖


๔๔. เรือ่ งกฎหมายเมืองไทยหนา ๑๔๕
๔๕. วิทยาสาร ปที่ ๑๔ ฉบับที่ ๔๖ เรื่อง “ภูมิศาสตรวัดโพธิ์”
พวกแขกมัวร แตงตัวเปนแขกมีผาโพกหัว เวลามาติดตอมีขุนนางแขกมาดวย ๒ คน ขุนนางจีนคน
หนึ่ง ขุนนางไทย ๒ คน ตามที่หมอแกมปเฟอรเขียนนี้ แสดงวา เปนพวกกรมทาซึ่งมีหนาที่ติดตอกับ
แขกเมือง ออกพระศรียศอาจจะเปน “ปลัด” หรือ “เจาทา” เพราะในตอนหลังหมอแกมปเฟอรเลาถึง
ตําแหนงขุนนางไดออกชื่อ “พระยาจุลา” อีกคนหนึ่ง๔๖
ขอยอนกลาวถึงตําแหนงพระยาจุลาสมัยสมเด็จพระนารายณ ฯ คือพระยาจุฬาคงมีอํานาจนอย
กวาออกญาพระคลัง ซึ่งเปนเจาเซ็น ในหนังสือ Adventure in Siam in the Seventeenth Century โดย
นาย อี. ดับลิว.ฮัตจินสัน (E.W. Hutchinson) ตีพิมพในนามของ The royal Asiatic Society ที่ลอนดอน
เมื่อ ค.ศ.๑๙๔0 หนาที่ ๒๓๒ มีปรากฎคําแปลจดหมายที่ออกญาวิไชยเยนทร (ก็องสตังค ฟอลค็อน)
เขียนที่เมืองละโว เมื่อวันที่ ๒0 พฤศจิกายน ค.ศ.๑๖๘๖ (พ.ศ. ๒๒๒๙) ถึงบาทหลวงเดอลาแชส
ความวา “ในวันสุดทายของเดือนมกราคมปนี้ขาพเจาในนามของออกญาพระคลังและสงขุนนางคน
หนึ่งซึ่งเวลานัน้ เปนหลวงจุลาและตอมาเปนจุลาไปเมืองปตตาเวียเพื่อเจราเรื่องที่เกิดขึ้นที่เมืองสูรัตและ
เมืองมะลักกา” แสดงวาบุคคลในตําแหนงนี้ หรือ พระจุลา มีบทบาทไมนอยทีเดียว
ในคําใหการของขุนหลวงหาวัด ก็วา มีตาํ แหนง “หลวงศรียศ” อยูในทําเนียบขุนนางแขกเปน
แมกองแขก ดังนี้ หลวงศรียศ ที่มารวมคิดกับขุนพิเรนทรเทพคงจะเปนแขกแทหรือเปนเชื้อแขกเกิดที่
บานลานตากฟา ก็ได แลวมารับราชการในกรุง ราชทินนามแขกมักจะมีคําวา “ศรี” นําหนา เชน ใน
กรมขันที มีพระศรีมโนราช หลวงศรีมโนราช ในกรมทาชั้นหลังมี “หลวงศรีวรขาน” (รองพระจุลา)
ในขุนชางขุนแผน ตอนขุนแผนซื้อมาสีหมอก มีกลอนวา
“จะกลาวถึงหลวงทรงพลกับพันภาณ พระโองการตรัสใชไปตะนาวศรี
ไปตั้งอยูมฤทเปนครึ่งป กับไพรสามสิบสี่ที่ตามไป
ดวยหลวงศรีวรขานไปซื้อมา ถึงเมืองเทศยังชาหามาไม
ตองรออยูจนฤดูลมแลนใบ เรือที่ไปเมืองเทศจึงกลับมา”
ในสมัยที่การคาเจริญรุงเรือง เจาเมืองมะริด (ฝรั่งเรียก Margui) และตะนาวศรีมักเปน “แขก”
เพราะพวกนี้ชาํ นาญการคา หลวงทรงพลนั้นเปน “เจากรมพระอัศวราช” โดยตรงแตที่ใช “หลวงศรีวร
ขาน” ไปซื้อก็เพราะ “หลวงศรีวรขาน” เปนแขกตําแหนง “ศรีวรขาน” ในธรรมเนียบชั้นหลวงเปน
รองพระจุลา แตสูงกวาตําแหนง ศรียศ๔๗

๔๖. วิทยาสาร ปที่ ๑๔ ฉบับที่ ๔๖ เรื่อง “ภูมิศาสตรวัดโพธิ์”


๔๗. วิทยาสาร ปที่ ๑๔ ฉบับที่ ๔๖ เรื่อง “ภูมิศาสตรวัดโพธิ์”
ในสมัยที่มีการคาติดตอกับฝรั่งมาก ปรากฏจากจดหมายเหตุฝรั่งมีชอื่ วา ออกพระ Sinarett
หรือ Synorat บอยอีกคนหนึ่ง คํานี้อาจเปน “ศรีเนาวรัตน” หรือไมก็ตรงกับ “พระศรีเนาวรัช
โชติธิบดินทรธรรมธา” (ลางทีจะเปน “ธร”) ตําแหนงเศรษฐีซาย ถือศักดินา ๓00 ๔๘ ในธรรม
เนียบนัน้ มีชื่อ “พระศรีวิโรจ” กับ “พระศรีธรรมบาล” เปนตําแหนงเศรษฐีขวา แสดงวาเปนคู
ซายขวากัน แตไมมีอะไรบงชัดวา จะแยกออกเปนแขกกับจีนหรือไม เทาที่ไดพบในสมัยหลัง ๆ
เชนในสมัยพระเจาทรงธรรม ฮอลันดาวาพระศรีเนาวรัตนเปนขุนนางเอก มาในสมัยพระนารายณ
ก็วาเปนแขก ฝรั่งวาเปนแขกเปอรเชีย ถือศาสนาอิสลาม เปนผูไดรบั ผูกขาดสินคาเนื้อไมกฤษณา
สงออกทางเมืองตะนาวศรี ไปอินเดีย เปอรเชีย ฯลฯ
วาตามพงศาวดาร ขุนนางแขกที่มีตัวปรากฎเปนเรื่องราวขึ้น เห็นจะเปนหลวงศรียศในสมัย
พระยอดฟานี้เปนคนแรก ตอมาในแผนดินพระมหาจักรพรรดิไดเปนเจาพระยามหาเสนาบดีตอจาก
แผนดินสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ แขกที่เขามาเมืองไทยมีชื่อเสียงปรากฎแนชดั เปนแขกอฺรับชือ่
“เฉกอะหมัด” กับ “มหะหมัดสุอิด” เฉกอะหมัดเปนพี่ มหะหมัดสุอิดเปนนอง เขามาทําการ
คาขายเมื่อ พ.ศ.๒๑๔๕ (ค.ศ.๑๖0๒) ในแผนดินสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พ.ศ.๒๑๓๓ –
๒๑๔๘ (ค.ศ.๑๕๙0 – ๑๖0๕) ตามเรื่องวาไดพาพวกมุสลิมเขามามาก ไดตั้งบานเรือนอยูที่ทากายี
อยูใตวัดสวนหลวงลงมาทางริมแมน้ํา เยือ้ งปากคลองคูจาม๔๙
ในขอนี้ ชัยคอะหฺมัด และ มุหัมมัด สะอีด (ไมใช สุอิด) เปนชาวเปอรเซียไมใชอรฺ ับเพราะ
ทําเลทากายีนนั้ เปนถิ่นฐานของพวกแขกเจาเซ็น ทานผูน ี้เปนตนสกุล “บุนนาค” ความละเอียดมีแจงอยู
ในหนังสือ “เฉกอะหมัด” ฉบับของพระโกมารกุลมนตรี
พระยาจุลาราชมนตรีที่เปนตําแหนงเจากรมทาขวานั้นมีตัวปรากฏมาแตแผนดินสมเด็จ
พระเอกาทศรถ ในพงศาวดารของเราไมคอยพบ แตในหนังสือฝรั่งกลาวถึงบอย เชนเมื่อตอนอังกฤษ
เริ่มเขามา กลาวถึงพระจุลา พรอมทั้งขุนศรียศ๕๐ เมื่อสมเด็จพระเอกาทศรถไดทรงทราบวามีชาว
ยุโรปอีกชาติหนึ่งเขามาเยือนกรุงศรีอยุธยา ก็ทรงโปรดใหออกพระจุลา และขาราชการผูใหญอีกหลาย
ทานออกไปตอนรับเพื่อนําเฝา”๕๑

๔๘. เรื่องกฎหมายเมืองไทย หนา ๑๔๕ – ๑๔๖


๔๙. วิทยาสาร ปที่ ๑๔ ฉบับที่ ๔๖ เรื่อง “ภูมิศาสตรวัดโพธิ์”
๕0. วิทยาสาร ปที่ ๑๔ ฉบับที่ ๔๖ เรื่อง “ภูมิศาสตรวัดโพธิ์”
๕๑. สัมพันธไมตรีระหวางประเทศกับนา นาประเทศ หนา ๓๖๑
ในแผนดินนีเ้ ปนครั้งแรกอีกเชนกันที่ไทยสงทูตไปเจริญพระราชไมตรีกับประเทศฮอลันดา
โดยไดไปถึงเมืองนั้น ในแผนดินพระเจาทรงธรรม ขางฮอลันดาวา มีขุนนางแขก คือพระจุลา กับ
พระศรีเนาวรัตน เปนพวกเขาขางพระศรีศิลปวาควรไดราชสมบัติ ขัดแยงกับพระยาศรีวรวงศ ซึ่งได
เปนพระเจาปราสาททองในภายหลังที่พวกฝรั่งกลาวถึงพระจุลาบอย ก็คงเปนเพราะอยูก รมทา มี
หนาที่ตองติดตอกับชาวตางประเทศทั่วไปในแผนดินสมเด็จพระนารายณฯ
ในปวอก อัฐศก ลุศักราช ๑๐๑๘ (พ.ศ. ๒๑๙๙ ค.ศ. ๑๖๕๖) สมเด็จพระนารายณ ฯ ชิงราช
สมบัติจากพระศรีสุธรรมราชา พระเจาอา ทรงให “มีรายาฝน เมาลา มักเมาะตาดคุมไพรพลไปอยู
ณ ดานศาลาลูกขุน ใหรายาลิลาคุมศรีตวน และแขกชวา แขกจามมาอยูดานหลังพระที่นั่งสรรเพชญ
ปราสาท ใหหลวงเทพวรชุนคุมไพลพลอยูประตูศรีสรรพทวาร ใหพระจุลาพนังคุมไพรพลอยู ณ ทาง
สระแกว”๕๒
ชื่อ มีรายาฝน คงเปน มีรฺญะอฺฟรฺ หรือ มิรฺซาญะอฺฟรฺ –Mirza Ja ‘far สวนชื่อ เมาลา และมัก
เมาะตาดนั้นเดาไมออกวาที่ถกู เปนอะไร
ในหนังสือ “ประชุมพงศาวดารภาคที่ ๓๙” กลาวถึง “มองตัด – Montat” เปนแขกมลายูและ
เปนเจาเมืองตะนาวศรี แตยงั นึกไมออกวา ชื่อที่ถูกตองสะกดอยางไร
ชาวเลียรเดอโชมองตเปนราชทูตฝรั่งเศลมาถึงปากน้ําเมือ่ วันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๒๒๘
(ค.ศ. ๑๖๘๕ ) กลาววา มีขนุ นางไปตอนรับที่เรือรบปากน้ํา ๔ คน มีพระยาพิพฒ ั โกษา พระยาไตร
ภพสิงหนาท เจาเมืองธนบุรี (เปนโปรตุเกศ) พระจุลาราชมนตรี และหลวงโชฏึกราชเศรษฐีในสมัย
พระนารายณฯ เห็นจะมีขุนนางแขกทุกภาษา เชนเปอรเซีย อฺรับ อินเดีย มลายู ชวา จาม พวก
เปอรเซีย อฺรับและอินเดียเปนพอคาสวนมาก คงรับราชการทางพระคลัง เชนตําแหนงพระศรีเนาวรัตน
และทางกรมทา เชนพระจุลาราชมนตรี ขุนราชเศรษฐี หลวงศรีวรขาน หลวงศรียศ ฯลฯ พวกเจา
เมืองที่เปนคาขายสําคัญเชน มะริด ตะนาวศรีในสมัยนั้นก็เปนแขกเปอรเซียหรืออินเดียทางตอนใต
พวกมลายูคงรับราชการทางทหาร เชนตําแหนงพระยาราชวังสัน (หรือบังสัน จาก หะสัน) วาตามที่
ไดเห็นในหนังสือฝรั่ง ขุนนางแขกพวกนี้เปนแขกแท คือแตงตัวเปนแขก๕๓

๕๒. พระราชพงศาวดาร กรุงศรีอยุธยา หนา ๓๖๑


๕๓. วิทยาสาร ปที่ ๑๔ ฉบับที่ ๔๖ เรื่อง “ภูมิศาสตรวัดโพธิ์”
ความเขาใจ ทีว่ า คํา จุลา มาจาก จุเลีย นัน้ นาคลาดเคลื่อน เพราะพวกจุเลียเปนสุนนีเปนสวน
ใหญ ถึงแมที่มีอยูในเมืองไทยขณะนีก้ ไ็ มมีผูใดเปนชีอฺะฮฺ แตจุลานั้นเปนพวกเจาเซ็นหรือชีอฺะฮฺ
กระนั้นก็ตาม มีทางสันนิษฐานไดวา จุลา คงสืบเคามาจากภาษาเปอรเซียโดยตรงดังตอไปนี้
ในภาษาเปอรเซียมี จัลละฮฺ อานตามสําเนียงชาวกรุงเตะฮฺราน (เตหะราน) วาเจ็ลเละฮฺ
แปลวา
๑. ระยะสี่สิบวันแรกนับแตวัน Solstice คือวันที่ดวงตะวันอยูไกลที่สุดจากเสนศูนยสูตร ป
หนึ่งมี ๒ วัน คือราววันที่ ๒๑ มิถุนายนในฤดูรอน และ ๒๑ ธันวาคมในฤดูหนาว
๒. ระยะอยูไ ฟ ๔๐ วันแรกนับแตหลังคลอด
๓. ระยะ ๔๐ วันที่จําสมาธิ หรืออยูโดยเดี่ยวปลีกจากความกังวลจากผูคน
๔. สายธนู
๕. ริมผาที่ไดทอไวใหผาผืนอยูตวั ไมปริริม เรียกวา Selvage
๖. คนอวนเตี้ย
๗. จัลละฮฺ (เจ็ลเละฮฺ) นะชีน ผูประพฤติหรือปฏิบัติพิธีกรรมตามขอ ๒ และ ๓
เพราะฉะนั้น คํา จุลา จุฬา อันเปนที่มาของจุฬาราชมนตรี อาจเนื่องจากความหมายตามขอ ๓
๖ หรือ ๗ ก็ได อยางไรก็ดี คํานี้ไมไดแผลงจากคนเชื้อชาติ จุเลีย แนนอน
ขอสันนิษฐานอีกคําหนึ่งนาจะมาจากมุลลา ซึ่งหมายถึงผูนําทางศาสนา อันเปน
ตําแหนงหัวหนาแขกแตแรกเริ่ม แลวมาเรียกเพีย้ นเปน จุลา, จุฬา ก็ได
สิ้นสมัยพระนารายณฯ เปนแผนดินพระเพทราชา ทางไมตรีกบั ฝรั่งตางประเทศ
ขาดกันการคากับตางประเทศก็เปนอันยุตลิ ง ขุนนางแขกแท ก็คงเริม่ รอยหรอ เมื่อขึ้นแผนดินใหมมี
ชื่อ “พระยาหุเซงขาน” อยูคนหนึ่ง ที่พงศาวดารวาหายหนาไปตอนเกิดวุนวายแลวมาเฝาพระเพทราชา
และคงรับราชการตอไป๕๔ ทานผูนี้นาเปนแขกเปอรเซียหรือไมกแ็ ขกอินเดีย คือ หุสัยนคาน ตั้งแต
สิ้นแผนดินพระเพทราชาแลว มาอีกหลายแผนดิน ก็ไมพบชื่อและเรื่องราวขุนนาง
แขกในพงศาวดารอีกเลย จนถึงแผนดินพระบรมโกศ (พ.ศ. ๒๒๗๕-๒๓๐๑ ค.ศ. ๑๗๓๒-
๑๗๕๘) จึงปรากฏวา สกุลเฉกะอิหฺมัดไดเปนที่ “พระเจาพระยาเพชรพิชัย (ใจ)” และมีบุตรไดเปน
พระยาวิชติ ณรงค ราชทินนามนี้เปนตําแหนงเจากรมเขนทองซาย กรมอาสาหกเหลา ตอมาพระยา
วิชิตณรงคไดเปนพระยาจุลาราชมนตรี และตอนนี้เห็นจะโปรดตั้งใหเปน “หัวหนาแขก” ทั่วไป๕๕

๕๔. พระราชพงศาวดาร กรุงศรีอยุธยา หนา ๔๘๗ - ๔๘๘


๕๕. วิทยาสาร ปที่ ๑๔ ฉบับที่ ๔๖ เรื่อง “ภูมิศาสตรวัดโพธิ์”
ในพระราชพงศาวดารมีวา ตอนหนึ่ง พระเจาอยูหวั บรมโกศทรงประชวร เมือ่ หายแลวจึง
เสด็จไปพระพุทธบาท ขาทูลละอองธุลีพระบาทตางปติยนิ ดีที่พระเจาอยูหวั ทรงหายประชวรและตางก็
อยากตามเสด็จ แตพระยาเพชรพิชัย (ใจ) ไมมีชื่ออยูในจํานวนที่โปรดใหตามเสด็จจึงกราบบังคมทูล
พระกรุณาขอพระราชทานตามเสด็จดวย พระเจาอยูห วั มีพระราชดํารัสวา พระยาเพชรพิชัยเปนแขก
ไมควรไปนมัสการพระพุทธบาท แตถา ทิ้งเพศแขกมาเขารีตไทย จึงจะใหตามเสด็จ พระยาเพชรพิชัยก็
ยอมรับศีลเปนพุทธศาสนิกตอสมเด็จพระสังฆราชตอหนาพระที่นั่งผูสืบสกุลของเฉกอะหฺมัด ก็มาเปน
พุทธศาสนิกดวยประการฉะนี้เปนเหตุหนึ่ง๕๖
ในตําราแบบธรรมเนียมราชสํานักสมัยพระเจาบรมโกศ มีกลาวถึงการรักษาพระนครเวลาเสด็จไมอยู
ตอนหนึ่งวา “ขุนโกชาอิศหาก ขุนราชเศรษฐี อําเภอแขก (รักษา) แตตะพานประตูจีนถึงวัดนางมุก
เลี้ยวลงไปถึงประตูใตกาญี” ราชทินนามโกชาอิศหากนี้ไมมีในทําเนียบโบราณอาจจะตั้งใหมในสมัย
พระนารายณ ฯ ที่มแี ขกเขารับราชการมาก ในประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๒ เรื่องตั้งเจาพระยา
นครศรีธรรมราชในสมัยพระเจาบรมโกศ มีออกชื่อ “โกชาอิศหากกรมพระคลัง” และตําแหนงนีม้ ีสืบ
มาถึงสมัยรัตนโกสินทร สวน “ขุนราชเศรษฐี” เปนตําแหนงเกามีในทําเนียบพระบรมไตรนาถเปน
ปลัดกรม กรมทาขวา พอคาฝรั่งที่เขามาเคยออกชื่อขุนราชเศรษฐี อยูในพวกที่เอาของกํานัลไปใหคน
หนึ่ง คงจะเปนคนสําคัญ เพราะเปนปลัดกรม ที่กําหนดเอาแขวง “กาญี” เปนเขตดูแลรักษา คงจะ
เปนเพราะหมูบ านของสกุลเฉกอะหฺมดั
ถึงแผนดินพระเจาเอกทัศ (พ.ศ. ๒๓๐๑-๒๓๑๐ ค.ศ. ๑๗๕๘-๑๗๖๗) พมายกมาตีเมืองมะริด
และตะนาวศรี “จึงดํารัสใหพระยาพิไชยสงคราม นามชื่อ พระพระปลัดชู พระจุลา หลวงศรียศ หลวง
ราชพิมล ขุนศรีวรคันธ หาคนคุมพลหาพันออกไปตานทานขางมะริดกอน”๕๗ ตามนี้มีชื่อขุนนางแขก
กรมทาถึง 3 คน คือ พระจุลา หลวงศรียศ และขุนศรีวรคันธ หรืออีกนัยหนึ่งศรีวรขาน
ถึงสมัยธนบุรี สมเด็จพระตากสินมหาราช มีขุนนางแขกหลายคน วาโดยเฉพาะที่สืบสกุล
เฉก (ชัยค) อะหฺมดั ครั้งกรุงศรีอยุธยาก็มีหลวงศรีเนาวรัตน (แกว) ทานผูนี้เปนบุตรพระยาจุลาราช
มนตรี (วิชิตณรงค) สมัยพระเจาบรมโกศถึงสมัยรัตนโกสินทร ไดเปนพระยาจุลาราชมนตรี
ในรัชกาลที่ ๑ ทานผูนี้ไดรบั ทูตโปรตุเกศ คือองตนวีเสนที่เขามาเมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๙ ( ค.ศ. ๑๗๖๑)
โดยคอยตอนรับที่ศาลาลูกขุนฝายขวา ในพระบรมมหาราชวัง ทูตที่เปนแขกเมืองเขาพระราชวัง ก็ได
พบพระยาจุลาราชมนตรี (แกว) นี้ ที่รับราชการไดบรรดาศักดิ์แลวมีราชทินนามเปน

๕๕. ๕๖. ตนตระกูลขุนนางไทย หนา ๒๕๓


๕๗. พระราชพงศาวดาร กรุงศรีอยุธยา หนา ๖๓๖
พระยาจุลาราชมนตรีบาง หลวงราชเศรษฐีบาง หลวงศรีเนาวรัตนบา ง หลวงศรีวรขานบาง พระศรียศ
บาง ลวนแตราชทินนามขุนนางแขกดังกลาวมาแลวทั้งสิ้น ตอมาปจจุบันเราเปลี่ยนเขียนจุลา เปน
จุฬา
เมื่ออยุธยาเสียกรุงแลว ระหวางที่พระเจาตากสินมหาราชทรงกําลังรวบรวมผูคนปราบปราม
กกตาง ๆ และขับไลพมาขาศึกอยูนนั้ มีประกาศตอนหนึ่งเนื่องจากเหตุผันผวนตอนที่บานเมืองระส่ํา
ระสาย ประกอบทั้งการถือในบางเรื่องของพวกบาทหลวงที่เผยแผศาสนาอยูเวลานั้น มีปรากฏใน
ประชุมพงศาวดารภาคที่ ๓๙ ดังนี้
“ประกาศของไทยลงวันที่ ๑๓ เดือนตุลาคม ค.ศ. ๑๗๗๔ (พ.ศ. ๒๓๑๗)
หามมิใหไทยและมอญเขารีตและนับถือศาสนาพระมะหะหมัด
มองเซนเยอร เลอบอง เปนผูแปล
“ดวยพวกเขารีตและพวกถือศาสนามะหะหมัด เปนคนที่อยูนอก
พระพุทธศาสนา เปนคนที่ไมมีกฎหมาย และไมประพฤติตามพระพุทธวจนะ ถาพวกไทยซึ่งเปนคน
พื้นเมืองนี้ตั้งแตกาํ เนิดไมนับถือและไมประพฤติตามพระพุทธศาสนาถึงกับลืมชาติกําเนิดตัว ถาไทยไป
ประพฤติและปฏิบัติตามลัทธิของพวกเขารีตและพระมะหะหมัด ก็จะตกอยูในฐานความผิดอยางราย
อาจ เพราะฉะนั้น เปนอันเห็นไดเที่ยงแทวา ถาคนจําพวกนี้ตายไป ก็ตองตกนรกอเวจี ถาจะปลอย
ใหพวกนี้ทําตามชอบใจ ถาไมเหนีย่ วรั้งไว ถาไมหามไวแลว พวกนี้ก็จะทําใหวนุ ขึ้นทีละนอยโดยไม
รูตวั จนที่สุดพระพุทธศาสนาก็เสื่อมทรามลงไป

“เพราะเหตุฉะนี้ จึงหามขาด มิใหไทยและมอญ ไมวาผูชายหรือผูหญิงเด็กหรือผูใหญไดเขา


ไปในพิธีของพวกมะหะหมัดหรือพวกเขารีต ถาผูใดมีใจดื้อแข็ง เจตนาไมดีมืดมัวไปดวยกิเลสตาง ๆ
จะฝาฝนตอประกาศอันนี้ ขืนไปเขาในพิธีของพวกมะหะหมัดและพวกขารีตแมแตอยางใดอยางหนึ่ง
แลว ใหเปนหนาที่ของสังฆราชหรือบาทหลวงมิชชันนารีหรือบุคคลที่เปนคริสเตียนหรือมะหะหมัด
จะตองคอยหามปรามมิใหคนเหลานั้นไดเขาไปในพิธีของพวกคริสเตียนหรือมะหะหมัดใหเจาพนักงาน
จับกุมคนไทยและมอญที่ไปเขาพิธีเขารีตและมะหะหมัดดังวามานี้สงใหผูพิพากษาชําระและใหผู
พิพากษาวางโทษถึงประหารชีวิต ถาแมสังฆราชก็ดีมิชชันนารีคนใดก็ดี หรือคนเขารีตและพวก
มะหะหมัดคนใดก็ดี ไมเกรงกลัวตอประกาศพระราชโองการนี้ ขืนชักชวนคนไทยหรือมอญไมวา
ผูชายหรือผูหญิง เด็กหรือผูใหญใหเขาไปพิธีของพวกเขารีตและพวกมะหะหมัดแมแตพิธีใด ๆ ก็ตาม
ก็ใหเจาพนักงานจับกุมสังฆราช หรือบาทหลวงมิชชันนารีหรือบุคคลที่เขารีต หรือเปนมะหะหมัดนั้น
ๆ ไว และใหวางโทษถึงประหารชีวิต ใหเจาพนักงานจับกุมคนไทยหรือมอญซึ่งไดไปเขาพิธีของ
พวกเขารีตและพวกมะหะหมัดนั้น วางโทษถึงประหารชีวิตเหมือนกัน
“ประกาศพระราชโองการนี้ ไดสั่งใหไวแกลาม หรือใหไปปฏิบัติตามพระราช
โองการนี้จงทุกประการ
ประกาศมา ณ วันอาทิตย ขึ้น ๑๑ ค่าํ เดือน ๑๑ ปมะเมีย ฉศก (ตรงกับวันที่
๑๓ เดือนตุลาคม ค.ศ. ๑๗๗๔ พ.ศ. ๒๓๑๗)”๕๘
จดหมายของเซนเยอรเลอบองถึงผูอํานวยการตางประเทศฝายคริสต ลงวันที่ ๒๖ เดือน
มีนาคม ค.ศ. ๑๗๗๕ (พ.ศ. ๒๓๑๗) อธิบายสาเหตุของประกาศนี้ความวา สองสามวันกอนนี้พระเจา
ตากสินไดรับสั่งใหพระสงฆไทย พวกบาทหลวงกับพวกมุสลิมมาโตเถียงกันในเรื่องศาสนา ฝายไทย
ถือวาการฆาสัตวนั้นบาป แตฝายคริสตและมุสลิมวาไมบาป พระเจาตากสินประทับอยูดวยเมื่อทางอีก
ฝายหนึ่งวาไมบาป ก็ไมพอพระทัย รุงขึ้นจึงไดออกประกาศพระราชโองการนี้๕๙
ยังมีแขกอีกพวกหนึ่ง ซึ่งปรากฏในมณเฑียรบาลของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเจาวา
“อาษาจาม” มีพระราชวังสัน เปนจางวางอาษาจามซายขวา ถือศักดินา ๒๐๐๐ หลวงวิสุทธรยา
ปลัดจางวางซายขวา ถือศักดินา ๘๐๐ หลวงสรรเสนี เจากรมอาษาจามขวา ถือศักดินา ๑๖๐๐ และ
มีขุนพรเสนี พลวงรักษามาณ ขุนวิสุทธสงคราม๖๐ เกี่ยวกับเรื่องแขกอาษาจามมีปรากฏใน
พระนิพนธของสมเด็จกรมพระดํารงราชานุภาพวา :-
“เมืองเขมร หรืออีกนาม ๑ วา กรุงกัมพูชา เดิมเปนเมืองขอมหลวง มีอํานาจมากและ
อาณาเขตกวางขวางในสมัยโบราณ แตอาํ นาจลดนอยถอยลงโดยลําดับมา จนเมื่อไทยมาตั้งเปนใหญ
ไดในลุมแมนา้ํ เจาพระยา ขยายอาณาเขตรุกแดนกัมพูชาลงไปจากขางเหนือทาง ๑ แวนแควนกัมพูชา
ซึ่งอยูทางริมทะเล ตั้งแตปากน้ําโขงไปทางตะวันออก ก็เกิดเปนประเทศอิสระขึ้นอีกประเทศ ๑
เรียกวา จัมปาประเทศ ตามตํานานที่พึงจะรูได ไพรพลเมืองจัมปานี้ปะปนกันหลายชาติ เปนพวก
ขอมเดิมบาง เชื้อสายอินเดียที่มาอยูในเมืองขอมบาง พวกมลายูขามทะเลมาอยูบาง ลงปลายเมื่อการ
สั่งสอนศาสนาอิสลามแพรหลายมาทางประเทศเหลานี้ ชาวเมืองจัมปาโดยมากเขารีตถือศาสนาอิสลาม
บุคคลที่เราเรียกวาแขกจาม ก็คือเมืองจัมปานี้เอง เมืองจัมปายังเปนอิสระมาจนในสมัยเมื่อสมเด็จ
พระเจาทรงธรรมครองกรุงศรีอยุธยา ดวยไดพบในหนังสือจดหมายเหตุที่ฝรั่งแตงไววา มีราชทูตจัม
ปาเขามากรุงศรีอยุธยาในครัง้ นั้น”๖๑

๕๘. ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๓๙ หนา ๘๙ - ๙๑


๕๙. ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๓๙ หนา ๑๑๙
๖๐. เรื่องกฎหมายเมืองไทย หนา ๑๙๒
๖๑. พระราชพงศาวดาร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๒ หนา ๔๐๔ - ๔๐๕
สรุปความที่กลาวแลวแตตน ภาษาหรือชาติที่เราเรียกวา “แขก” คือพวกที่นับถือศาสนา
อิสลามนั้น ไดมีความสัมพันธกับชาวไทยมาอยางนอยก็นับแตสมัยสุโขทัย จะเปนแขกเปอรเชีย อฺรับ
หรืออินเดียก็ตาม พิจารณาเรือ่ งเสื้อผา การใชเครื่องหอม ชื่อภาชนะตาง ๆ ซึ่งสวนใหญมาจาก
เปอรเชีย หรือที่เปอรเชียไดจากภาษาอฺรับ ยิ่งเนนหลักฐานเพิ่มขึ้นวา ประเทศไทยเราได
สัมพันธไมตรีกับพวกนี้มาชานาน และลูกหลายของพวก “แขก” ก็ไดกลายเปนสวนหนึ่งของพล
เมืองไทย เปนคนไทย สืบเชื้อสายกันมาหลายรอยป
ที่นํามาอางตอไปนี้ เปนสวนหนึ่งจากหนังสือหลายเลม ที่ระบุความสัมพันธของมุสลิมกับ
ชาวไทย คุณสันต ท. โกมลบุตร ไดแปล Histore Naturelle et Politique du Royaume de Siam ให
ชื่อเรื่องวา “ประวัติศาสตรธรรมชาติและการเมืองแหงราชอาณาจักรสยาม” ซึ่งบาทหลวงนิโกลาส
แชรแวส (Nicolas Gervaise) แตงและพิมพจําหนายทีก่ รุงปารีส เมือ่ ๑๓ กุมภาพันธ ค.ศ. ๑๖๘๘
(พ.ศ. ๒๒๓๑) เกี่ยวกับเรื่องราวในแผนดินสมเด็จพระนารายณมหาราช นําลงในวารสาร “สามทหาร”
มีขอความบางตอนวา
“พระองคทรงอนุญาตใหทุกคนอยูกินตามถนัด ใหสรางโบสถและปฏิบัติศาสนกิจตาม
แบบอยางในประเทศของตนไดอยางเปดเผย ขออยาใหเปนการทําลายความสงบสุขของแผนดินก็แลว
กัน ยิ่งกวานัน้ พระองคยงั อนุญาตใหพสกนิกรของพระองคเลือกนับถือลัทธิศาสนาที่ตนเห็นวาเปนที่
พอใจยิง่ กวาไดตามใจชอบโดยมิตองกลัวเกรงวาจะไดรบั โทษทัณฑหรือการกลั่นแกลงประการใด
ดวยเหตุนี้ภายในไมชาจึงมีชนชาติจากภาคพื้นภูมิประเทศเขามาตั้งสํานักหลักแหลงในราชอาณาจักร
สยามเปนอันมาก พวกทีใ่ ครจะประกาศลัทธิศาสนาหรือโนมนาวบุคคลใหเชื่อถือลัทธิศาสนาของตน
ก็เขาตั้งถิ่นฐานอยูไมนอยไปกวาพวกที่ตงั้ หนามาแสวงหาความมั่งมีศรีสุขพวกนับถือคริสตศาสนา
พวกนับถือศาสนาพระมะหะหมัด และพวกนับถือเทวรูป ก็สงพระสอนศาสนาของตนเขามาใหม
หรือมาเสริมกําลังพวกที่ตั้งอยูกอนแลว.....”
นับเปนเวลาหลายปมาแลวทีล่ ัทธิศาสนามิจฉาทิฐิของพระมะหะหมัดไดฝงรากอยางลึกซึ้งใน
กรุงสยาม จนเกรงกันมากวาจะกลายเปนศาสนาประจําชาติไปเสียแลว ในชั้นแรกพระเจาแผนดิน
สยามก็โปรดสนับสนุนอยูม าก และทรงพระราชทานทรัพยอันจําเปนชวยใหจัดงานฉลองทางศาสนา
ตามลัทธินิยมของพระมะหะหมัดไดอยางสมเกียรติ สุเหราของพวกนี้งดงามมาก ดําเนินการเทศนาและ
สวดมนตไดอยางเสรี และโดยสม่ําเสมอไดเทาในประเทศที่ชนชาตินี้ปกครองอยูเหมือนกัน ทุก ๆ
ปพวกเขาจะจัดขบวนแหไปตามบานนอกและในเมือง มีผูคนเขาขบวนติดตามไปเปนอันมาก ความ
มโหฬารและความแปลกของการแหแหนจูงคนใหมาชมจากทุกทิศ และตามจริงแลว พิธีเชนมี
ลักษณะภายนอกอันชวนดูอยูมากทีเดียว และสามารถที่จะจูงใจชนชาวสยามซึ่งนิยมการฉลองสมโภช
และความโออา ไดมาก....”
“ชาวมลายูซึ่งเปนสวนใหญของประชากรมักนับถือศาสนาอิสลาม แมคนเชนนีจ้ ะเขาสนับ
เชนเดียวกับชาวมัวร แตก็มพี ิธีการที่แตกตางกันอยูแ มจะนับถือศาสนาเดียวกันก็จริงแล แตมิไดมกี าร
ติดตอสังคมกันเลย การแตกแยกดังนี้ก็เพราะพวกเขาไดศึกษาลัทธินี้มาจากสานุศิษยองคอื่นของ
พระมะหะหมัดนั่นเอง”๖๒

“ฝายพระเจาจักรพรรดิ์แหงมะหงนกับพระจักรพรรดิ์โซฟผูยิ่งใหญนั้น มิไดทรงปฏิบัติเชนนั้น
ตอพระเจากรุงสยาม ดวยตางฝายตางแสดงถอยทีถอยอาศัยเพื่อธํารงไวซึ่งไมตรีจิตและมิตรภาพแหง
กันและกันตลอดมา ในป ค.ศ. ๑๖๘๕ พระเจากรุงสยามยังไดทรงจัดคณะทูตานุทูตไปเปนการตอบ
แทนที่ฝายโนนไดจดั สงมาเมื่อสามหรือสี่ปกอนนี้ และในบรรดาเครื่องของขวัญบรรณาการนัน้ มีมา
งามจากเปอรเชียถึงสิบสองตัว ประดับดวยอัศวาภรณอนั งามวิจิตรเทาที่จะหาไดจากในทวีปยุโรป”๖๓

ในปลายรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ ฯ ปรากฏวา มุสลิมบางหมูกระดางกระเดือ่ ง ซึ่ง


ปรากฎตามบันทึกของบาทหลวงผูนั้น ดังคําแปลตอไปนี้จากฉบับภาษาอังกฤษซึง่ นายเฮอรเบอรทได
แปลจากฉบับของบาทหลวงนิโกลาส แชรแวส

“แตพระกรุณาซึ่งนาจะนอมนําใจพวกนี้ใหปฏิบัติหนาที่โดยสุจริตตอพระเจากรุงสยามกลับทํา
ใหพวกนี้เกิดคิดที่จะทรยศตอพระองค พวกเขานึกวาตนเองมีอํานาจเพียงใด และไดรับการ
โปรดปรานจากพระเจากรุงสยามมาก เพราะฉะนั้นจึงเชื่อวาพวกเขาสามารถทําการทั้งปวงไดโดยไม
ตองหวาดหวัน่ เปนตนวายื้อแยงตําแหนงขุนนาง ปลนบานเรือนเสีย และเชื่อวาในเวลาไมชานักจะ
เขายึดทองพระคลังและกุมองคพระเจาอยูห ัวเสียดวย หากพระองคปฏิเสธไมยอมนับถือศาสนาอิสลาม
นายก็องสตังซผูมีความฉลาดเฉลียวเปนทีห่ วั่นเกรงแกศัตรูของแผนดินไดสืบรูแผนการจึงไดนําความ
ขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณา และทูลเกลาถวายความคิดที่จะทําลายบุคคลเหลารายเหลานี้มิใหเอิกเกริก
และโดยลับ ซึ่งพวกเขาไดทําการเนรคุณตอน้ําพระทัยอันอารีของพระเจากรุงสยาม ในที่สุดพระเจา
แผนดินก็ทรงตกลงใหจดั การได พระองคทรงเริ่มจัดการใหพวกมันออนกําลังโดยทรงคุมขังหัวหนา
พวกที่คดิ อุบายนี้ และทรงทําใหพวกมันอัปยศโดยทรงปลดออกจากตําแหนงที่ไดทรงพระกรุณา
ประทานแกพวกมัน และทรงปฏิเสธการชวยเหลือแกบุคคลอื่นซึ่งตองการพระกรุณาของพระองคเพื่อ
การคงอยู กระนั้นก็ดี พวกนี้ยังเปนภัยคุกคามเนื่องดวยมีจํานวนมากอยูในประเทศ และเนื่องดวยการ

๖๒. สามทหาร ปที่ ๒ เลม ๒ หนา ๒๘-๒๙


๖๓. สามทหาร ปที่ ๒ เลม ๘ หนา ๓๓
สนับสนุนที่พวกเขาสามารถเอาไดจากจักรพรรดิ์แหงโมกุลและกษัตริยแหงก็อลคอนดา แมกระนั้น ก็
ยังนากลัวอีกวาแกรนตโซฟจะชวยเหลือพวกนี้โดยที่นับถือศาสนาเดียวกัน หากพระองคมิทรงอยูไกล
สยามถึงเพียงนี้ เพราะเมื่อไมนานมานี้ พระองคทรงสงราชทูตมายังกรุงสยามเพื่อชักชวนพระเจา
แผนดินใหนับถือศาสนาอิสลาม”๖๔
“ชาวสยามไดทําสงครามกับชาวอังวะมาชานาน โดยยึดไดเมืองตะนาวและมณฑล
เตนนัสเซริม ซึ่งปจจุบันเปนเมืองที่ดีที่สดุ ในอาณาจักรสยาม ยังมิไดสถาปนาสันติภาพตอกัน แต
นับแตพระเจากรุงพะโคยึดเมืองอังวะไวไดก็มิไดมกี ารสงครามกันอีก และตางอยูดวยความพอใจตาม
สวนที่ตนยึดไวได.... ถาเหตุการณตอไปดําเนินเชนทีเ่ กิดขึ้นโดยดีเชนนี้ เหตุการณจะคืบหนาตอไป
ไกลกวาทีเ่ ราจะคาดได เพราะถาชาวอินเดียมุสลิมเปนทหารที่เลวในการรบบนบก ก็ยิ่งเลวกวาในการ
รบทางเรือ เพียงแตเสียงปนนัดเดียวก็จะทําใหพวกเขาวิ่งอาวลงทองเรือ แตพอขึ้นบกไดก็หนีเอาตัว
รอดแตโอกาสแรกทีเดียว”๖๕
แกรนดโซฟทกี่ ลาวนี้ นายเฮอรเบอรทผูแปลไดใหขออธิบายวา “คือชาฮฺแหงเปอรเชียอยางที่
เรียกวาสุลฏอนแหงตุรกฺ ีวา แกรนดเตอรก และกษัตริยแหงเดลฮีวา จักรพรรดิ์โมกุล คํานี้จากศูฟ ซึ่ง
เปนชื่อวงศที่ปกครองเปอรเชีย ตั้งแต ค.ศ. ๑๔๔๙- ๑๗๓๖ องคแรกทรงพระนามวาอิสมาอีล ผูอ าง
วาไดสบื สกุลมาจาก ชัยคศฟุ อุดดีน ผูอยูใ นลัทธิศูฟ หรือผูเครงในสมาธิทางปรัชญา”๖๖ เรื่องนี้
นาจะเขาใจคลาดเคลื่อนดังขออธิบายตอไปนี้
ในเปอรเชียไมมีวงศศูฟ ซึ่งเปนวิถีแหงความเชื่อมั่นแบบหนึ่ง เพือ่ การขัดเกลาจิตใจที่พวก
มุสลิมคิดขึ้นหลังจากไดคบคาศาสนิกทางพราหมณ พุทธ และกรีซ แตมีวงศเศาะฟะวี หากมาเขาใจ
เพี้ยนไปเปนศูฟ และฝรั่งเขียนเปนโซฟ ผูตั้งวงศทรงพระนามวาอิสมาอีล เมื่อ พ.ศ. ๒๐๔๕ (ค.ศ.
๑๕๐๒) โดยสืบเชื้อสายจาก ชัยค เศาะฟอุดดีน (ไทยเราเขียน ชัยค เปน เชค หรือ เฉก) ทานผูนี้
มั่นคงในศาสนามาก ตอมากษัตริยองคที่ ๖ ในวงศนี้ทรงพระนามวาเศาะฟที่ ๑ (พ.ศ. ๒๑๗๒ -
๒๑๘๕ ค.ศ. ๑๖๒๙ – ๑๖๔๒) ประกาศใหลัทธิชีอฺะฮฺเปนหลักศรัทธาประจําชาติของเปอรเชีย
โดยเฉพาะสาขาที่นับถืออิมาม ๑๒ องค (พวกเจาเซ็นในเมืองไทยอยูในสาขานี้) พวกชีอะฺ ฮฺที่มา
เมืองไทยจากเปอรเชียสวนมากอยูในสมัยของเศาะฟะวี วงศนี้ปกครองถึง พ. ศ. ๒๒๗๘ (ค.ศ.
๑๗๓๖) แลวก็เสียแกตุรฺกี

๖๔. O’Neill’s translation of Nicolas Gervaise’s p. 132


๖๕. O’Neill’s translation of Nicolas Gervaise’s p. 133
๖๖. O’Neill’s note on the translation of N.Gervaise’s p.140
จักรพรรดิ์โมกุลที่กลาวถึงนี้ ตรงกับรัชสมัยของกษัตริยเอารังซีบ พระองคทรงตีแควน
ก็อลคอนดาซึ่งอยูในอินเดียใตไดเมื่อ พ.ศ. ๒๐๓๐ (ค.ศ. ๑๖๘๗)
หนังสือทํานองเดียวกัน คือจดหมายเหตุลาลูแบร ซึ่งพระเจาบรมวงศเธอกรมพระนราธิป
ประพันธพงศ ไดทรงนิพนธและแปลไวเมือ่ พ.ศ. ๒๔๕๗ (ค.ศ. ๑๙๑๔) เกี่ยวกับสมัยแผนดิน
สมเด็จพระนารายณมหาราช มีขอความหลายตอนที่พาดพิงความเปนไปของมุสลิม
“สมเด็จพระนารายณมหาราชเจาของไทย ไรราชบริพารที่ทรงคุณวิชาสามารถ ดวยผลาญคน
ดี ๆ ลงเปนเบือเสียหมดหลายครั้งหลายคราวเนื่อง ๆ กัน.... เห็นไดที่สมเด็จพระนารายณมหาราชเจา
ตองทรงพระกรุณาชุบเลี้ยงแขกฝรั่งและรามัญเปนตนเปนขุนนางผูใหญ ก็เพราะไรไทยที่จะสามารถ
จะสนองราชกิจไดเปนสักขี.....”๖๗
“แขกเมืองที่ไดมาสูกรุงสยาม..... มีแขกสามหรือสี่จําพวก มาจากเมืองเบงกะหลา
(เบงคอล) ในบัดนี้รวมเปนชาติหนึ่ง..... แขกมัวรเทานั้นควรจะนับวาเปนอยางปกติไดชาติหนึง่ ดวยมี
มากกวา ๑๐ พวก ทั้งสาเหตุที่มาสูกรุงสยามเลาก็มาจากชาติตาง ๆ โดยอาการตาง ๆ เชนมาเปน
พอคาบาง เปนทหารบาง และเปนคนงานบาง ขาพเจาเรียกแขกมัวรตามอยางพวกสเปนนัน้ ไมใช
หมายความวาเปนแขกนิโกร แตเปนแขกชาติอาหรับ นับถือศาสนาพระมะหะหมัด ซึ่งบรรพบุรุษ
ของเรา (ฝรั่ง) เรียกแขกสะระเซน และชาติแขกเหลานีแ้ ผซานออกไปเที่ยวอยูเกือบจะทั่วถิน่ เราทั้งสิ้น
.....”๖๘
เขาใจไดวา ในจดหมายเหตุที่เรียกแขกมัวรนั้น คือพวกอฺรับจากตะวันออกกลางและอาฟริกา
เหนือ แตบางครั้งก็หมายถึงพวกมุสลิมที่มาจากอินเดีย ดังจะไดอานในรายงานและจดหมายเหตุนี้
“น้ําใสเปนเครือ่ งดื่มสามัญของชาวสยาม ชาวสยามรักแตจะดื่มน้ําหอม”๖๙ การดื่มน้ําหอม
เปนธรรมเนียมของพวกอฺรบั เปอรเชีย และมุสลิม ในอินเดียมีน้ํากุหลาบ ซึ่งไทยเราเรียกวาน้ํา
ดอกไมเทศ และน้ําดอกลําเจียก ซึ่งในอินเดียเรียกดอกลําเจียกวา เกวรา หยดลงในอางน้ําสักเล็กนอย
จะทําใหมีกลิน่ หอมชวนดื่ม บางที่ใชผสมของหวาน นอกจากนีเ้ จานายและผูมีฐานะดียังใชอาบอีกดวย
“ไขสุหรายหยดยอยเปนฝอยฟอง อาบละอองตองพระองคดั่งสายฝน
น้ํากุหลาบหอมฟุงจรุงปน ทรงสุคนธาประทิ่นกลิ่นโอฬาร”
“แขกมัวรไดนาํ การใชรองเทาเขามาใชในพวกแขก รองเทานั้นเปนชนิดเกือกแตะ
(สลิบเปอร) ไมมีที่รัดใหแนนแฟน และไมมีสน ชาวสยามก็ใชตาม”๗๐

๖๗. จดหมายเหตุ ลาลูแบร เลม ๑ หนา จ-ฉ


๖๘. จดหมายเหตุ ลาลูแบร เลม ๑ หนา ๔๗
๖๙. จดหมายเหตุ ลาลูแบร เลม ๑ หนา ๙๑
๗0. จดหมายเหตุ ลาลูแบร เลม ๑ หนา ๑๑๐
รองเทานี้ คือที่พวกแขกเปอรเชียและอฺรับใส มีปลายงอนแหลมโคงเขามา นอกจากนีย้ ังมี
เกี๊ยะอีก แตไมใชหนังหุมนําสําหรับสอดเทา เพียงแตมปี ุมใหหวั นิว้ เทานิ้วถัดไปคีบ คนไทยคงรูสึกใช
ลําบาก จึงไมเปนที่นิยม
“พวกฝรั่ง จีน และแขกมัวร ตางสรางบานเรืองตนตามแบบอยางการกอสรางของชาติของ
ตน..... หองก็เปนหองโต ๆ และมีหนาตางเต็มไปรอบตัว จะไดรบั อากาศสดไดมาก และหองตึกชั้น
ลางก็ไดรับแสงสวางจากหองชั้นต่ําดวยกันเพราะยกพื้นสูง..... หองตึกอยางนี้ฝรัง่ เรียก ดิวัน เปน
ภาษาอาหรับ แปลวาหองมนตรีหรือหอพิพากษา (ไทรเรียกหอนั่งสําหรับรับแขกเหรื่อที่มาหา).... เรามี
หอดิวนั ชนิดอยางวานี้ในเรือนที่เรา (พวกทูตานุทูตฝรั่งเศล) พักในพระมหานครสยาม (กรุงศรีอยุธยา)
และตรงหนาหอที่ตั้งสาดนัน้ มีน้ําพุนอย ๆ ตั้งดวย”๗๑
คําดิวัน นี้ อาน ดีวาน เปนคําเปอรเชียมากกวาอฺรับ หมายถึงราชสํานัก ทองพระโรงมนตรี
หนังสือกวี ดีวานิอะอฺลา = นายกรัฐมนตรี ดีวานิคอศ = หองประชุมขุนนางหรือคณะรัฐมนตรี ดีวาน
คานะฮฺ = ทองพระโรง ดีวานิอฺาม = หองโถงใชประชุมทั่ว ๆ ไป หรือสําหรับเฝากษัตริย ศัพทเหลานี้
มีใชในเปอรเชีย และในราชสํานักของวงศโมกุลในอินเดีย
ดีวานิอฺาม และดีวานิคอศ ยังมีใหชมอยูทปี่ อมแดง-Red Fort-ที่กรุงนิวเดลฮี ปอมนี้สรางใน
สมัยกษัตริยชาฮฺญะฮาน แตเดิมชื่อ “เบเฮชติอาบาด-นครสวรรค” ตอมาอังกฤษเปลี่ยนเปนเรียก
Red Fort และเปนภาษาอุรดฺ ูวา ลาลกฺลอฺะฮฺ และยังมีใหชมไดที่ปอมในเมืองอาฆระและทีฟ่ ะเตะฮฺปุรฺ
สิกรีในเมืองอาฆระ ที่ซึ่งมีอนุสรณตาจญมะหัลอันบันลือโลก ที่ควรชมนั้นเกี่ยวกับจิตรกรรมและ
สถาปตยกรรมวาในสมัยโนนไดออกแบบสรางทองพระโรงอยางไร หากชมเพียงเผิน ๆ คงจะไม
รูสึกแตกตาง หากชมในแงคาํ นวณและเรขาคณิต ก็จะรูส ึกทึ่งเปนอยางมากจึงขอฝากแกทานผูทานได
ไปชมและพิเคราะหเอง
เรื่องน้ําพุ เปนเรื่องที่เวนไมไดในของพวกโมกุล ที่ปอมอาฆระมีสวนองุนแซมดวยน้ําพุ
ถึงกับวาไดขนดินจากแควนกัชมีรฺ (แคชเมียร) มาเพื่อปลูกองุน แบบสวนโมกุลนี้มใี หชมไดที่กรุง
นิวเดลฮี ดานหลังรัฐสภา โดยไมจาํ เปนตองไปชมถึงโบราณสถานเหลานั้น
ในสมัยสมเด็จพระนารายณ ฯ มี “ตึกปจู และตึกคชสาร อยูใกลวิหารดานเหนือ ภายในวัด
เสาธงทอง สันนิษฐานวา สมเด็จพระนารายณมหาราชโปรดใหสรางพระราชทานเปนที่อยูชองชาว
ฝรั่งเศลและชาวคณะราชทูตเปอรเชีย จึงเรียกเพีย้ นเปนคชสาร หรือโคระสานตามชื่อเมือง Khursan
ในประเทศเปอรเชีย”๗๒

๗๑. จดหมายเหตุ ลาลูแบร เลม ๑ หนา ๑๓๑ - ๑๓๒


๗๒. ไปชมโบราณวัตถุสถาน ในจังหวัดลพบุรี กรมศิลปากร หนา ๑๘
คําวา โคระสาน อานใหถูกวา คุราสาน-Khurasan- เปนแควนหนึ่งอยูทางเหนือของเปอรเชีย
มีเมืองมัรฺว – Marw – เปนเมืองหลวง มีชื่อทางประวัติศาสตร มีนักการทหาร การศาสนาและ
การเมือง พรอมทั้งนักปราชญที่มีชื่อ คํา คุราสาน จึงเพี้ยนมาเปนคชสารตามถนัดในยุคนัน้

“ชาวสยามมีนา้ํ นมของกระบือ มีครีมมากกวาน้ํานมโคของเรา (ฝรั่ง) แตชาวสยามไมไดทํา


เนยแข็งสักอยางหนึ่ง และเนยเหลวก็ไมใครมี ดวยเหยเหลวยากจะทําไดเพราะเหตุที่อากาศรอนจัดนัก
และเนยเหลวที่เอามาจากเมืองสุรัตและเมืองเบงกะหลาเลา ถูกอากาศรอนจัดเขาก็ไมดีเลย เกือบจะคืน
ตัวในเวลาที่ถงึ กรุงสยาม”๗๓

“สมเด็จพระมหากษัตริยสยามเลี้ยงมาไวเปนราชพาหนะและพลพาหนะสําหรับพระนครอยู
เพียงแต ๒,๐๐๐ มา ทรงมีมาเปอรเชียอยูสัก ๑๒ ตัว แตเดี๋ยวนีก้ ไ็ มมีคาเสียแลว ราชทูตเปอรเชีย
เอามาถวายพระพุทธเจาอยูหวั มาไดสัก ๔ หรือ ๕ ปมานี้แลว สงมาจากพระเจาแผนดินเปอรเชีย”๗๔
ในจํานวนชาวตางประเทศชาติตาง ๆ ทีเขามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารนั้น แขกมัวรไดตั้งเนื้อ
ตั้งตัวเปนอยางดีกวาเพื่อนในแผนดินนี้ ดวยครั้งหนึ่งเผอิญแขกมัวรไดรับตําแหนงถึงไดเปน
ออกญาพระคลัง ดวยพระมหากษัตริยส ยามทรงพระราชดําริเห็นวา โดยใชพระบรมราโชบายฉะนี้
สามารถที่จะทําใหการคาขายในบานเมืองเจริญขึ้น ดวยในจําพวกเจาแผนดินใกลเคียงอันมีเดชานุภาพ
มาก ๆ แตละลวนทรงนับถือศาสนามะหะหมัดสิ้น ตําแหนงหนาที่ราชการที่สําคัญ ๆ ทั้งในกรุงและ
หัวเมืองครั้งนัน้ ก็ตกอยูในมือพวกแขกมัวร พระมหากษัตริยสยามโปรดสรางสุเหราเปนหลายแหง
พระราชทานแกแขกมัวรดว ยพระราชทรัพย และพระองคยังทรงพระราชานุเคราะหชวยทุนการทําพิธี
สําคัญ ๆ ขอพวกแขกที่พวกแขกฉลองศรัทธาตามศาสนาลัทธิติดตอกันหลายวัน เพือ่ สักการบูชาระลึก
ถึงวันมรณภาพของอาลี หรือพระบุตรของอาลี (พิธีเจาเซ็นวันมะหะรัม) ชาวสยามที่เขารีตศาสนา
แขกมัวรไมชาก็เกิดละโมบโภคทรัพยอันแสนอุดมในสยามเลยริมูมมามกอการทุจริตผิดรายตาง ๆ
ความเชื่อถือคนที่เปนแขกมัวรชาติเดียวกันกับออกญาพระคลังผูประพฤติชอบนั้นตอมาก็เสื่อมทรามลง
ที ตําแหนงหนาราชการสําคัญ ๆ ก็ถอนเสียจากพวกแขกและพวกไทยที่เขารีตศาสนาพระมะหะหมัด
ก็ถูกเอาตัวมาบังคับใหเสียเงินคาราชการแทนขาเดือนรับราชการ ปละ ๖ เดือน ซึ่งแตกอนพวกไทย
เขารีตเคยได

๗๓. จดหมายเหตุ ลาลูแบร เลม ๑ หนา ๑๕๘


๗๔. จดหมายเหตุ ลาลูแบร เลม ๑ หนา ๑๖๗
ยกเวน แตแมกระนั้นสุเหราหรือกุฏิของพวกแขกก็ยังคงเปนของแขก ทั้งการเกื้อหนุนซึ่ง
พระมหากษัตริยสยามเคยพระราชทานพระบรมราชูปถัมภตอศาสนามะหะหมัด ก็ยังคงทรงพระราชา-
นุเคราะหอยูอยางเดิมเหมือนไดทรงพระกรุณานุเคราะหตอศาสนาตางประเทศทั้งปวงอื่น ๆ
เพราะฉะนั้นในกรุงสยามจึงแขกมัวรมากตัง้ สามสี่พันคน..... และบางทีแขกมลายูกม็ ากเหมือนกัน”๗๕
ในหนังสือ Modern History, or the Present State of All Nations โดยนายแซลมอน
(Salmon) เลมที่ ๑ ตีพิมพที่ลอนดอนเมื่อ ค.ศ. ๑๗๒๕ หนา ๒๔๙ ในเรื่อง “The Present State of
Siam” มีขอความคลายขางตนนี้ ดั่งคําแปลตอไปนี้
“พวกแขกมัวรหรือแขกมะหะหมัดแหงอาณาจักรโมกุล ไดตั้งรกรากอยางดีที่สุด ณ ที่นี้มาแต
กอน ออกญาพระคลังคนหนึ่งเปนแขกมัวร พวกเจาหนาทีแ่ ละขาราชการก็เปนพวกนี้ และ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ไดทรงพระราชทานทรัพยสรางมัสญิดและโบสถของพวกนี้ และยัง
ทรงอนุเคราะหออกคาใชจายในพิธีกรรมอันมโหฬารของพวกนี้เพื่อรําลึกถึงฮาลี ชาวสยามที่ไดรับนับ
ถือศาสนาอิสลามก็ไดถูกยกเวนไมตองเขาเดือนรับราชการ ๖ เดือน แตออกญาพระคลังแขกมัวรผูนี้
เกิดอัปยศพลอยใหเพื่อนรวมชาติของเขาตองรับเคราะหไปดวย และพวกแขกมะหะหมัดจึงถูกปลดออก
จากราชการ และถูกบังคับใหเสียเงินชดเชยที่พวกเขาไมตองเขาเดือนรับราชการหกเดือน แตบรรดา
มัสญิดนั้นยังใหคงอยู และใหปฏิบัติศาสนกิจได คํานวณไดวามีแขกมัวรราว ๔,๐๐๐ คนในสยาม
และมีพวกอินเดียโปรตุเกส หรือพวกลูกครึ่งซึ่งมีมากมายตามชายฝงทะเลของอินเดีย พวกจีนก็มี
จํานวนไมนอยเชนกัน และมากพอ ๆ กับจํานวนพวกมลายู และมีชาติอื่น ๆ อีกบางเหมือนกัน
แตพวกพอคาที่ร่ํารวยตองเลิกราไปจากกรุงสยามนับแตพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ทรงคุมการคา
ตางประเทศเอง”
แขกมัวรในทีน่ ี้หมายถึงพวกมุสลิมในอินเดีย สวนพวกอินเดียโปรตุเกสคือพวกชาวเมือง
กัว ฮาลี คือ ทานอิมามอะลี
ในประชุมพงศาวดารภาคที่ ๑๘ เรื่อง จดหมายเหตุในแผนดินสมเด็จพระนารายณมหาราช
รายงานการคาขายกับตางประเทศครั้งแผนดินสมเด็จพระนารายณ ซึง่ สมเด็จกรมพระยาดํารงราชา
นุภาพทรงเขียนอธิบาย เขาใจวาเปนรายงานของพอคาอังกฤษ ชื่อ ยอรชไวท(George White) แต
หาทราบไมวาใครเปนผูแปลนั้น มีเรื่องนาสนใจเกีย่ วกับบทบาทของมุสลิมในสมัยนัน้
“เนื้อไม เนื้อไมเมืองนี้เปนอยางเอก ที่ฝรั่งเรียกกันวาเนื้อไมบนั นาเปนอยางวิเศษนับถือยิ่ง
กวาเมืองไหนในโลกนี้หมด เครื่องหอมอยางอุดมนีม้ ีในปาใกลเมืองกัมโพชา การคาเนื้อไมตกอยู
ในเงื้อมมือแขกเปอรเชียผูมบี รรดาศักดิ์ผูหนึ่ง ซึ่งไดรบั ยศเปนที่ออกพระศรีมโนราช

๗๕. จดหมายเหตุ ลาลูแบร เลม ๒ หนา ๑๗๗ - ๑๗๙


เปนคนพระมหากษัตริยทรงชุบเลี้ยง และไดทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานอนุญาตใหทําการคาขาย
เฉพาะสินคาอยางนี้ได พนจากเปนของตองหาม นับในสินคาของหลวงมาหลายป แตตอมากอนเวลา
ที่ทานลวงแลวถึงแกกรรม การรับผูกขาดนั้นตองคืน และการคาเนือ้ ไมเดี๋ยวนี้เปนหนาที่เจาพนักงาน
คลังสินคาของพระเจาแผนดินคาขายเปนของหลวง เนื้อไมนพี้ วกแขกมัวรใชกันมากในเมืองฮิน
ดุสตาน เมืองไฮโดรบัด และเมืองเบงคอล แตในเมืองเตอรกีและซีอาเรเบียยังยิ่งใชมากขึน้ ไปอีก
และการที่เฉพาะตองมาใชมากนั้นก็คือในการบูชาพระมะหะหมัดในเมืองเมดีนาและเมืองเมกกะ (หรือ
ที่แขกเมืองไทยเรียกวาบิลพัสดุ)......”๗๖
ในที่นี้เมืองฮินดุสตาน คือประเทศอินเดีย ไฮโดรบัด คือแควนไหดราบาดทางใตของอินเดีย
ไมนี้เขาใจวาเปนไมกฤษณา เรียกในภาษาอฺรับวา อูด – ‘ud และในภาษาฮินดุสตานีวาอะกัรฺ - Agar
ตรงกับภาษาอังกฤษวา Aloes Wood มีสีดําและกลิ่นหอม (โปรดอยาเขาใจไขวกับ Agar หรือ Agar –
agar ที่แปลวาสาหรายทะเล) พวกอฺรับและเปอรเชียนิยมใชเผารมหอง มิใชเพือ่ การบูชาแตอยางใด
หัวน้ํามันหอมที่สกัดไดจากไมกฤษณานี้มีสว นนอยและราคาแพง ยิ่งเก็บไวนานยิ่งไดราคา ในทาง
แพทยแผนโบราณของอินเดียวถือวาเปนยาบํารุงกําลังของคนชราไดอยางหนึ่ง
ไทยเราคงไดเคาการใชไมกฤษณาจากพวกแขก เพราะมีปรากฏในนิราศนรินทรโคลงที่ ๗๙
วา
ลมลงโลมลาดไม กฤษณา
โบกบอกนาสาหาย กลิ่นตอง
รอยอรร่ําพัสตรา ตากตรอก ลมฤา
พากลิ่นกลอยมาของ คาไม หอมเหมือน
ตางแตวา ปจจุบันคนไทยเราสวนมากออกจะไมคุนกับคาของความหอมของไมกฤษณาอยางที่
ไทยโบราณรูจกั กัน ไมกฤษณาจึงอยูในขวดโหลดตามรานขายยาไทยและจีนเปนสวนมากแตพวกแขก
เทศ โดยเฉพาะอฺรับ ยังถามหาไมกฤษณาจากเมืองไทยอยู ถือวาเปนดีที่สุด และปจจุบนั เปน
สินคาออกรายหนึ่งสูประเทศสอูดีอะเราะเบีย แมจะเปนจํานวนนอยก็ตาม
“คาขายกับอินเดีย เรือกําปนที่มาจากเมืองสุรัตและเมืองคอรแมนเดลนั้น บรรทุกสินคาผา
ตาง ๆ หลายชนิดสําหรับใชในบางเมืองนัน้ ๆ และบรรทุกไปยังเมืองญี่ปุน เมืองจีน และเมืองมนิลา
ซึ่งเขาแลกเอาดีบุก ทองแดง ทองเหลือง ทองขาว และเครื่องถวยชาม แตผาเปนอันมากที่เรือกําปน
เหลานี้บรรทุกมายังทานั้น ๆ พระมหากษัตริยเมืองนี้โปรดใหเอามา และยังมีเรือกําปนเปนหลายลํา

๗๖. ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๑๘ หนา ๓


ของพวกแขกมัวรมาจากเมืองเบงกอลและเมืองเมตชเลปะตันมายังทาเมืองตะนาวศรี ถึงแลวขนขึ้นเดิน
บกมายังเมืองนี้ และการคาขายอยางนี้ เดี๋ยวนี้ตกอยูในเงื้อมมือพวกแขกมัวรและแขกเปอรเชียรวบรัด
ทําเสียหมด ดวยพวกแขกเหลานี้เขากําลังมีอํานาจเปนเจานายเมืองแถบนั้นเสียทีเดียว เปนทั้งเจา
การคาขายดวย การที่เขามีกําลังดีขึ้นไดก็เพราะความกรุณาเกื้อหนุนของทานออกพระศรีมโนราช ซึ่ง
ขาพเจาไดเอยถึงนามทานมาแลว ทานผูนี้ ๓๐ ปมานี่แลว ไดเปนที่ปรึกษาราชการแผนดินของ
พระมหากษัตริยกรุงสยาม ทานตั้งความเพียรพยายามเปนอยางยิ่งยวด ถึงจะเปนการเสียหายแกตวั
ทานอยางไรก็ไมวา คิดแตจะชวยใหคนรวมชาติในบานเมืองเดิมของทานคาขายดีทวีผลประโยชน
ยิ่งขึ้นอยางเดียว และทั้งตั้งใจอุดหนุนแขกพวกที่นับถือศาสนาพระมะหะหมัดดวยกัน ความคาดหมาย
ของทานสําเร็จไดดีทีเดียว หัวเมืองที่ทานตั้งใจเพาะปลูกพวกชาติของทานลงไวในเมืองแถบนั้น จนมี
ผูคนมากมายเกือบเทาพลเมืองเดิม แตยังยิ่งดีกวาพลเมืองขึ้นไปเสียอีกโดยขบวนมีทรัพยสมบัติและ
อํานาจ ผูสําเร็จราชการเมืองตะนาวศรี และ(อานไมออก) และเมืองมะริด ก็เปนแขกชาวเปอรเชียน
และยังหัวเมืองใหญ ๆ แถบนั้น ทางที่ผานเขามาศรีอยุธยา เชนเมืองเพชรบุรี เมืองปราณบุรี เมือง
กุยบุรี และเมืองอื่น ๆ ก็เปนแขกเปอรเชียนดวย นายเรือของพระมหากษัตริยทใี่ ชใบจากเมืองตะนาวศรี
ไปยังเมืองมะเกาและเมืองเบงกอลก็เปนแขกเปอรเชียน นายหางของพระเจากรุงสยามซึ่งโปรดใหไปอยู
เมืองโนน ๆ
สําหรับธุระดูแลราชภาระ ก็เปนแขกเปอรเชียนอีกดวย การเอาใจใสใหมีมานะอุตสาหะ
ทะเยอทะยานหาความชอบใหไดราชการนัน้ ทรงยกยองใหมเี กียรติยศเปนถึงที่ราชทูต(อานไมออก)
ในเมืองนนทบุรี (สงสัย) ที่นี้ก็มีพอคามาก (อานไมออก)......”๗๗

คําวาแขกมัวรและแขกเปอรเชียและอินเดีย แตหมายถึงพวกมุสลิมทั้งที่เปนสุหนีแ่ ละชีอะฮฺ


ที่มาจากตะวันออกกลางเปอรเชียและอินเดีย แตมาเมื่อสมเด็จพระนารายณมหาราชและกษัตริยองคตอ
ๆ มาทรงผูกขาดการคาเปนของหลวงแตผูเดียว อิทธิพลของพวกนี้ก็ลดนอยลงพากันกลับบานเมือง
เดิมเสียก็มาก โดยที่พวกสุหนี่ไมมีพิธีกรรมอยางพวกชีอะฮฺ
(เจาเซ็น) จึงมิไดมีพรรณนา คณะราชทูตที่กษัตริยโมกุลสงมาเจริญพระราชไมตรีกบั สมเด็จ
พระนารายณมหาราชก็เปนพวกสุหนี่ อนึ่งคําวา เรือกําปน นั้นไมใชคําไทย มาจากภาษามลายู
กาปล (Kapal)

๗๗. ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๑๘ หนา ๑๘


ในหนังสือ Records of the Relation between Siam and Foreign Countries in the
th
17 Century เลมที่ ๒ หนา ๙๒ เจาหนาทีส่ ถานีการคาของอังกฤษในเมืองสูรัต ดังคําแปล
ตอไปนี้ :-

“เรือที่พระเจากรุงสยามทรงสงมาเมื่อปกลายนี้ ซึ่งมีคณะราชทูตและเครื่องบรรณาการแก
ชาฮฺนั้น ไดถูกพวกเรืออฺรับแถวปากอาวยึดได และไดพาไปเมืองมัสกัต เพื่อหวังคาไถ และยาก
จะไดคนื เวนแตจะไดเงินกอนใหญ พอคาชาวเปอรเชียคนหนึ่งไดเขียนจดหมายถึงนายทาเพื่อขอ
ความชวยเหลือและทานราชทูตก็ไดเขียนตามอักขระของตน (ซึ่งไมมีใครอานและเขาใจได)
หวังจะใหผูจัดการสินคาและขาพเจาเองเขียนจดหมายแทนพระเจากรุงสยาม โดยอางวาเราจะได
ผลประโยชนทางภาษีถาจัดการปลอยพวกเขาได ในการปฏิบัตินี้ แมจะไมมีสิ่งใดชักจูงขาพเจาได
เร็วกวา เพื่อเพิ่มพูนผลประโยชนของนายขาพเจาก็ตาม จนเมื่อขาพเจาทราบวาพวกฮอลันดา
กําลังจะมุงไปทางนั้น ขาพเจาก็เห็นดวยโดยไดตอบไปแลวเมื่อสามสี่วันนี”้
ในหนังสือเลมเดียวกันหนาที่ ๙๘ นายสตีเฟน ฟลาวเออรไดเขียนจดหมายลงวันที่ ๕
กันยายน ค.ศ. ๑๖๖๙ (พ.ศ. ๒๒๑๒) จากเมืองอิศปะฮาน ถึงเจาหนาที่ของอังกฤษในเมืองสูรัต
ดังคําแปลตอไปนี้:-
“ตามคําขอรองของนายทา โดยทําการแทนเรือของสยามที่ถูกพวกอฺรบั ยึด ณ เมืองมัสกัต
ขาพเจาแนะวาจะเขียนจดหมายถึงอิมามเพือ่ ใหปลอยเรือซึ่งขาพเจาก็ไดปฏิบัติตามนัน้ และแม
พวกอฺรับจะไดใชเรือนี้สูรบกับกองเรือของพวกโปรตุเกสดวยความยินยอมของเจาของเรือมากอนก็
ตาม เมื่อไดรบั จดหมายของขาพเจา คณะทูตและบรรดาสินคาก็ไดรับการปลดปลอยและมี
อิสรภาพที่จะบรรทุกสินคาของตนและโดยสารไปยังเมืองทาใด ๆ ที่พวกเขาพอใจ ทั้งหมดมี ๙
คนแตตองพลัดพรากกันกลางทะเล คือ ๔ คนถึงเมืองก็อมบรูมโดยปลอดภัย นอกนั้นถูกพวก
โปรตุเกสจับไปเมืองคองโก”
คณะราชทูตทีก่ ลาวนี้ สมเด็จพระนารายณ ฯ ทรงสงไปเจริญพระราชไมตรีกับชาฮฺ
แหงอิหราน ซึ่งตามปนั้นเปนชาฮฺสุลัยมานที่ ๑ (พ.ศ. ๒๒๒๐ - ๒๒๓๗ ค.ศ. ๑๖๖๗ – ๑๖๙๔)
พระองคทรงอยูในวงศเศาะฟะวี เมืองก็อมบรูม คือ เมืองบันดัชฺชาฮฺ (Bandar – Shah) อยูปากอาว
เปอรเชียกอนจะถึงเมืองนี้ ตองผานเมืองมัสกฺอฏ(มัสกัต) ในหมูพวกฝรั่งทั้งหลาย โปรตุเกสเปน
ชาติแรกที่ไดตงั้ รกรากอยูในเปอรเชีย กอนจากนีใ้ นวงศของเศาะฟะวีเอง พวกโปรตุเกสยึดได
เมืองฮัรฺมูซ(Hormuz) ซึ่งเปนเมืองทากอนถึงก็อมบรูม ตั้งเปนศูนยการคากับเปอรเชียและอินเดีย
โดยสงฝาย พรม ขนแกะ ผลไม และยางไมไปยุโรป จนกระทั่ง ค.ศ. ๑๖๒๒ (พ.ศ. ๒๑๖๕)
พวกเปอรเชียจึงไดเมืองนี้คนื ดวยการชวยเหลือของพวกฮอลันดาและบริษัทอีสตอินเดียของอังกฤษ
เปนธรรมดาอยูเอง อังกฤษยอมไดสทิ ธิพิเศษทางการคาเปนการตอบแทน จนถึง ค.ศ. ๑๖๑๖
(พ.ศ. ๒๑๕๙) จึงไดปะทะกับพวกโปรตุเกส หลัง ค.ศ. ๑๖๑๒ (พ.ศ. ๒๑๕๕) อิทธิพลของ
อังฤกษในอาวเปอรเชียก็มีเหนือชาติตาง ๆ ใกล ๆ เมืองฮัรฺมูซนั้น ชาฮฺอับบาสที่ ๑ (พ.ศ. ๒๑๓๐ -
๒๑๗๒ ค.ศ. ๑๕๘๗ - ๑๖๒๙) ไดทรงใหสรางเมืองทาขึ้นมีชื่อวา บันดัรฺ อับบาส แปลวา เมือง
ทาของอับบาส สรางขึ้น ณ เมืองเล็ก ๆ ชื่อกัมรูน (Gamrun) ซึ่งกลาววาเปนศัพทตุรกี แปลวา
โรงภาษี ฝรั่งเรียกเพีย้ นเปนก็อมบรูน
อีกเมืองหนึ่งคือ อิสปาฮาน นั้น เรียกใหถูกตองคือ อิศปะฮาน หรือ อิศฟะฮาน
ตามสําเนียงอฺรับ เพราะไมมีตัว ป สวนตามสําเนียงของเปอรเชีย คือ อิศปะฮาน
เรื่องที่พวกอฺรบั รบกับพวกโปรตุเกสนั้น เพราะผลประโยชนขัดกันเรื่องการคา จึง
ปลนสะดมเรือสินคาของกันและกัน ความละเอียดมีแจงในพระราชพงศาวดาร ฉบับพระ
ราชหัตถเลขาภาคตน หนา ๔๗๐ - ๔๗๒
ตอมาทางกรุงสยามไดสงทูตไปเจริญพระราชไมตรีอีก คราวนี้คงเปนชาวเปอรเชียมี
ชื่อวา อะลี สาลิม การที่สมเด็จพระนารายณ ฯ ทรงสงทูตซึ่งเปนแขกไปนั้น เพื่อตัดความยุงยาก
เรื่องภาษาและขนบธรรมเนียมของแขก และบรรดาแขกเหลานี้ก็ไดรับราชการจนเปนที่ไววาง
พระราชหฤทัย ทางฝายอิหรานไดสงทูตมาเจริญพระราชไมตรีเปนการตอบแทนเชนกัน ชื่อ
อิบรอฮิม ปรฺหรืออิบรอฮีมเบก (ในหนังสือที่อางเขียนเปน เอบบราฮิมปก)๗๘
พรอมดวยเครื่องบรรณาการที่หรูหรายิ่ง รวมทั้งมาพันธุดี จุดประสงคสวนหนึ่งนัน้ เพื่อทูลเชิญ
สมเด็จพระนารายณ ฯ เขารับนับถือศาสนาอิสลาม แตเมื่อไมสําเร็จก็คงไดเดินทางกลับในป
นั้นเอง
ในหนังสือ Records of the Relation between Siam and Foreign Countries in
the 17th Century เลมที่ ๕ หนา ๔๑ ตีพมิ พที่กรุงเทพ ฯ เมื่อ ค.ศ. ๑๙๒๑ มีบันทึกลงวันที่ ๒๔
พฤษภาคม ค.ศ. ๑๖๘๘ (พ.ศ. ๒๒๓๑ ) วา พระเจากรุงสยามไดสงเรือสี่ลําพรอมดวยคณะทูต
นําชางและสินคาอื่น ๆ เปนบรรณาการแกจกั รพรรดิ์โมกุล แตตอจากนัน้ ก็ไมมีขาวอีก
จักรพรรดิโมกุลที่กลาวนี้คือกษัตริยเอารังซีบ เพราะรัชกาลตรงกัน
หลังจากแผนดินสมเด็จพระนารายณ ฯ แลว คงจะมีการติดตอสืบเนื่องกันอยูบา ง
เพราะในหนังสือที่กลาวนี้ เลม ๕ หนา ๑๓๙ – ๑๔๐ ไดตีพิมพจดหมายจากหัจญีมุหัมมัด อะลี
ถึงนายพลโทแน็ททะนีล ฮิกกินสัน (Nathaniel Higginson) ที่ปอมเซ็นตยอรจ อยูในเมืองมัดราส
จดหมายนั้นไมมีวันที่ แตทานนายพลโทไดรับเมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ค.ศ. ๑๖๙๗ (พ.ศ.
๒๒๔๐) มีขอความดังคําแปลตอไปนี้

๗๘. สัมพันธไมตรีระหวางประเทศไทยกับนานาประเทศ หนา ๔๒๑-๔๓๗


“ขาพเจาสุขสบายดี และหวังวาจะไดฟง ขาวเชนเดียวกันจากทาน เมื่อไมนานมานี้ขาพเจาไดรับ
จดหมายจากรุงสยามแจงวา เรือซึ่งแลนออกจาก (ที่น?ี่ ) (อันเปนเรือของพระเจากรุงสยาม) จะไป
ยังเมืองตะนัสสะรี ซึ่งเจานะบอบ ซุลฟะเกรฺ คาวน ไดถวายมา ขอมีคาอื่น ๆ เปนบรรณาการแต
พระเจากรุงสยามดวยนั้น ไดถูกเรือของอังกฤษแลนติดตามระหวางทางไดปลนเรือ ไดยดึ เอา
เสื้อผาและเงินทองที่มีอยูในเรือ เกี่ยวกับเรือนี้พวกเขาไดเขียนรายงานถึงเจานะบอบแลว รายงาน
เชนนี้อันเกิดจากคนอังกฤษนั้น เปนเรือ่ งไมงาม และเปนที่อัปยศอยางใหญหลวงแกพวกเขาเอง
ยังมีเรือลําหนึง่ ของพระเจากรุงสยามที่เมตเจลี่ปะตัม ซึ่งจะแลนไปเมืองตะนัสสะรี และมะหมดู
ซาดิค เรยเบอรไดเขียนถึงขาพเจาวา เจานะบอบ อัสสิด คาวน ไดสงมา ผา ฯลฯ เปน
บรรณาการแกพระเจากรุงสยาม และจะออกแลนในขึ้นค่ํานี้ จึงขอใหทานออกใบอนุญาตผานแก
เรือที่กลาวนี้ ถาทานปฏิบัติตามที่ขอรองนี้ ก็จะเปนการดีแกทาน ขาพเจาขอรองใหทานสงใบผาน
นี้โดยเร็วที่สุด เรือลํานี้ชื่อวา นะซาเร็ท เชยเปนเรือใบสามเสา ยาว ๕๕ ศอก(Covets) กวาง ๑๙
ศอก ลึก ๙ ศอก นาโคะดา ชื่อ มะหมูด ซาดิค คนนํารองชื่อ ดิวด นินา และสรั่งชื่อ อิสมาอีล”
ชื่อตาง ๆ ในจดหมายนีเ้ ขียนและเรียกเพีย้ นไปมาก ตะนัสสะรี คือเมืองตะนาวศรี
นะบอบ ซุลฟะเกรฺ คาวน คือนะวาบ ซุลฟะกฺอร – Dhul Faqar – คาน คํานี้บางทีก็อา นวา
ซุลฟกฺอรฺ – Dhul Fiqai – แตกลาวกันวาเปนสําเนียงแสลง คํานี้แปลวา “เจาของแหงดาบ” มีที่มา
ดังนี้ ซุลฟะกฺอรฺ เปนชื่อดาบเลมหนึ่งของทานนบีมุหัมมัด ศ็อล ฯ และตอมาเมื่อทานถึงแกชวี ิต
แลวไดตกเปนของทานอิมามะอะลี ผูเปนบุตรเขตของทานและเปนเคาะลีฟะฮฺ คนที่ ๔ แตกอนนี้
ดาบนี้เปนขอศัตรูของทาน ชื่อ อัล – อาศ อิบนิ
มุนับบิฮฺ ผูถูกทานอฺลีฆาในสงครามบัดรฺ แลวถวายดาบนี้แกทานนบี ศ็อล ฯ ที่ไดชื่อเชนนี้
เพราะมีรูเล็ก ๆ ที่ใบดาบ ซึ่งมุงเหมาะสําหรับเกาะไวกับเกราะ และรากศัพทของคํานี้ซึ่งเปน
ภาษาอฺรับหมายถึง รู สวน ซุล แปลวา เจาของ มุสลิมบางทานจึงภูมิใจที่ใชดาบนี้เปนชื่อของ
ตน
คําวา คาวน (Cawn) หมายถึง คาน
คําวา เมตเจลีป่ ะตัม คือ มะสูสีปะตัม เปนเมืองทาในอินเดียใต
มะหมูด ซาดิค เรยเบอร คือ มะหฺมูด ศิดดีกฺ สวน เรยเบอร นัน้ นึกไมออกวาการ
อานที่ถูกตองเปนอยางไร
นะบอบ อัสสิดคาวน คือ นะวาบ อะซีซ คาน - Nawab Aziz Khan
คําวา นะวาบ แตเดิมเปนคําอฺรับ ใชกันมากในอินเดีย หมายถึงเจาผูครองนคร ถา
เปนฮินดูก็เรียกวา มหาราชา
ชื่อเรือ นะซาเร็ท เชย นั้นนึกไมออกวา เขียนใหถกู ตองอยางไร นาโคะดา ที่เขียน
วา Naquedahs นั้นคือ Nakhoda หมายถึง นายเรือ คนนํารองชื่อ ดาวูด นานา สวนสรางคงถูก
ตามชื่อ คือ อิสมาอีล
Covet ในหนังสือที่อางนี้เขียนเพีย้ น ที่จริงเปน Covid ทํานองเดียวกับที่เขียน
Gombroon เปน Gombroom คํา Covid เปนมาตราวัดชนิดหนึ่ง ซึ่งเขาใจวา เพี้ยนมาจากภาษา
โปรตุเกส Covada แปลวา ชวงหนึ่งศอก
ในหนังสือ The History of Japan with the Description of the Kingdom of
Siam 1690 – 1692 โดยนายเอ็งเก็ลเบอรค แคมเฟอร ตีพิมพที่กลาสโกว ค.ศ. ๑๙๐๖ มีบันทึก
การเดินทางของคณะทูตสวีเดน ไปเมืองอิศปะฮาน ดังคําแปลวา : -
“ซาฮฺ สุลัยมาน กษัตริยแหงเปอรเชีย ทรงมีรูปรางบอบบาง และอมโรค เวลานั้นได
กักพระองคเองอยูในวังดวยความสมัครใจของพระองคเอง ตามคําแนะนําของพวกโหร โดยที่
ตระหนักวา จะมีผลรายถึงกับสิ้นพระชนม เนื่องดวยอยูในราศีรายของดวงดาว พวกโหรจึงไม
ยอมใหพระองคเสด็จไปตางประเทศ หรือปรากฏพระวรกายตอหนาประชาชนจนถึงวันที่ ๓๐
กรกฎาคม ซึ่งในวันนั้นพระองคทรงจัดใหมีการฉลองในพระราชสํานักอยางมโหฬารและตระการ
ตายิ่ง ในขณะนัน้ มีคณะราชทูตจากตางประเทศหลายคณะอยูที่อิศปะฮาน เชน จากพระเจา
แผนดินกรุงสวีเดน โปแลนด และสยาม จากพระจาซารแหงมอสโคว และมีเจาชายหลาย
พระองคจากแควนอฺรับและจากพวกตาด”

ยอนกลาวถึงเมืองมะสูลีปะตัม เรามีผา “สลัปตุน” ปรากฏในขุนชางขุนแผน ฉบับ


กรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพวา :-
“รัดประคดหนามขนุนคาดรัด เข็มขัดมั่นเหมาะสายไหม
สลัปตุนยกเปนอักษรใน สารใสอาวุธศรีมีศักดา”

ในจดหมายเหตุพระบรมศพครั้งกรุงเกาวา “และมานสลักทางเสด็จ ฯ ชั้นในนั้น ผูก


มานมะขลิปต่าํ อยางดีสองไข” อีกแหงหนึ่งวา “แลเพดานกํามะหยีพ่ ื้นแดง ปก ทองสละปะตุน
อยางเทศ” คําวา สลัปตุน มะขลิปต่ํา หรือ สละปะตุน คือผาที่มาจากเมืองมะสูสีปะตัม๗๙

๗๙. วิทยาสาร ปที่ ๑๓ ฉบับที่ ๓๓ – ๓๔ “ภูมิศาสตรวัดโพธิ์”

You might also like