You are on page 1of 6

Vol.16 No.

2 Special articles 83

Clinical Practice Guideline for Drug Eruption


ศิริเพ็ญ พัววิไล
วิชิต ลีนุตพงษ
วิวัฒน กอกิจ
เพ็ญพรรณ วัฒนไกร
กนกวลัย กุลทนันท
พูกลิ่น ตรีสุโกศล

ความนํา คําวายาหมายถึงสารเคมีซึ่งเขาสูรางกายโดยการรับ
แนวทางการดูแลรักษาโรคผิวหนังเปนความเห็นรวม ประทาน, การฉีด, การสอด การหายใจ, การสูดดม, การ
กันของกลุมผูรูที่ ปฏิบัติการดูแลรักษาผูป วย แนวทางที่ หยอด และการทา
วางไวนี้เพื่อใชเปนแนวทางในการดูแลรักษาผูปวย มิใช ผลอัน ไม พึ งประสงคจากยาอาจเกี่ยวขอ งกับ ระบบ
กฎตายตั ว ที่ ต อ งปฏิ บั ติ ก ารรั ก ษาตามที่ เขี ย นไว ทุ ก ภู มิ คุ ม กั น ของร า งกาย หรื อ ไม เ กี่ ย วข อ งกั บ ระบบ
ประการ ทั้งนี้เพราะผูปวยแตละรายมีปญหาที่แตกตางกัน ภูมิคุมกันของรางกาย หรืออาจเกิดโดยไมทราบสาเหตุ
การวางแนวทางการรักษานี้เปนการสรางมาตรฐานและ การวินิจฉัย
พัฒนาการดูแลรักษาโรคผิวหนัง เพื่อใหประชาชนที่มา 1. ลักษณะทางคลินิก
พบแพทยไดรับความมั่นใจวาจะไดรับการดูแลรักษาที่ดี 1.1 ประวัติ
คณะผู จั ด ทํ าขอสงวนสิ ท ธิ์ ใ นการนํ าไปใช อ า งอิ ง 1.1.1 การซักประวัติทั่วไป
ทางกฎหมายโดยไมผานการพิ จารณาจากผูท รงคุณ วุฒิ 1.1.2 ประวัติการไดรับยามากอน
หรือผูเชี่ยวชาญในแตละกรณี - ขนาดของยา
นิยาม - วันที่เริ่มและหยุดยา
ผื่นแพยาคือผลอันไมพึงประสงคจากยาที่ทําใหเกิด - ระยะเวลาที่ไดรับยา
ความผิดปกติทางผิวหนัง รวมทั้ง ผม, ขน, เล็บ และเยื่อบุ - ซักประวัติวาการไดรับยามีความสัมพันธกับ
การเกิดผื่นหรือไมอยางไร
- ประวัติการแพยาในอดีตอยางละเอียด
84 Puavilai S et al Thai J Dermatol, April-June 2000

- การเกิดผื่นซ้ําเมื่อไดยาชนิดเดิม พิจารณาเลือกการตรวจทางหองปฏิบัติการเพิ่มเติมตาม
- การที่ผื่นหายไปเมื่อลดขนาดของยาลง หรือ ความเหมาะสมในผูปวยแตละราย
หยุดยาที่สงสัยวาทําใหเกิดอาการแพ 2.1 การตัดผิวหนังไปตรวจทางจุลพยาธิวิทยา
1.1.3 ยาอื่นที่ผูปวยอาจใช เชน สมุนไพร, อาหาร 2.2 การตรวจ blood chemistry เชน complete blood
เสริม, ยาบํารุง, วิตามิน, ยาลดน้ําหนัก, ยานอนหลับ, ยา count, liver function test, BUN, creatinine
ระบาย ฯลฯ 2.3 การตรวจปสสาวะ
1.1.4 โรคหรือภาวะอื่นที่อาจมีสวนรวมใหเกิดผื่นแพ 2.4 การถายภาพรังสีปอด
ยามากขึ้น เชน โรค infectious mononucleosis กับอาการ 2.5 การตรวจหาระดับยาในเลือดหากสามารถทําได
ไม พึ ง ประสงค จ ากยา ampicillin, การติ ด เชื้ อ HIV กั บ ในผูที่สงสัยวาไดรับยาเกินขนาด
อาการไมพึงประสงคจาก trimetoprim-sulfamethoxazole 2.6 หยุดยาที่สงสัยวาเปนสาเหตุในกรณีที่สามารถ
โรคซิฟลิสกับปฏิกิริยา Jarisch- Herxheimer. หยุดได
1.1.5 ประวัติโรคผิวหนัง, ภูมิแพ, ปฏิกิริยาอันไมพึง 2.7 ทดลองใหยาซ้ําในกรณีที่จําเปนและไมเปน
ประสงคจากยาของผูปวยและครอบครัว อันตรายตอผูปวย เชน ลักษณะผื่นแบบ maculopapular
1.1.6 สิ่งแวดลอมและอาชีพที่อาจมีสวนทําใหเกิดผื่น rash, fixed drug eruption, eczematous drug eruption,
แพยา เชน แสงแดด photoallergic และ phototoxic reaction, lichenoid
1.1.7 อื่นๆ eruption โดยหามทําในผื่นแพยารุนแรง เชน Stevens-
1.2 การตรวจรางกาย Johnson syndrome, toxic epidermal necrolysis,
1.2.1 การตรวจรางกายทั่วไป โดยเฉพาะตอมน้ํา vasculitis, anaphylaxis, urticaria, exfoliative dermatitis.
เหลือง ตับ มาม เยื่อบุ ผม ขน เล็บ ขอ การทดลองใชยาซ้ําสามารถทําไดหลายวิธีไดแก oral
1.2.2 บรรยายลักษณะ และการกระจายของผื่นอยาง challenge test, patch test, prick หรือ scratch test.
ละเอียด เชน รูปราง สี ขนาด การเรียงตัว และการ 2.8 การเพาะเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อราเพื่อ
กระจายของผื่น วินิจฉัยแยกโรคผื่นแพยาจากโรคติดเชื้อเหลานี้
1.2.3 ตรวจดูวามีลักษณะโรคผิวหนังอยางอื่นรวม 2.9 การทดสอบอื่นๆ เชน KOH, Tzanck smear ฯลฯ
ดวยหรือไม ตามความเหมาะสมเพื่อวินิจฉัยแยกโรคอื่น
1.2.4 อื่น ๆ 2.10 Serology test เพื่อแยกผื่นจากการติดเชื้อไวรัส
2. การตรวจทางหองปฏิบัติการ และซิฟลิสระยะที่ 2
สวนใหญการวินิจฉัยผื่นแพยาอาศัยการซักประวัติ 2.11 อื่นๆ
และการตรวจรางกายเปนสําคัญ ในกรณีที่การซักประวัติ 3. การตรวจรางกาย และการตรวจทางหองปฏิบัติการที่
และตรวจรางกายไมสามารถวินิจฉัยไดแนนอน อาจ เปนขอสังเกตวาผื่นแพยานาจะมีอาการรุนแรง ไดแก
Vol.16 No.2 Puavilai S et al 85

3.1 การตรวจรางกายทั่วไป - ความจําเปนที่ตองไดรับยาที่แพ และสามารถหายา


- ไขสูง (เกิน 40°c) หนาวสั่น อื่นทดแทนไดหรือไม
- ความดันต่ํา, ช็อค - อื่นๆ
- ตัวเหลืองตาเหลือง 1. การรักษามาตรฐาน (standard treatment)
- ตอมน้ําเหลืองโตทั่วตัว 1.1 การรักษาทั่วไป
- หายใจมีเสียงหวีด - ควรหยุดยาที่สงสัยวาแพ และใหยาอื่นทดแทนหาก
- ปวดขอ, ขออักเสบ ทํ าได โ ดยต อ งปรึก ษากั บ แพทยผู ให ย านั้ น รัก ษาผู ป ว ย
3.2 การตรวจผิวหนัง และเยื่อบุ กอนเพื่อรวมกันประเมินขอดีและขอเสียของการหยุดยาที่
- ผื่นแดงทั่วตัวลุกลามอยางรวดเร็ว สงสัยวาทําใหเกิดผื่น
- เจ็บที่ผิวหนัง - การพิจารณาหยุดยาควรดูในแงตอไปนี้
- เยื่อบุตาขาวอักเสบ 1.ความรุนแรงของผื่นแพยา
- เจ็บในปาก กลืนอาหารไมได 2.โรคที่กําลังใชยารักษาอยู
- แผลที่ริมฝปาก และในปาก ; เยื่อบุอวัยวะเพศ 3.ความยากงายในการรักษาผื่นแพยา
- ผิวหนังหลุดลอกเปนแผนเมื่อใชนิ้วรูดที่ผิว 4.มียาอื่นที่สามารถใหทดแทนยาตัวที่สงสัยหรือไม
หนังปกติ (Nikolsky's Sign ใหผลบวก) โดยไมควรเปนยากลุมเดียวกัน
- ตุมน้ําพองใส และผิวหนังหลุดลอกเปนแผน 5.หากไมสามารถหยุดยานั้นได อาจพิจารณาลด
- จ้ําเลือดที่คลําไดนูน ขนาดของยาลง หรือเปลี่ยนวิธีการใหยาในรายที่สามารถ
- มีเนื้อตาย ทําได
- หนาบวม, ลิ้นบวม หรือบวมทั่วตัว - ในกรณีที่อาการแพยารุนแรงควรรับผูปวยไวรักษา
- ลมพิษที่รุนแรง กระจายทั่วตัว ในโรงพยาบาล
3.3 การตรวจทางหองปฏิบัติการ - อื่นๆ
- เม็ดเลือดขาวต่ํา 1.2 การรักษาผื่นผิวหนัง
- เกร็ดเลือดต่ํา 1.2.1 ในกรณีที่ผื่นไมรุนแรง เชน maculopapular
- การทํางานของตับ และ หรือไตผิดปกติ rash, fixed drug eruption, eczematous reaction,
- ความผิดปกติของการถายภาพรังสีปอด photoallergic หรือ phototoxic reaction, lichenoid
การรักษา eruption
การวางแผนรักษาผื่นแพยาขึ้นอยูกับ - Specific treatment พิจารณาเลือกใชยาคอรติโคสตี
- ลักษณะชนิดของผื่น รอยดชนิดทา หรือรับประทานขนาดประมาณไมเกิน 0.5
- ความรุนแรงของโรค มก./กก./วัน
86 Puavilai S et al Thai J Dermatol, April-June 2000

- Supportive treatment ใหการรักษาตามอาการ แลแผลแบบ closed dressing ใหดูแลเชนเดียวกับผูปวย


เชน แผลไฟไหม น้ํารอนลวก
- รับประทานยาตานฤทธิ์ฮีสตามีน - รายที่มีอาการอักเสบของเยื่อบุตาขาวควรปรึกษา
- ยาทาแกคัน เชน Calamine lotion จักษุแพทย หากเปนไปไดพิจารณาเลือกใชยาหยอดตา
- ยาใหความชุมชื้นกับผิวหนัง (emollients) เพื่อหลอลื่น หรือใหยาขี้ผึ้งปายตาที่มียาปฏิชีวนะเพื่อปอง
- ประคบผิวหนัง (wet compression) ในรายที่มี กันภาวะแทรกซอนทางตา
oozing. - หากมีเนื้อตายเนาใหตัดเนื้อสวนที่ตายออก
- อื่นๆ 1.2.3 ผื่นแพยาแบบลมพิษ, angioedema กรุณาดูท่ี
1.2.2 ในกรณีที่ผื่นมีอาการรุนแรง เชน erythema guideline การดูแลผูปวยลมพิษ และ angioedema
multiforme, Stevens-Johnson syndrome, toxic 2. การรักษาที่เปนทางเลือกอื่นๆ
epidermal necrolysis, exfoliative dermatitis, fixed drug การรักษาที่ยังอยูในขั้นทดลอง เชน
eruption ที่มีอาการรุนแรง เปนทั่วตัว, vasculitis 2.1 Immunosuppressive therapy ใชรักษาผูปวย
- Specific treatment พิจารณาเลือกใชยาคอรติโค- Steven-Johnsons syndrome, toxic epidermal necrolysis,
สตีรอยดชนิดรับประทานขนาดประมาณ 0.5-1 มก./กก./ vasculitis
วัน หรือฉีดตามความเหมาะสมโดยควรใหระยะเวลา 2.2 Plasmapheresis มีผูทดลองใชไดผลในรายที่ได
สั้นๆ และรีบหยุดยาโดยเร็วเพื่อปองกันการติดเชื้อแทรก รับยาเกินขนาด
ซอน 2.3 Immunoglobulin มีผูทดลองไดผลใน toxic
- Supportive treatment มีความสําคัญมากในผื่นแพ epidermal necrolysis
ยากลุมนี้ 2.4 Cytokines
- สําหรับผูปวยที่ผิวหนังหลุดลอกมาก ถาเปนไป 2.5 อื่น ๆ
ไดควรแยกผูปวยไวในหองแยก (reverse isolation) การใหความรูแกผูปวย
- ใหการทดแทนสารน้ํา, อาหาร และเกลือแรให แพทยควรใหความรูแกผูปวยดังตอไปนี้
เพียงพอ 1. จดชื่อยาที่เปนสาเหตุของผื่นแพยาใหผูปวยหรือผู
- เฝาระวัง และรักษาการติดเชื้อแทรกซอน ปกครองไวยื่นตอแพทยผูรักษาในอนาคต
- การดูแลแผลใหทําความสะอาดแผลและเยื่อบุ 2. บอกผูปวยวายาเหลานี้ไมควรซื้อรับประทานเอง
ดวย normal saline หรือยาอื่นๆ 3. ถาการแพยานั้นเกิดจากความผิดปกติทางพันธุ
- ในกรณีดูแลแผลแบบ open dressing ใหผูปวย กรรมของผูปวย ควรใหคําแนะนําเรื่องการถายทอดทาง
นอนบนวัสดุที่ไมติดกับผิวหนัง เชนใบตองสะอาดที่ฆา พันธุกรรมแกผูปวย เชน ในกรณีของ G6PD deficiency
เชื้อแลว หรือแผนพลาสติกที่ฆาเชื้อแลว สวนในกรณีที่ดู ซึ่งถายทอดแบบ X-linked recessive
Vol.16 No.2 Puavilai S et al 87

References 12. Austen KF, Goldsmith LA, Katz SI, Fitzpatrick's TB,
eds. Dermatology in
1. Assier H, Bastuji-Garin S, Revuz J, et al. Erythema 13. General Medicine. 5th ed. New York : McGraw-Hill
multiforme with mucous membrane involvement and 1998 : 1609-33.
Stevens-Johnson syndrome are clinically different 14. Stern RS, Wintroub BU. Cutaneous reactions to drugs.
disorders with distinct causes. Arch Dermatol 1995; 131 In : Freedberg IM, Eisen AZ, Wolff K, Austen KF,
: 539-43. Goldsmith LA, Katz SI, Fitzpatrick's TB, eds.
2. Bastuji-Garin S, Rzany B, Stern RS, et al. Clinical Dermatology in General Medicine. 5th ed. New York :
classification of cases of toxic epidermal necrolysis, McGraw-Hill 1998 : 1633-42.
Stevens-Johnson syndrome, and erythema multiforme. 15. Fitzpatrick JE, Yokel BE, Hood AF. Mucocutaneous
Arch Dermatol 1993; 129 : 92-6. complications of antineoplastic therapy. In : Freedberg
3. Bronner AK, Hood AF. Cutaneous complications of IM, Eisen AZ, Wolff K, Austen KF, Goldsmith LA,
chemotherapeutic agents. J Am Acad Dermatol 1983; 9 Katz SI, Fitzpatrick's TB, eds. Dermatology in General
: 645-63. Medicine. 5th ed. New York : McGraw-Hill 1998 :
1642-54.
4. Roujeau J-C. Clinical aspects of skin reactions to 16. Moy JA. Cutaneous manifestations of drug abuse. In :
NSAIDS. Scand J Rheumatol Suppl 1987; 65 : 131-4. Freedberg IM, Eisen AZ, Wolff K,
5. Roujeau J-C, Kelly JP, Naldi L, et al. Medication use 17. Austen KF, Goldsmith LA, Katz SI, Fitzpatrick's TB,
and the risk of Stevens-Johnson syndrome or toxic eds. Dermatology in General Medicine. 5th ed. New
epidermal necrolysis. N Engl J Med 1995; 333 : 1600-7. York : McGraw-Hill 1998 : 1654-61.
6. Roujeau J-C, Stern RS. Severe adverse cutaneous 18. Breathnach SM. Drug reactions. In : Champion RH,
reactions to drugs. N Engl J Med 1994; 331 : 1272-85. Burton JL, Burnsth DA, Preathnach SM, eds. Textbook of
7. Shear NH. Diagnosing cutaneous adverse reactions to Dermatology, 6 ed. Oxford : Blackwell Science Ltd.
drugs. Arch Dermatol 1990; 126 : 94-7.s 1998 : 3349-517.
8. Shear NH, Spielberg SP. Anticonvulsant 19. Leenutaphong V, Sivayathorn A, Suthipinitharm P,
hypersensitivity syndrome : in vitro assessment of risk. J Sunthonpalin P. Stevens-Johnson syndrome and toxic
Clin Invest 1988; 82 : 1826-32. epidermal necrolysis in Thailand. Int J Dermatol 1993;
32 : 428-31.
9. Shear NH, Spielberg SP, Grant DM, et al. Differences in 20. Puavilai S, Choonhakarn C. Drug eruptions in Bangkok
metabolism of sulfonamides predisposing to : a 1-year study at Ramathibodi Hospital. Int J Dermatol
idiosyncratic toxicity. Ann Intern Med 1986; 105 : 179- 1998; 37 : 747-51.
84.
10. Wolkenstein P, Charue D, Laurent P, et al. Metabolic 21. Sitakalin C, Duangurai K, Niampradit N, Aunhachoke
predisposition to cutaneous adverse drug reactions. Arch K, Sareebut V. Drug eruptions observed at skin clinic of
Dermatol 1995; 131 : 544-51. Phramongkutklao Hospital: a 14-year study. Thai J
Dermatol 1999; 15: 1-10.
11. Adams RM. Occupational Skin disease. In : Freedberg
IM, Eisen AZ, Wolff K,
2 Puavilai S et al Thai J Dermatol, April-June 2000

You might also like