You are on page 1of 49

สรุปประมวลกฎหมายอาญา ม.

๑ - ๕๘ , ๑๐๗ - ๒๐๘

สถานที่กฎหมายอาญาใช้บังคับ
(๑). หลักดินแดน ( ม.๔ , ๕ , ๖ )
(๒). หลักอำานาจลงโทษสากล ( ม. ๗ )
(๓). หลักบุคคล ( ม. ๘ , ๙ )
(๔). การคำานึงถึงคำาพิพากษาของศาลต่างประเทศ ( ม. ๑๐ , ๑๑ )

ไทย ( ในราชอาณาจักร ) มาเลเซีย ( นอกราชอาณาจักร )

หลักดินแดน
- การกระทำาผิดทั้งหมดอยู่ในราชอาณาจักร ( ม. ๔ ว.๑ )
- การกระทำาผิดบางส่วนในราชอาณาจักร ( ม. ๕ ว.๑ ตอนแรก )
- การกระทำาผิดทั้งหมดนอกราชอาณาจักร แต่ผลเกิดในราชอาณาจักร ( ม. ๕ ว.๑ ตอนหลัง และ
ว.๒ )
- พยายามกระทำาผิดนอกราชอาณาจักร ( ม. ๕ ว.๒ ) ผลน่าจะเกิดในราชอาณาจักร
- ตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน กระทำาผิดนอกราชอาณาจักร โดยความผิดที่ร่วมทำา ถูกใช้ หรือสนับ
สนุนเกิดในราชอาณาจักร ( ม.๖ ) มีการร่วมมือ ใช้ ช่วยเหลืออยู่นอกราชอาณาจักร เพื่อมากระทำาความผิด
ในราชอาณาจักรและได้กระทำาความผิด
- กระทำาความผิดในเรือไทยหรืออากาศยานไทย ( ม.๔ ว.๒ ) กระทำาผิดในเรือไทยหรืออากาศ
ยานไทยอยู่นอกราชอาณาจักร ถือว่ากระทำาผิดในราชอาณาจักร
- ถ้ากระทำาความผิดนอกราชอาณาจักร แต่ตายในเรือไทยหรืออากาศยานไทยให้ถือว่า ไม่ผิด
ตาม ม. ๔ , ๕ , ๖ แต่มีความผิดตาม ม. ๘
หลักอำานาจลงโทษสากล ( ม.๗ )
๑. กระทำาผิดนอกราชอาณาจักร ม. ๗(๑) , ๗(๒) , ๗(๒ ทวิ ) , ๗(๓)
๒. ต้องรับโทษในราชอาณาจักร

หลักบุคคล ( ม.๘ )
๑. กระทำาความผิด ตาม ม.๘ (๑) - (๑๓) อยู่นอกราชอาณาจักรทั้งหมด
๒. ผู้เสียหายหรือผู้กระทำาผิดเป็นคนไทย และร้องขอให้ลงโทษ ตาม ม. ๘ (ก) , (ข).

หลักบุคคลเจ้าพนักงานไทยกระทำาผิด ( ม.๙ )
๑. ผู้กระทำาผิดเป็นเจ้าพนักงานไทย ( อาจเป็นคนต่างด้าวก็ได้ )
๒. กระทำาความผิด ตาม ม. ๑๔๗ - ๑๖๖ และ ๒๐๐ - ๒๐๕
๓. กระทำานอกราชอาณาจักร

หลักการคำานึงถึงคำาพิพากษาของศาลต่างประเทศ ( ม.๑๐ )
ประเด็นที่ต้องพิจารณา
- ศาลไทยไม่มีอำานาจพิจารณาคดีได้อีก
- ศาลไทยมีอาำ นาจพิจารณาคดีอีกครั้งได้โดย
๑. หากพบว่าการกระทำาผิด สามารถใช้ดุลยพินิจในการลงโทษได้
๒. ไม่อาจใช้ดุลยพินิจในการลงโทษได้ ต้องพิจารณาไปตามปกติ
การใช้ดุลยพินิจของศาล
- ลงโทษตามโทษที่ระวางกำาหนดไว้
- ลงโทษน้อยกว่าที่กฎหมายกำาหนด
- ไม่ลงโทษเลยและปล่อยตัวจำาเลยไป
หมายเหตุ - ทั้งนี้ต้องพิจารณาจากโทษที่จำาเลยเคยได้รับมาแล้วจากต่างประเทศ

ศาลไทยพิจารณาอีกไม่ได้
มาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑
- เป็นการกระทำาความผิดตาม ม. ๗ (๒) , ๗(๓) - เป็นการกระทำาความผิดตาม ม. ๔ , ๕ , ๖
๘, ๙
- ศาลต่างประเทศพิพากษาถึงที่สุดให้ปล่อย หรือ - ศาลต่างประเทศพิพากษาถึงที่สุดให้ปล่อย
ผู้กระทำาผิดพ้นโทษจากศาลต่างประเทศ หรือ ผูก้ ระทำาผิดพ้นโทษจากศาลต่างประเทศ

ศาลไทยใช้ดุลยพินิจได้
มาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑
- เป็นการกระทำาความผิดตาม ม. ๗ (๒) , ๗(๓) - เป็นการกระทำาความผิดตาม ม. ๔ , ๕ , ๖
๘, ๙
- ศาลต่างประเทศพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษ - ศาลต่างประเทศพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษ
แต่ยังไม่พ้นโทษ แต่ยังไม่พ้นโทษ
- ผู้กระทำาผิดพ้นโทษ รัฐบาลไทย ได้ร้องขอ
ให้พิจารณาคดี

ศาลไทยใช้ดุลยพินิจไม่ได้
- ม. ๑๐ - ม. ๗(๒) , ๗(๓) , ๘ , ๙
- ศาลต่างประเทศพิพากษาคดีถึงที่สุดให้ปล่อยตัว

พยายามกระทำาความผิดนอกราชอาณาจักร ( หากสำาเร็จ ผิด ม. ๕ )

ไทย ( ในราชอาณาจักร ) มาเลเซีย ( นอกราชอาณาจักร )

ตัวการ - ผู้ใช้ - ผู้สนับสนุน อนู่นอกราชอาณาจักร ( ม.๖ )

ไทย ( ในราชอาณาจักร ) มาเลเซีย ( นอกราชอาณาจักร )


กระทำาผิดในเรือไทย หรือ อากาศยานไทย ( ม. ๔ วรรค ๒ )

เรือไทย หรือ อากาศยานไทย มาเลเซีย ( นอกราชอาณาจักร )

ประเด็นที่ต้องพิจารณา
- ศาลไทยไม่มีอำานาจพิจารณาคดีได้อีก
- ศาลไทยมีอาำ นาจพิจารณาคดีได้อีกครั้งโดย
๑. หากพบว่าการกระทำาผิดสามารถใช้ดุลยพินิจในการลงโทษได้
๒. ไม่อาจใช้ดุลยพินิจในการลงโทษได้ ต้องพิจารณาไปตามปกติ
หมายเหตุ - กรณีตาม ม. ๗ (๑) , ๗ (๒ทวิ ) ได้พิจารณาพิพากษามาแล้วจากต่างประเทศ ( ประเทศไทย
สามารถลงโทษ ( ลงซำ้า ) ได้อีก )
ตัวอย่าง ( EX )
นายดำาทำาร้ายร่างกายนายไมเคิลคนอังกฤษจนบาดเจ็บที่ประเทศฝรั่งเศส ต่อมานายดำาถูกศาลฝรั่งเศส
พิพากษาลงโทษจำาคุก ๑ ปี ศาลไทยจะมีอำานาจพิจารณาคดีและลงโทษได้หรือไม่ อย่างไร
ตอบ - นายดำาพ้นโทษและกลับประเทศไทย ( ลงโทษอีกไม่ได้ตาม ม. ๑๐ )
- นายดำาติดคุกได้ ๔ เดือน ก็หนีกลับมาประเทศไทย ( รับโทษมาไม่ครบ ศาลไทยมีอำานาจพิจารณา
ลงโทษได้อีก ตาม ม. ๑๐ )
- ศาลฝรั่งเศสพิพากษาถึงที่สุดยกฟ้องหรือปล่อยตัวนายดำา ( ศาลไทยลงโทษอีกไม่ได้ ตาม ม.๑๐ )
- ถ้าศาลฝรั่งเศสพิพากษาให้ยกฟ้อง และอัยการยื่นอุทธรณ์ แต่นายดำาหนีกลับมาในประเทศไทย
( ศาลไทยสามารถลงโทษนายดำาได้อีก เพราะว่านายดำาจำาเลยไม่เคยรับโทษมาเลย )
ตัวอย่าง ( EX )
นายดำาลักทรัพย์นายโทนี่คนอเมริกาบนเครื่องบินของสายการบินไทย ขณะจอดอยู่ที่ประเทศอังกฤษ
นายดำาถูกศาลอังกฤษพิพากษาลงโทษจำาคุก ๑ ปี ศาลไทยจะพิจารณาคดีนี้และลงโทษได้อีกหรือไม่ ถ้า
ตอบ - นายดำาพ้นโทษมาแล้ว ( ศาลไทยลงโทษอีกไม่ได้ตาม ม. ๑๑ )
- ศาลอังกฤษพิพากษาคดีถึงที่สุดยกฟ้องนายดำาและปล่อยตัว ( ศาลไทยมีอำานาจพิจารณาพิพากษา
ลงโทษได้อีก ( ลงซำ้า ) ตาม ม. ๑๑ )
ตัวอย่าง ( EX )
นายหลีกับนายเหล็งเป็นคนจีนอยู่ที่ฮ่องกง นายหลีจ้างนายเหล็งให้มาฆ่านายฮ้อคนจีนซึ่งอยู่ในประ
เทศไทย นายเหล็งตกลงรับจ้างและเดินทางมาประเทศไทยเพื่อฆ่านายฮ้อ แต่เมื่อนายเหล็งพบนายฮ้อจำาได้
ว่าเป็นเพื่อนกัน จึงเปลี่ยนใจไม่ฆ่าและบอกเรื่องให้ทราบ นายฮ้อจึงจ้างนายเหล็งให้กลับไปฆ่านายหลี นาย
เหล็งกลับไปที่ฮ่องกงใช้ปืนยิงนายหลีเพื่อฆ่า แต่กระสุนปืนไม่ถูกนายหลี
ดังนี้ นายหลี นายเหล็ง และนายฮ้อ มีความผิดถูกลงโทษในราชอ่ณาจักรได้หรือไม่
ตอบ - นายหลี ( ไม่ผดิ ตามกฎหมายไทย )
- นายฮ้อเป็นผู้ใช้ ( ผิดตาม ม. ๘๔ , ๘๐ , ๔ วรรค ๑ , ๒๘๙ (๔) ลงโทษ ตาม ม. ๔ วรรค ๑ )
- นายเหล็ง ( ผิดตาม ม. ๒๘๙ (๔) , ๘๐ , ๖ )

ประเทศไทย ฮ่องกง ( นอกราชอาณาจักร )

ความผิดกี่ยวกับเจ้าพนักงาน
๑. ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง ( ม. ๑๓๖ - ๑๖๖ )
๒. ความผิดเกี่ยวกับความยุติธรรม ( ม. ๑๖๗ - ๒๐๕ )
เจ้าพนักงาน
๑. แต่งตั้งเป็นข้าราชการ ปฎิบัติหน้าที่ราชการ
๒. มีกฎหมายระบุไว้โดยเฉพาะ
- ลูกจ้างไม่ใช่เจ้าพนักงานตามกฎหมาย แต่สามารถเป็นเจ้าพนักงานได้โดยเฉพาะปรากฎ
ตาม ฏีกาที่ ๕๒๓ / ๒๔๙๙ โดยปกติจะถือว่าผู้ใดเป็นเจ้าพนักงานผู้นั้นจะต้องเป็นข้าราชการตามกฎหมาย
- ฏีกาที่ ๒๔๓ / ๒๕๐๓ จำาเลยทั้ง ๔ คนได้รับการแต่งตั้งโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุต
สาหกรรมให้ปฎิบัติงานในโรงงานสุรา ตามระเบียบของโรงงานสุรา ได้รับเงินเดือนจากรายได้ของโรง
งานสุรา ไม่ใช่รับจากงบประมาณแผ่นดิน ก็หามีผลทำาให้ฐานะของจำาเลยเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมายไม่
- ฎีกาที่ ๒๕๘๔ / ๒๕๒๔ กรรมการบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ไม่ใช่เจ้าพนักงานตามกฎ
หมาย
- ฏีกาที่ ๑๔๗๘ / ๒๕๒๕ ข้าราชการได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการจัดการโรงพิมพ์ส่วนท้อง
ถิ่นสังกัดกรมการปกครอง ซึ่งไม่เป็นส่วนราชการ ข้าราชการเหล่านั้นไม่เป็นเจ้าพนักงาน
- เจ้าอาวาสเป็นเจ้าพนักงานได้โดยกฎหมายระบุเฉพาะ

กลุ่มมาตราที่เกี่ยวข้อง
๑. มาตรา ๑๓๗ แจ้งความเท็จ
๒. มาตรา ๑๖๒ เจ้าพนักงวานทำาเอกสารเท็จ
๓. มาตรา ๒๖๕ ปลอกสารสิทธิหรือเอกสารราชการ
๔. มาตรา ๒๖๗ แจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อความอันเป็นเท็จ
๕. มาตรา ๒๖๘ ใช้เอกสารปลอม / เท็จ
- ฎีกาที่ ๑๐๐๑ / ๒๕๔๕ ลงลายมือชื่อปลอมในแบบผู้ยื่นคำาขอมีบัตรประชาชนใหม่ เป็นการ
ปลอมเอกสารราชการ ตาม ม. ๒๖๕ แจ้งความเท็จตาม ม.๑๓๗ และเมื่อนำาไปใช้ผิด ม. ๒๖๘
- ฎีกาที่ ๒๑๕๙ / ๒๕๔๕ ปลอมบัตรประชาชน ผิดมาตรา ๒ มาตรา ๑๓๗ , ๒๖๕ , ๒๖๗ ,
268
๖. มาตรา ๑๗๒ , ๑๗๓ แจ้งเท็จคดีอาญา
๗. มาตรา ๑๗๕ ฟ้องเท็จคดีอาญา
๘. มาตรา ๑๗๗ เบิกความเท็จ
๙. มาตรา ๑๗๔ แจ้งความเท็จเพื่อแกล้งให้รับโทษ
๑๐. มาตรา ๑๗๙ ทำาพยานหลักฐานเท็จ

กฎหมายเกี่ยวกับเจ้าพนักงาน

เพื่อคุ้มครอง เพื่อควบคุม
๑. ดูหมิ่นเจ้าพนักงาน ตาม ม. ๑๓๖ ๑. โดยทุจริต
๒. แจ้งความเท็จ ตาม ม. ๑๓๗ ๑.๑. เจ้าพนักงานยักยอก ตาม ม. ๑๔๗
๓. ต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน ตาม ม. ๑๓๘ ๑.๒. เจ้าพนักงานแกล้งจับเรียกเงิน ม. ๑๔๘
๔. ขืนใจเจ้าพนักงาน ตาม ม. ๑๓๙ ๑.๓. เจ้าพนักงานเรียกสินบน ตาม ม. ๑๔๙
๕. ให้สินบนเจ้าพนักงาน ตาม ม. ๑๔๐ ๒. โดยทุจริต + โดยมิชอบ ( บททั่วไป ) ม.๑๕๗
๖. ขัดขืนคำาสั่งหรือหมาย ตาม ม. ๑๖๘ , ๑๖๙ , ๒.๑. ม.๑๕๘
๑๗๐ , ๑๗๑ ๒.๒. ม.๑๖๑
๗. แจ้งเท็จ , ฟ้องเท็จ ตาม ม. ๑๗๒ , ๑๗๓ , ๒.๓. ม. ๑๖๒
๑๗๕ , ๑๗๗ ๒.๔. ม. ๑๖๕
๘. เบิกความเท็จ ตาม ม. ๑๗๙ , ๑๘๐ ๓. โดยมิชอบ
- ม. ๑๕๘ - ๑๖๖

มาตราที่ชอบออกข้อสอบบ่อยๆ
- มาตรา ๑๔๙ , ๑๕๗ , ๑๖๑ , ๑๗๒ , ๑๗๓ , ๑๗๔ , ๑๗๕ , ๑๗๗ , ๑๗๙ , ๑๘๐ , ๒๐๐
มาตราที่ไม่เคยออกข้อสอบ แต่คาดว่าจะออกข้อสอบ
- มาตรา ๑๘๔ , ๑๘๘ , ๑๘๙
- ฎีกาที่ ๓๔๗๐ / ๒๕๔๓ จำาเลยทั้งสามพร้อมกันขู่เข็ญ เรียกร้อง เอาเงินจากผู้เสียหายเพื่อละเว้นจากการท่า
ไม่จับกุมผุ้เสียหายไปดำาเนินคดี จนผู้เสียหายกลัวว่าจะถูกจับกุมจะเป็นอันตรายต่อเสรีภาพของตนจึงยอมจะ
ให้เงินแก่จำาเลยทั้งสาม ถือว่าเป็นการกระทำาผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานปฎิบัติหรือละเว้นปฎิบัติหน้าที่โดยทุจริต
ตาม ปอ.มาตรา ๑๕๗ ซึ่งเป็นบททั่วไป และฐานกรรโชกทรัพย์ตาม ม. ๓๓๗ วรรคแรกด้วย หาใช่เป็นเรื่องที่
เมื่อเป็นความผิดตาม ม. ๑๔๔ และจะไม่เป็นความผิดตาม ม. ๑๕๗ และม. ๓๓๗ ด้วยไม่ เพียงแต่เมื่อเป็นความ
ผิดตาม ม. ๑๔๙ ซึ่งเป็นบทเฉพาะ และ มาตรา ๑๕๗ เป็นบททั่วไป จึงลงโทษเฉพาะ ม. ๑๔๙
- ฎีกาที่ ๔๔๓๖ / ๒๕๓๑ เจ้าพนักงานมีอำานาจสืบสวนสอบสวนคดีอาญาได้รับแจ้งความว่ามีคนร้ายลักทรัพย์
ไป แล้วไม่รับแจ้ง และเมื่อจับผู้กระทำาผิดได้แล้วกลับปล่อยตัวไป มีความผิดตาม ม.๑๕๗ , ๒๐๐วรรคแรก ลง
โทษตาม ม. ๑๕๗ ซึ่งเป็นบทหนัก
- การคำานวณค่าใช้จ่ายในการจดทะเบียน ผิด ม. ๑๔๙
- ไม่เสนอเรื่องราวการขอจดทะเบียนต่อไป ผิด ม. ๑๕๗
- การออกใบแทน น.ส.๓ แต่กรอกข้อความไม่ครบถ้วน ผิด ม. ๑๖๑
- ฎีกาที่ ๗๘๓๖ - ๗๘๓๗ / ๒๕๔๔ จำาเลยเป็นเจ้าพนักงานตำารวจมีอำานาจหน้าที่ในการจับกุมผู้กระทำาผิด แต่
จำาเลยกลับเป็นผู้ร่วมกระทำาผิดด้วยการร่วมเล่นการพนันไพ่รัมมี่ แล้วจำาเลยไม่จับกุมผู้ร่วมเล่นไพ่รัมมี่ จำาเลยไม่
ผิด ม. ๑๕๗ เนื่องจากว่าไม่กอ่ ให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใดแต่อย่างใด ฉะนั้นผูร้ ่วมเล่นการพนันและสำานัก
งานตำารวจแห่งชาติ จึงไม่เป็นผู้เสียหาย
- ฎีกาที่ ๗๗๒๘ - ๗๗๓๑ / ๒๕๔๔ นายแดงและดำาเป็นอาจารย์ประจำามหาวิทยาลัยของรัฐแห่งหนึ่งมาสอนนัก
ศึกษาตามวิชาที่ได้รับมอบหมาย และไม่ได้ลงเวลามาสอนทั้งคู่ นายเหลืองซึ่งเป็นอาจารย์หัวหน้าภาควิชาที่มีหน้า
ที่รับรองการลงเวลาเพื่อขออนุมัติเบิกจ่ายค่าตอบแทนพิเศษ ได้ทำาการรับรองการมาทำาการสอนและได้ทำาเรื่อง
ขออนุมัติเบิกจ่ายค่าตอบแทนพิเศษให้นายดำา แต่ไม่รับรองการมาสอนและไม่ทำาเรื่องขออนุมัติเบิกค่าตอบแทน
พิเศษให้นายแดง ทั้งยังขีดฆ่าชื่อนายแดงออก นายเหลืองมีความผิดฐานปฎิบัติหรือละเว้นการปฎิบัติหน้าที่โดยมิ
ชอบ ตาม ม. ๑๕๗
- ฎีกาที่ ๕๖๗๔ / ๒๕๔๔ จำาเลยลักเอาไปเสียซึ่งเอกสารเช็คธนาคารของผู้เสียหาย แล้วนำาไปกรอกข้อความ
และปลอมลายมือชื่อของผู้เสียหาย ซึ่งไม่ใช่เอกสาร แต่นำาไปกรอกและลงลายมือชื่อ ไม่ผิดตาม ม. ๑๘๘ แต่
ผิดตาม ม. ๓๓๕ (๑๑ ) , ๒๖๖ (๔) และ ๒๖๘ วรรคแรก ( เทียบเคียงฎีกาที่ ๓๐ / ๒๕๓๘ )

ข้อสอบกฎหมายอาญา ๑ ( ม. ๑ - ๕๘ และ ๑๔๗ - ๒๐๕ )


- ให้ดูฎีกาปี ๔๔ - ๔๕ ( ม. ๑๓๘ ฎีกาที่ ๒๔๐๑ / ๒๕๔๕ ฎีกาที่ ๔๐๔๕ / ๒๕๔๕ )
- ให้ดูหลักกฎหมาย ม.๑๓๘ , ๑๔๗ , ๑๔๙ , ๑๕๗ , ๑๖๑ กลุ่มเท็จ ม. ๑๗๕ , ๑๗๗ , ๑๗๙ , ๑๘๐ ,
๒๐๐ , ๑๘๔ , ๑๘๘ , ๑๘๙
- ม. ๑๔๗ ฎีกาที่ ๑๕๓ / ๒๕๔๕ เจ้าพนักงานเก็บเงินค่าทางด่วนมีหน้าที่ แต่ไม่กดเครื่องคอมพิวเตอร์
มีความผิดตาม เป็นเจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ ตาม ม.๑๔๗

THE END
สรุปประมวลกฎหมายอาญา ม. ๕๙ - ๑๐๖

คำานำา
- ความผิดเกี่ยวกับเจ้าพนักงาน อ. เกียรติขจร ฯ
- ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ อ. ไกรฤกษ์ เกษมสันต์
- ความผิดตาม ป.อาญา ม. ๑๔๘ ต้องประกอบกับ ม. ๓๓๗ ( กรรโชกทรัพย์ ) อยู่เสมอ
- ความผิดตาม ป.อาญา ม. ๑๔๙ ต้องไม่ประกอบกับ ม. ๓๓๗ ( กรรโชกทรัพย์ ) เพราะว่าองค์ประกอบ
ไม่เข้าเจตนาที่จะข่มขืนใจเพื่อที่จะจับกุม และให้ดูพฤติการณ์ในแต่ละเรื่องไป
องค์ประกอบความผิด
๑. ผู้กระทำา
๒. ผู้ถูกกระทำา
๓. วัตถุประสงค์ที่กระทำา
ฎีกาที่ ๗๖๙ / ๒๕๔๐ ( ปลอมเอกสารสิทธิ )
จำาเลยทำาหนังสือกู้ยืมรวมทั้งลายมือ ส. ด้วยตนเองภายหลังที่ ส.ตายไปแล้ว และใจความในสัญญา
กู้ยืมนั้นมีใจความว่า ส.กู้ยืมเงินจำาเลย ถ้า ส.ไม่คืนเงินยอมโอนที่ดินของ ส.ให้ นอกจากข้อความในสัญญาดัง
กล่าวนั้นไม่เป็นความจริงแล้วยังน่าเกิดความเสียหายทายาทของ ส. ทั้งจำาเลยทำาเอกสารดังกล่าวขึ้นเพื่อใช้อ้าง
กับ ด.ผู้ทำาไฟไหม้สวนยางพาราของ ส.ว่าที่ดินดังกล่าวนัน้ เป็นของ ส.เพื่อจะใช้เรียกร้องค่าเสียหาย การกระทำา
ของจำาเลยจึงเป็นการปลอมเอกสารสิทธิ
ฎีกาที่ ๑๒๓๗ / ๒๕๔๔ ( แจ้งให้ จพง.จดข้อความอันเป็นเท็จ )
ขณะที่จำาเลยจดทะเบียนสมรสกับ ส. จำาเลยไม่มีคู่สมรสเพราะจำาเลยจดทะเบียนหย่ากับ ค.แล้ว
ก่อนหน้านั้น การจดทะเบียนสมรสของจำาเลยกับ ส. จึงไม่เป็นการฝ่าฝืนเงื่อนไขการสมรส แม้จำาเลยจะแจ้งต่อ
เจ้าพนักงานว่าเคยสมรสแต่ไม่เคยจดทะเบียน ทั้งๆที่ความจริงนั้นจดทะเบียนกับ ค. การกระทำาความผิดของจำา
เลยจึงไม่มีความผิด
ฎีกาที่ ๑๕๖๘ / ๒๕๒๑ ( พยามยามฉ้อโกง )

ฎีกาที่ ๑๑๐๔ / ๒๕๔๕ ( ลักทรัพย์ )


ฎีกาที่ ๔๒๐๘ / ๒๕๔๓ ( ลักทรัพย์ )

ฎีกาที่ ๑๘๘๐ / ๒๕๔๒ ( ลักทรัพย์ )

ตัวอย่าง ( EX )
นายแดงว่าจ้างนายดำาไปทำาร้ายนายขาว ก่อนนายดำาจะลงมือทำาร้ายร่างกายนายแดงมาบอก
ว่าจะดูต้นทางให้นายดำาตกลง เมื่อนายขาวเดินไปยังสถานที่ดักซุ่มรออยู่ นายดำาชกต่อยนายขาวบาดเจ็บ
โดยนายแดงดูต้นทางอยู่ใกล้ๆ นายขาวสู้นายดำาไม่ได้แล้วจึงวิ่งหลบหนี แต่นายดำาได้วิ่งไล่ไปทำาร้ายนาย
ขาว นายแดงเห็นว่ารุนแรงเกินไปจึงเข้าห้ามปราม แต่นายดำาไม่ยอมหยุดกลับได้ตามไปทำาร้ายนายขาว
อีก จนนายขาวถึงแก่ความตาย ดังนี้ให้วินิจฉัยความรับผิดของนายดำาและนายแดง
ตอบ

ผลโดยตรง + เหตุแทรกแซง EX ตั้งใจจะไปฆ่า แต่กลับขับรถเสียหลักเป็นเหตุให้ผุ้ถูกกระ


ทำาถึงแก่ความตายนั้น เป็นผลโดยตรง แต่ตายเป็นเพราะเหตุแทรกแซง
หมายเหตุ เหตุเฉพาะตัว ( จนท.กับตัวบท ) คุณสมบัติเฉพาะตัวของผู้กระทำา เป็นตัวการ
ผู้ใช้ ไม่ได้ เช่น ตัวบทบัญญัติว่า " ผู้ใด , หญิงใด " ตาม ป.อาญา ม. ๒๗๖ , ๒๗๗ ( ต้องดูอายุ ๑๕ ปีบริ
บูรณ์ เป็นเกณฑ์ มีตัวอย่างฏีกาดังนี้.-
ฎีกาที่ ๑๒๘๕ / ๒๕๔๔

ฎีกาที่ ๒๒๖๙ / ๒๕๔๔

ฎีกาที่ ๗๖๗ / ๒๕๔๔


ตัวอย่าง ( EX )
นายแดงใช้นายขาวไปข่มขืนภรรยาของตนเอง
ตอบ นายขาวผิด ม. ๒๗๖ และนายแดงผิด ม.๒๗๖ , ๘๔
- นายแดงดูต้นทางใกล้ๆ ( เป็นตัวการ ม. ๘๓ )
- นายแดงใช้นายขาวไปเผาบ้านของตนเอง ( นายขาวผิด ม. ๒๑๗ , ๒๑๘ และนายแดงผิด
ม. ๘๔ )
ตัวอย่าง ( EX )
นายเหลืองต้องการฆ่านายดำา จึงไปดักซุ่มยิงในตอนเช้ามืด เหลืองเห็นฟ้าบิดาของตนเดินมา
นายเหลืองจึงใช้ปืนยิงไปที่นายฟ้าโดยเข้าใจว่าเป็นนายดำา นายฟ้าหลบทันกระสุนปืนไม่ถูกฟ้าแต่พลาด
ไปถูกม้าของนายแดงซึ่งนายเขียวกำาลังขี่อยู่ ปรากฎว่าเมื่อม้าถูกกระสุนปืนได้สบัดตัวอย่างแรงทำาให้
นายเขียวตกลงจากหลังม้าศรีษะนายเขียวกระแทกพื้นอย่างแรงได้รับบาดเจ็บสาหัส และม้าของนายแดง
ตาย ดังนี้ให้วินิจฉัยว่าเหลืองจะมีความผิดฐานใดหรือไม่
ตอบ - นายเหลืองรับผิดต่อนายดำา ( ไม่ต้องรับผิด เนือ่ งจากเจตนาได้โอนไปที่นายฟ้าทัง้ หมด )
- นายเหลืองรับผิดต่อนายฟ้า ( รับผิด ตาม ม. ๒๘๙ (๔) , ๘๐ , ๖๑ )
- นายเหลืองรับผิดต่อนายแดง ( ไม่ต้องรับผิด เนือ่ งจากเป็นการกระทำาโดยประมาท ซึง่ กฎ
หมายไม่ได้บัญญัติไว้เป็นความผิดเกี่ยวกับ ม. ๓๕๘ ว่ากระทำาโดยประมาท )
- นายเหลืองรับผิดต่อนายเขียว ( รับผิด ตาม ม. ๒๘๙(๔) , ๘๐ , ๖๐ )
ตัวอย่าง ( EX )
นายเอกต้องการฆ่านายจันทร์ซึ่งเป็นคู่แข่งทางการเมือง จึงไปว่าจ้างนายโทให้ฆ่านายจันทร์
แต่นายโทไม่มีอาวุธ จึงไปขอยืมจากนายตรีโดยอ้างว่าจะนำาไปล่าสัตว์ นายตรีรู้ความจริงจากนายเอก
ว่านายโทจะไปฆ่านายจันทร์ จึงให้ยืมอาวุธปืนไป นายโทนำาอาวุธปืนดังกล่าวไปแอบซุ่มดักยิงนาย
จันทร์ในป่าลึกเพราะทราบว่านายจันทร์จะผ่านทางนั้น นายโทเห็นนายอังคารคู่แฝดของนายจันทร์
ขับรถยนต์กระบะผ่านมาที่ตรงจุดที่ซุ่มรออยู่ นายโทเข้าใจผิดคิดว่าเป็นนายจันทร์จึงใช้อาวุธปืนยิง
นายอังคารล้มทรุดลงร้องครวญคราง นายโทเกิดความสงสารจึงอุ้มนายอังคารขึ้นรถยนต์โดยสารไป
ให้แพทย์รักษาที่โรงพยาบาล นายอังคารจึงไม่ถึงแก่ความตาย เพียงแต่ได้รับอันตรายสาหัสเท่านั้น
ให้วินิจฉัยว่านายเอก นายโท และนายตรี มีความผิดและต้องรับโทษตามประมวลกฎหมายอา
ญาในฐานใด
ตอบ - นายเอกรับผิดต่อนายอังคาร ( รับผิด ตาม ม.๒๘๙ (๔) , ๘๐ , ๘๔ วรรค ๒ )
- นายโทรับผิดต่อนายอังคาร ( รับผิด ตาม ม. ๒๘๙ (๔) , ๘๐ , ๖๑ , ๕๙ วรรค ๒ ,๓ แต่อ้าง
ม. ๘๒ ได้ )
- การยับยั้งไม่กระทำาการ ตาม ม. ๘๒ ต้องกระทำาโดยสมัครใจ
ตัวอย่าง ( EX )
เด็กอายุ ๑๔ ปีต้องการฆ่านายดำาซึ่งเป็ฯศัตรูฆ่าพ่อของตน โดยปืนจ้องไปที่นายดำาในขณะนั้น
เห็นเจ้าหน้าที่ตำารวจผ่านมา เด็กจึงลดอาวุธปืนลงไม่ยิง เด็กรับผิดฐานใด
ตอบ เด็กไม่ตอ้ งรับโทษตามม. ๗๔ ( อายุเด็ก ๑๔ ปีกระทำาผิด) แต่อ้าง ม. ๘๒ ไม่ได้เนื่องจากไม่สมัคร
ใจยับยั้งกระทำาผิด

ความแตกต่างระหว่าง ม.๖๘ , ๖๗ , ๗๒
การป้องกัน ม. ๖๘ ความจำาเป็น ม. ๖๗ บันดาลโทสะ ม. ๗๒
๑. ไม่ต้องรับผิด ๑. ไม่ต้องรับโทษ ๑. ศาลจะลงโทษน้อยกว่ากฎหมาย
กำาหนดเพียงใดก็ได้
- มีขอบเขตสมควรแก่เหตุ - มีขอบเขตสมควรแก่เหตุ ตาม ม.๖๙ - ไม่มีเขอบเขตว่าสมควรแก่เหตุ
ตาม ม. ๖๙ หรือไม่
๒. ภยันตรายต้องเกิดจากการ ๒. เกิดจากการประทุษร้ายต่อกฎหมาย ๒. กระทำาโดยเหตุอันไม่เป็นธรรม
ประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎ หรือไม่ก็ได้ เกิดจากละเมิดต่อกฎหมายหรือไม่
หมายอาญาหรือแพ่งก็ได้ - เกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อ ก็ได้
- เป็นการป้องกันโดยประมาทกฎหมาย เพื่อให้ตนเองพ้นภัยภยันตราย - กระทำาหลังจากที่เหตุนั้นได้ผ่าน
ก็ได้ ที่ใกล้จะถึง พ้นไป แล้วอ้าง ม. ๗๒
- การกระทำาป้องกันต่อทรัพย์ - ต้องกระทำาต่อบุคคลที่ ๓
หรือสิ่งของ บุคคลอื่นที่กฎ - เพื่อให้ตนหรือผู้อื่นพ้นภยันตรายที่ใกล้
หมายบัญญัติไว้เป็นความผิด จะถึง
เจ้าของอ้างป้องกันได้

- การกระทำาครั้งเดียวอาจะเป็น การป้องกัน หรือ บันดาลโทสะ ก็ได้ ( อย่างใดอย่างหนึ่ง )


- ถ้าเหตุข้อเท็จจริงอ้าง ม. ๖๘ แต่ผู้กระทำาเข้าใจว่าอ้าง ม. ๖๗ ( อ้างความจำาเป็น ตาม ม. ๖๗ )
- ถ้าเหตุข้อเท็จจริงอ้าง ม. ๖๗ แต่ผู้กระทำาเข้าใจว่าอ้าง ม. ๖๘ ( อ้างการป้องกัน ตาม ม. ๖๘ )
- การกระทำาต่อบุคคลที่ ๓ อ้าง ม. ๖๗ เท่านั้น
- การอ้างป้องกันตาม ม. ๖๘ ได้นั้นระหว่างเวลาเริ่มภยันตรายได้เกิดขึ้นและก่อนที่จะสิ้นสุดลง แต่ถ้าสิ้นสุด
แล้วได้กระทำาอ้างบันดาลบโทสะตาม ม. ๗๒
- ฎีกาที่ ๗๒๘ / ๒๕๔๑ ( ม.๖๘ ) จำาเลยติดตามไปเอาสร้อยที่ผตู้ ายลักขโมยไปโดยติดตามไปและใช้อาวุธปืน
ยิงผู้ตาย อ้าง ม. ๖๘ ได้ติดตามกระชั้นชิดต่อเนื่องเหตุเกิดขณะนั้น
- ฎีกาที่ ๑๐๔๘ / ๒๕๑๔ จำาเลยออกตรวจท้องที่พบผู้ตายกับพวกถืออาวุธไม้หลายคน และผู้ตายกับพวกได้รุมทำา
ร้ายจำาเลย แล้วจำาเลยได้วิ่งหนีผู้ตายกับพวกวิ่งติดตาม แล้วจากนั้นจำาเลยจึงชักอาวุธปืนยิงผู้ตายถึงแก่ความตาย
การกระทำาดังกล่าวได้ผ่านพ้นไปแล้ว จำาเลยผิด ม. ๒๘๘ แต่อ้างบันดาลโทสะ ตาม ม. ๗๒ ได้
- ฎีกาที่ ๕๖๙๘ / ๒๕๓๗ จำาเลยที่ ๑ บิดาของจำาเลยที่ ๒ ได้สมัครใจทะเลาวิวาทกับผู้เสียหาย จำาเลยที่ ๒ ได้เข้า
ห้ามปราม แต่ผู้เสียหายได้เตะจำาเลยที่ ๑จนล้มลง และผู้เสียหายได้ตามเข้าไปทำาร้ายจำาเลยที่ ๑ อีก จำาเลยที่ ๒ จึง
ทำาร้ายผู้เสียหายจนได้รับบาดเจ็บ จำาเลยที่ ๒ อ้างบันดาลโทสะตามม.๗๒ ได้ แต่อ้างการป้องกันตาม ม. ๖๘ ไม่
ได้เนื่องจากจำาเลยที่ ๒ มัส่วนร่วมในการกระทำาผิด และจำาเลยที่ ๑ ก็อ้างไม่ได้
สรุปประมวลกฎหมายอาญา ม. ๒๐๙ - ๒๘๗

๑. ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน ( ม. ๒๐๙ - ๒๑๖ )


๒. ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน ( ม. ๒๑๗ - ๒๓๙ )
๓. ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลงเงินตรา ( ม. ๒๔๐ - ๒๔๖ )
๔. ความผิดเกี่ยวกับดวงตรา แสตมป์ และต๋ว ( ม. ๒๕๐ - ๒๖๓ )
๕. ความผิดเกีย่ วกับเอกสาร ( ม. ๒๖๔ - ๒๖๙ )
๕. ความผิดเกีย่ วกับเพศ ( ม. ๒๗๖ - ๒๘๗ )

ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน

อั้งยี่ ( ม. ๒๐๙ ) มีหลักดังนี.้ -


๑. เป็นสมาชิกของคณะบุคคล ( ตั้งแต่ ๒ คนขึน้ ไป การเข้ามีสถานะเดียวกัน เท่าเทียมกัน )
๒. ปกปิดวิธีการดำาเนินการ
๓. มีความมุง่ หมาย เพื่อการมิชอบด้วยกฎหมาย
- ฎีกาที่ ๘๖๕ / ๒๔๖๐ การที่บุคคลหลายคนเข้าไปเพื่อช่วยเหลือในกิจการไม่ข่มเหง รังแก
ซึ่งกันและกัน พวกเดียวกัน ถ้าทำาผิดยอมให้หัวหน้าเฆี่ยนตี ไม่ผิดฐานอั้งยี่ ตาม ม. ๒๐๙ ( เทียบเคียงฎีกา
ที่ ๑๖ / ๒๔๖๓ และ ๖๑๖ / ๒๔๘๒ )
- ฎีกาที่ ๑๑๗๖ / ๒๕๔๓ จำาเลยเข้าเป็นสมาชิกของกำาลังติดอาวุธโจรก่อการร้ายขบวนการ
บี อาร์ เอ็น กลุ่มนาย อ. มีพฤติการณ์กระทำาความผิดกฎหมายเกี่ยวกับการแบ่งแยกดินแดนจังหวัดชายแดน
ภาคใต้โดยเรียก ค่าคุ้มครอง ซุ่มโจมตีเจ้าหน้าที่ของรัฐ อันเป็นคณะบุคคลซึ่งปกปิดวิธีการดำาเนินการและ
มีความมุ่งหมายเพื่อการอันมิชอบด้วยกฎหมาย จึงมีความผิดฐานอั้งยี่ ตาม ปอ. ม. ๒๐๙ วรรคแรก
๔. รัฐเท่านั้นเป็นผู้เสียหาย

ซ่องโจร ( ม. ๒๑๐ ) มีหลักดังนี.้ -


๑. สมคบกันตั้งแต่ ๕ คนขึ้นไป ( คบคิด , ปรึกษา )
- ฎีกาที่ ๔๕๔๘ / ๒๕๔๐ จำาเลยที่ ๑ - ๓ กับพวกรวมทั้งหมด ๖ คนวางแผนกันปล้นทรัพย์
ของผู้เสียหายที่ ๒ ต่อมาจำาเลยที่ ๔ กับพวกไปปล้นร้านทองของผู้เสียหายที่ ๒ ตามที่ได้ร่วมกันวางแผน
โดยจำาเลยที่ ๑ - ๓ ไม่ได้ไปร่วมปล้นด้วย จำาเลยที่ ๑ - ๓ จึงมีความผิดร่วมกันปล้นทรัพย์กับจำาเลยที่ ๔ ตาม
ม. ๒๑๓ อีกฐานหนึ่ง การกระทำาดังกล่าวจึงเป็นความผิดตาม ม. ๒๑๐ , ๒๑๓ , ๓๔๐ กรรมเดียวผิดกฎหมาย
หลายบทลงบทหนัก ตาม ม. ๙๐ ลง ม. ๓๔๐ , ๘๓
๒. เพื่อกระทำาความผิดอย่างหนึ่งอย่างใดที่บัญญัติไว้ในภาค ๒ ( ม. ๑๐๗ - ๓๖๖ )
- ฎีกาที่ ๔๙๘๖ / ๒๕๓๓ จำาเลยหลายคนที่ถูกจับ ไปเจรจากับเจ้าพนักงานตำารวจเกี่ยวกับรถ
จักรยานยนต์ที่ลักขโมยมา โดยไม่ได้คบคิดกันมาก่อน ต่างคนต่างทำาในเรื่องเดียวกัน ไม่ผิดซ่องโจรตาม ม.
๒๑๐ แต่อย่างใด
๓. ความผิดนั้นมีกำาหนดโทษ ( จำาคุกอย่างสูงตั้งแต่ ๑ ปี ขึ้นไป )
- ฎีกาที่ ๑๗๑๙ / ๒๕๓๔ จำาเลย ๕ คนปรึกษากันว่าจะไปปล้นรถจักรยานยนต์ ผิดฐานซ่อง
โจร ตาม ม.๒๑๐
- ฎีกาที่ ๖๓๗ / ๒๕๓๔ จำาเลย ๖ คนปรึกษาพูดคุยกันในโรงแรมแห่งหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องจะไป
ทำางานกันในวันรุ่งขึ้นเวลา ๐๙.๐๐ น. โดยแบ่งเป็น ๒ สาย สายหนึง่ ไปที่ตลาดโคกมะตูม และอีกสายหนึ่งไป
ที่ห้างสรรพสินค้าท็อปแลนด์ ระหว่างที่พูดคุยกันอยู่นั้นก็ได้มีการนำาสร้อยเส้นใหญ่ออกมาแสดงวิธีการทำา
งาน การกระทำาดังกล่าวชี้ไม่ให้เห็นได้ว่าจำาเลยทั้ง ๖ ร่วมกันเพื่อวางแผนฉ้อโกงแต่อย่างใด จำาเลยทั้ง ๖ คน
ไม่มีความผิดฐานซ่องโจร ตาม ม. ๒๑๐

สมาชิกอั้งยี่หรือซ่องโจรซึ่งไม่ได้ร่วมลงมือกระทำาผิดโดยตรง ( ม.๒๑๓ )

๑. สมาชิกอั้งยี่ หรือ ซ่องโจร คนหนึ่งคนใดได้กระทำาความผิดตามมุ่งหมายของอั้งยี่ หรือ ซ่องโจร


- ต้องเป็นเรื่องที่ได้ตกลงกันว่าจะกระทำาผิด ( ถ้าเป็นเรือ่ งอื่นไม่ต้องด้วย ม. ๒๑๓ )
- ฎีกาที่ ๑๑๖ / ๒๔๗๑ พรรคพวกสมาชิกซ่องโจรตกลงกันจะไปปล้นทรัพย์ ก่อนจะไป
ได้ทำาการบวงสรวงทำาพิธี ขณะที่ทำาพิธีนั้นเผอิญมี นาย ส. ผ่านมาเห็นการทำาบวงสรวงดังกล่าว สมาชิก
ในกลุ่มคนหนึ่งจึงได้ชักปืนยิงนาย ส.ถึงแก่ความตาย ดังนั้นสมาชิกในกลุ่มคนอื่นจึงไม่ต้องร่วมรับผิด
ด้วย ตาม ม. ๒๑๓ เป็นการกระทำานอกเหนือเจตนาที่ได้ตกลงประชุมกันเอาไว้ ( ข้อสอบเนติ สมัยที่ ๔๖ )
๒. สมาชิกที่อยู่ด้วยในขณะกระทำาผิดหรืออยู่ด้วยในที่ประชุม แต่ไม่คัดค้านในการตกลงให้กระทำา
ผิดนั้น และบรรดาหัวหน้า , ผู้จัดการ หรือผู้มีตำาแหน่งหน้าที่ในอั้งยี่หรือซ่องโจร

ก่อให้เกิดความวุ่นวายในบ้านเมือง ( ม.๒๑๕ )
๑. ผู้ใดมั่วสุม ( ตั้งแต่ ๑๐ คนขึน้ ไป )
๒. ใช้กำาลังประทุษร้าย ขู่เข็ญว่าจะใช้กำาลังประทุษร้าย หรือกระทำาการอย่างหนึ่งอย่างใด ( ให้เกิด
การวุ่นวายขึ้นในบ้านเมือง )
- ฎีกาที่ ๗๗๒ / ๒๔๘๒ ป. กับ จ. จำาเลยทั้ง ๒ คนเป็นผู้ริเริ่มชักชวนนักศึกษาให้มาชุมนุม
กัน ต่อมาได้มีการกล่าวปราศรัยโจมตีผู้ว่าราชการจังหวัด เสร็จแล้วได้มีการจัดตั้งหน่วยฟันเฟื่อง แล้วได้มี
การขว้างปาสิ่งของแล้วมีการเผาจวนผู้ว่าราชการจังหวัด การกระทำาดังกล่าวของ ป., จ และนักศึกษาเป็น
ความผิดตาม ม. ๒๑๕ ( เทียบเคียง ฎีกาที่ ๒๐๓๔ - ๒๐๔๑ / ๒๕๒๗ )
- ฎีกาที่ ๒๓๘๗ / ๒๕๓๖ จำาเลยกับพวกประมาณ ๒๐๐ คนร่วมกันหยุดงานประท้วงนาย
จ้าง แล้วได้ปิดกั้นประตูเข้าออกโรงงาน ทำาให้เกิดความวุ่นวายโดยไม่ยอมให้พวกที่ใม่เข้าร่วมชุมนุมที่ทำา
งานในโรงงานออกมา และไม่ยอมให้พวกที่จะเข้าไปทำางานในโรงงานเข้าไปทำางาน แล้วจากนั้นจึงได้ใช้
ก้อนหินขว้างปาโรงงาน การกระทำาดังกล่าวเป็นความผิดตาม ม. ๒๑๕
เจ้าพนักงานสั่งให้เลิกตามม.๒๑๕ แต่ไม่เลิด ( ม.๒๑๖ )
- ผิดทั้ง ม. ๒๑๕ และ ม. ๒๑๖
- ฎีกาที่ ๑๙๗๔ / ๒๕๓๒ ปอ. ม. ๒๑๖ มีความมุ่งหมายที่จะลงโทษผู้ที่กระทำาความผิด
มาตรา ๒๑๕ ถ้าเจ้าพนักงานสั่งให้ผู้กระทำาผิด ตาม ม. ๒๑๕ ให้เลิก แต่ไม่ยอมเลิก มีความผิดทั้ง ม. ๒๑๕
และ ม. ๒๑๖ ( ถ้าเจ้าพนักงานสั่งให้เลิกแล้ว ผู้ชมุ นุมตาม ม. ๒๑๕ ยอมเลิกไป ไม่มีความผิดตาม ม. ๒๑๕
แต่อย่างใด ) เทียบเคียง ฎีกาที่ ๑๙๐๓ / ๒๕๓๒

วางเพลิงเผาทรัพย์ผู้อื่น ( ม.๒๑๗ , ๒๑๘ )


- ต้องเป็นทรัพย์ของผู้อื่นโดยแท้ ( ไม่รวมถึงทรัพย์ที่ผอู้ ื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย )
- ฎีกาที่ ๓๖๔๓ / ๒๕๒๖ จำาเลยวางเพลิงเผาบ้านที่จำาเลยเป็นเจ้าของร่วมอยู่ด้วยกับ ร. สามี
ของจำาเลยซึ่งไม่ได้จดทะเบียน การกระทำาของจำาเลยไม่เป็นความผิดตาม ม. ๒๑๗ , ๒๑๘ ( เทียบเคียง ฎี
กาที่ ๕๗๑๐ / ๒๕๔๑ , ฎีกาที่ ๙๗๖ / ๒๕๓๙ , ฎีกาที่ ๕๓๖๔ / ๒๕๓๖ ) แต่มีความผิดฐานทำาให้เสีย
ทรัพย์ ตาม ม. ๓๕๘
- ฎีกาที่ ๖๖๖๖ / ๒๕๔๒ จำาเลยไปดึงรั้วไม้ไผ่ผ่าซีกของผู้เสียหายออกมาแล้วจากนั้นได้เผา
แผงไม้ไผ่ที่ดึงออกมา การกระทำาของจำาเลยมีความผิดตาม ม. ๓๕๘ แต่ไม่มีความผิดตาม ม. ๒๑๗
- ถ้าเป็นความผิด ตาม ม. ๒๑๗ , ๒๑๘ แล้ว จะไม่เป็นความผิดฐานทำาให้เสียทรัพย์ตาม ม.
๓๕๘ อีก
- ฎีกาที่ ๕๘๗๒ / ๒๕๔๐ ถ้ากระทำาเป็นความผิดตาม ม. ๒๑๗ , ๒๑๘ แล้ว จะไม่เป็นความ
ผิดตาม ม. ๓๕๘ อีก
- การวางเพลิงเผาทรัพย์ต้องมีเปลวเพลิง ถ้ามีเพียงรอยเขม่าไหม้เป็นความผิดฐานพยายาม
วางเพลิงเผาทรัพย์ ( ม. ๒๑๗ , ๒๑๘ , ๘๐ )
- ฎีกาที่ ๒๘๒๙ / ๒๕๓๒ วางเพลิงเผาโรงเรือนนัน้ ต้องเป็นการเผาให้เกิดเปลวเพลิงไหม้
แต่ถ้ามีเพียงรอยเขม่าติดที่ฝาผนังบ้านเท่านั้น เป็นเพียงพยายามกระทำา ม. ๒๑๗ , ๒๑๘ เท่านั้น
- ฎีกาที่ ๑๑๔ / ๒๕๓๑ จำาเลยจุดไฟเผาที่นอนในโรงนำ้าชา นัน้ ย่อมเล็งเห็นได้ว่าจะเกิดการ
ไหม้ เตียงนอน ฝาผนัง และโรงนำ้าชา จำาเลยจึงมีความผิด ตาม ม. ๒๑๘ (๑)
- ฎีกาที่ ๑๔๑๒ / ๒๕๐๔ จำาเลยเช่าห้องแถวเปิดเป็นร้านขายยา แต่ในตอนกลางคืนจำาเลย
กลับไปนอนที่บ้าน ซึ่งไม่ใช่ห้องแถวดังกล่าว โดยข้างห้องแถวนั้นมีผู้คนพักอยู่อาศัย ต่อมาจำาเลยได้จุดไฟ
เผาห้องแถวของตนเองเป็นเหตุให้เพลิงลุกลามไหม้ของห้องแถวของคนอื่น จำาเลยจึงมีความผิดตามม.๒๑๘
(๑) ถึงแม้ว่าจำาเลยจะไม่ได้พักอาศัยหลับนอนอยู่ในห้องแถวดังกล่าวก็ตาม
- ฎีกาที่ ๖๗๓๘ / ๒๕๓๗ จำาเลยใช้ของเหลวไวไฟราดตัวผู้ตายแล้วจุดไฟ โดยได้ทำาการจุด
ไฟดังกล่าวที่ห้องทำางานของโจทก์ร่วมที่ชั้น ๒ ของตึกแถวที่มีคนพักอยู่อาศัย เมื่อเพลิงไหม้ผู้ตายแล้วไฟได้
ลุกลามไหม้โต๊ะเก้าอี้ การกระทำาดังกล่าวนั้นเป็นการกระทำาผิดฐานวางเพลิงโดยย่อมเล็งเห็นผลได้ว่าเพลิง
อาจจะลุกลามไหม้บ้านที่มีผู้คนพักอยู่อาศัยได้ ตาม ม. ๒๑๘ (๑) เนื่องจากการกระทำาดังกล่าวเป็นความผิด
หลายบท ลงโทษบทหนัก ตาม ม. ๙๐
- ฎีกาที่ ๗๒๒ / ๒๕๔๕ จำาเลยวางเพลิงเผาประตูบ้านที่ทำาด้วยไม้มีมูลค่าประมาณ ๕,๐๐๐
บาท ขณะเกิดเหตุผู้เสียหายอยู่ในที่เกิดเหตุและเห็นเหตุการณ์ จำาเลยกระทำาผิดฐานวางเพลิงตาม ม. ๒๑๘
(๑) ประกอบมาตรา ๒๒๓ เพราะว่าไม่น่าจะเป็นอันตรายแก่บุคคลอื่นและทรัพย์มีราคาน้อย

ตระเตรียมวางเพลิง ( ม.๒๑๙ )
- การกระทำาการวางเพลิงเผาทรัพย์ ตาม ม. ๒๑๗ , ๒๑๘ นั้น ถ้าได้กระทำาการในขั้นตระเตรียมการ
นั้น ( รับผิดเช่นเดียวกับพยายามกระทำาความผิดนั้นๆ )
การตระเตรียมที่ต้องมีความผิด มี ๒ ประเภท
๑. ตระเตรียมลงมือกระทำาความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ ตาม ม. ๑๐๗ - ๑๑๐
๒. ตระเตรียมวางเพลิงเผาทรัพย์ผู้อื่น ตาม ม. ๒๑๙

การกระทำาโดยประมาทเป็นเหตุเพลิงไหม้ ( ม.๒๒๕ )
- ฎีกาที่ ๓๔๘๕ / ๒๕๓๕ จำาเลยขับรถแทรกเตอร์ไถหญ้าเครื่องยนต์ขัดข้องแล้วดับ จำาเลยพยา
ยามสตาร์ทเครื่องยนต์ดังกล่าว แต่เครื่องยนต์ได้เกิดเพลิงลุกไหม้แล้วได้ลุกลามไปไหม้สวนยางของผู้เสีย
หายการกระทำาของจำาเลยไม่เป็นความผิด ตาม ม. ๒๒๕ เนื่องจากว่าการกระทำาดังกล่าวของจำาเลยเป็น
แต่เพียงทำาให้เครื่องยนต์ติดเท่านั้น แต่เหตุที่เกิดขึ้นในครั้งนี้นั้นเป็นเหตุสุดวิสัยที่ไม่ได้เกิดจากความประ
มาทของจำาเลยแต่อย่างใด
- ฎีกาที่ ๖๕๑๑ / ๒๕๓๔ จำาเลยจุดไฟเผาหญ้าตามร่องสวน เมื่อไฟไหม้หญ้าแล้วได้ช่วยกันดับที
ละร่องสวน โดยมี ส. และ ค. ช่วยกันจุดและดับ ต่อมาจำาเลยได้กลับไปบ้าน โดยมี ส.และค.อยู่ช่วยดับไฟ
ต่อ ต่อมาเพลิงได้เกิดลุกไหม้ในภายหลังเป็นเหตุให้เพลิงไหม้ทรัพย์ของผู้เสียหายได้รับความเสียหาย
ส. จึงมีความผิดตาม ม. ๒๒๕ แต่จำาเลยไม่มีความผิดถึงแม้ว่าจะเป็นผู้จุดไฟเผาหญ้าก็ตาม แต่ก็ไม่ได้กระ
ทำาไปโดยความประมาท เพราะว่าก่อนที่จำาเลยจะกลับบ้านนั้น ได้มี ส. และค.เป็นช่วยดับไฟ
- ฎีกาที่ ๒๑๙๐ / ๒๕๓๑ จำาเลยทั้ง ๒ คนจุดไฟเผาไหม้ของตนเอง โดยไม่ได้มีการป้องกันในการ
ดับเพลิงแต่อย่างใด มีเพียงไม้ตีในการดับเพลิงเท่านั้น ต่อมาเพลิงได้ลุกลามไหม้สวนยางพาราของผู้เสียหาย
การกระทำาดังกล่าวของจำาเลยทั้ง ๒ คน จึงมีความผิดตาม ม. ๒๒๕ + ๘๓
- ฎีกาที่ ๑๒๐๐ / ๒๕๓๐ จำาเลยกับพวกได้ร่วมกันไปลักนำ้ามันของบุคคลอื่นจากปั้ม โดยใช้แบต
เตอร์รี่พ่วงเครื่องสูบนำ้ามันขึ้นมาใส่ถังที่จำาเลยเตรียมไป โดยจำาเลยได้สูบนำ้ามันขึ้นมาได้เพียงถังที่ ๔ จำาเลย
ได้ถอดขั้วแบตเตอร์รี่แล้วต่อขั้วแบตเตอร์รี่ใหม่ ไฟแบตเตอร์รี่ได้เกิดสปาร์คสะเก็ดไฟได้ติดเปลวนำ้ามัน
เป็นเหตุให้เกิดเพลิงไหม้ปั้มนำ้ามัน จำาเลยกับพวกจึงมีความผิดตาม ม. ๒๒๕ , ๘๓ และ ๓๓๕ หากแต่การ
กระทำาดังกล่าวเป็นกรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบท ลงบทหนักตาม ม. ๙๐ ( ออกข้อสอบเนติฯแล้ว )
- ฎีกาที่ ๑๒๘๕ / ๒๕๒๙ ในตอนเวลา ๑๐.๐๐ น.จำาเลยจุดไฟ ต่อมาเวลา ๑๕.๐๐ น.ไฟได้ไหม้
บ้านของผู้อื่น ดังนั้นระยะเวลาที่ห่างกันประมาณ ๕ ชั่วโมงนี้เกิดจากความประมาทของจำาเลยที่ไม่ควบคุม
เพลิงที่ตนจุด จำาเลยจึงมีความผิดตาม ม. ๒๒๕

ผู่มวี ิชาชีพกระทำาน่าจะเกิดความเสียหาย ( ม.๒๒๗ )


- ผู้ประกอบวิชาชีพ ตาม ม. ๒๒๗ นั้น ( ต้องเป็นผู้ประกอบมีวิชาชีพจริง ๆ )
- ฎีกาที่ ๓๗๙๓ / ๒๕๔๓ จำาเลยที่ ๑ เป็นวิศวะกรทำาการก่อสร้างอาคารของจำาเลยที่ ๙ ซึ่งเป็นเจ้า
ของ อาคารดังกล่าวกำาหนดการรับนำ้าหนักเพียง ๔ ชั้นรวมชั้นใต้ดิน ต่อมาจำาเลยที่ ๑ ได้ออกแบบต่อเติม
เป็น ๙ ชั้น โดยใช้เสามีขนาดเดิม ต่อมาอาคารดังกล่าวได้ถล่มลงมามีผู้เสียชีวิต จำาเลยจึงมีความผิด ตาม ม.
229

ทำาให้เกิดอุทกภัย ( ม.๒๒๘ )

- ฎีกาที่ ๑๒๔๐ / ๒๕๐๔


- ฎีกาที่ ๑๒๙ / ๒๕๓๒

บรรทุกยานพาหนะร่าจะเกิดความเสียหาย ( ม.๒๓๓ )
- ยานพาหนะที่มีค่าจ้าง ตาม ปพพ.ม. ๖๐๘ ( ทุกชนิด )
- ฎีกาที่ ๑๒๘๑ / ๒๕๓๘
- ฎีกาที่ ๑๐๗๓ / ๒๔๖๔

การปลอมและแปลงเงินตรา

มาตรา ๒๔๐ ( ปลอม มีเจตนาให้เข้าใจว่าเป็นเงินแท้ ( เจตนาภายใน ) ซึ่งรัฐบาลออกใช้ )


- ถ้าไม่มีเจตนาให้เป็นเงินแท้ แต่เมื่อปลอมแล้วเหมือนของจริง ( ไม่ผิดมาตรา ๒๔๐ )
- ฎีกาที่ ๓๔๙๓ / ๒๕๓๒ ปลอมเหรียญ ๕๐ สต.ไม่เหมือน ( ผิด มาตรา ๒๔๐ )
- ฎีกาที่ ๑๙๖๙ / ๒๕๐๕ นำาเครื่องปลอมเงินตราไปสาธิตให้จำาเลยดูที่บ้านเพื่อดูความสามารถ ต่อมา
ได้มีคนมาขอดูการปลอมเงินตรา โดยจำาเลยยอมให้ภาชนะและสถานที่คือบ้านเป็นที่ปลอมเงินตราดังกล่าว จำาเลย
จึงมีความผิดฐานสนับสนุนปลอมเงินตราตามมาตรา ๒๔๐ + ๘๖ และต่อมาเครื่องมือปลอมดังกล่าวก็อยู่ที่บ้านของ
จำาเลย จำาเลยจึงมีความผิดฐานมีเครื่องมือปลอมไว้ในครอบครองอีกตามมาตรา ๒๔๖ อีกกระทงหนึ่ง
- ถ้าปลอมเงินตราที่รัฐบาลไม่ได้ออกใช้หรือให้อำานาจออกใช้แล้ว ( เป็นความผิดตามมาตรา ๓๔๐ )
- ความผิดสำาเร็จทันที ( เมื่อทำาปลอมขึ้น )

มาตรา ๒๔๑ ( แปลงเงินตรา ให้มีมูลค่าสูงขึ้น )


- ทำาให้ผดิ ไปจากเดิม ( เพื่อให้ผู้อื่นเชื่อว่ามีมูลค่าสูงขึ้น )
- ถ้าหลุดพ้นจากความผิดตามมาตรา ๒๔๑ แล้ว ( จะมีความผิดตาม มาตรา ๓๔๑ - ๓๔๒ )

มาตรา ๒๔๔ ( มีไว้เพื่อใช้เงินตราปลอมหรือแปลง )


- ฎีกาที่ ๒๑๗๗ / ๒๕๔๒ จำาเลยมีธนบัตรรัฐบาลไทยปลอม แล้วนำาไปซื้อผลไม้ ผิด ม. ๒๔๔
- เจตนาพิเศษ ( เพื่อนำาออกใช้อย่างเงินตรา )
- โดยรูว้ ่าเป็นของปลอมหรือแปลงตามมาตรา ๒๔๐ , ๒๔๑
- ฎีกาที่ ๑๖๕๕ / ๒๕๐๓ มีไว้เพื่อนำาออกใช้ เพื่อขาย ( ให้ถือว่านำาออกใช้แล้ว ) ผิด ม.๒๔๔ แล้ว

มาตรา ๒๔๕ ( รู้ในภายหลังว่าเป็นเงินตราปลอมหรือแปลง )


- ได้เงินตราปลอมมา โดยรู้ แต่ไม่นำาออกใช้ ( ผิด มาตรา ๒๔๐ + ๘๖ )
- ฎีกาที่ ๓๑๑ / ๒๔๖๓ จำาเลยเอาธนบัตรปลอมไปซื้อตั๋วรถไฟ เมื่อเจ้าหน้าที่ตรวจดูก็ว่าเป็นเงิน
ตราปลอม จำาเลยจึงเอาธนบัตรฉบับใหม่ออกมาดูพบว่าเป็นของปลอมเช่นกัน จำาเลยมีความผิดตามมาตรา ๒๔๐
ประกอบมาตรา ๘๖ เท่านั้น ( เทียบฎีกาที่ ๙๓๓ / ๒๔๘๐ , ๒๐๑๕ / ๒๔๙๗ )

มาตรา ๒๔๖ ( ทำาเครื่องมือ หรือวัตถุ สำาหรับปลอมหรือแปลงเงินตรา )


- ฎีกาที่ ๑๙๖๙ / ๒๕๐๕
- ฎีกาที่ ๗๔๔ / ๒๕๒๑ เครื่องมือปลอมเงินตราไม่สมบูรณ์ ( ผิดมาตรา ๒๔๖ แล้ว )

มาตรา ๒๔๗ ( ปลอมเงินตราต่างประเทศที่รัฐบาลต่างประเทศออกใช้ )


- ปลอมเงินตราต่างประเทศที่ยังใช้อยู่ แต่ภายหลังได้ยกเลิก ( ผิดมาตรา ๒๔๗ แล้ว )
- ฎีกาที่ ๑๑๑๖ / ๒๕๐๑ การมีไว้เพื่อจำาหน่ายเงินตราต่างประเทศปลอม แต่ภายหลังรัฐบาลได้ประ
กาศยกเลิกใช้เงินตรานั้นแล้ว ( ผิดมาตรา ๒๔๔ , ๒๔๗ )
- ระวางโทษ ๑/๒ ของโทษในมาตรานั้นๆ

มาตรา ๒๔๘ ( กระทำาผิดเกี่ยวกับปลอมแปลงเงินตราหลายกรรม )


- การกระทำาผิดตามมาตรา ๒๔๐ , ๒๔๑ , ๒๔๗ และได้กระทำาผิดตามที่ได้บัญญัติในหมวดนี้เกี่ยว
กับสิ่งที่ปลอมหรือแปลง ( ให้ลงโทษตามมาตรา ๒๔๐ , ๒๔๑ , ๒๔๗ ( แต่กระทงเดียว )
- ฎีกาที่ ๒๘๔๖ / ๒๕๑๙ มาตรา ๒๔๘ เป็นบทเฉพาะยกเว้นความผิด ๒๔๐ , ๒๔๖ ให้ลงโทษแต่
มาตรา ๒๔๐ แต่กระทงเดียวตามมาตรา ๒๔๘
- ฎีกาที่ ๕๕๓ / ๒๕๓๖ จำาเลยกระทำาความผิดตามมาตรา ๒๔๐ , ๒๔๔ , ๒๔๖ ศาลชั้นต้นและ
ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้ลงโทษต่างกรรม ศาลฎีกาจึงได้พิพากษาลงโทษตามมาตรา ๒๔๐ แต่กระทงเดียว ตาม
มาตรา ๒๔๘ ศาลสามารถยกขึ้นกล่าวอ้างได้เนื่องจากต้องด้วยความสงบเรียบศีลธรรมอันดีของประชาชน
- ฎีกาที่ ๖๑๒๖ / ๒๕๔๐ กระทำาผิดตามมาตรา ๒๔๔ , ๒๔๖ , ๒๔๗ แต่ไม่ได้ปลอมแปลงตาม
มาตรา ๒๔๐ หรือ ๒๔๑ ไม่ต้องด้วยมาตรา ๒๔๘ แต่อย่างใด (ให้ลงโทษรายกระทงไป )เนื่องจากว่าการะกระทำา
ความผิดตามมาตรา ๒๔๘ นั้น ต้องด้วยมาตรา ๒๔๐ หรือ ๒๔๑ ทุกกรณี จึงจะปรับบทมาตรา ๒๔๘ ได้

มาตรา ๒๔๙ ( ทำาบัตรหรือโลหะธาตุมีลักษณะหรือขนาดคล้ายคลึงเงินตรา )


- มีเจตนาให้ใกล้เคียงกับเงินตรา
- ฎีกาที่ ๓๓๒ / ๒๕๐๓ การกระทำาความผิดตามมาตรา ๒๔๙ นั้นมีเจตนาให้คล้ายคลึงกับเงินตรา
เท่านั้น ( ไม่มีเจตนาปลอมตามมาตรา ๒๔๐ )

ความผิดเกี่ยวกับดวงตรา แสตมป์ และตั๋ว

มาตรา ๒๕๑ ( ปลอมดวงตราของทางราชการ )


- ถ้าเป็นดวงตราปลอมที่ไม่ได้ใช้ในหน้าที่ราชการแล้ว ( ไม่ผิดมาตรา ๒๕๑ )
- ฎีกาที่ ๑๓๑๕ / ๒๕๐๓ ทำาไพ่ปลอม ซึ่งด้านหลังไพ่นั้นมีรอยดวงตราวายุภักษ์ของกรมสรรพสา
มิต ซึ่งรอยดวงตราดังกล่าวใม่ได้ใช้ในราชการ ( ไม่ผิดมาตรา ๒๕๑ )
มาตรา ๒๕๒ ( ผู้ใช้ดวงตราปลอมตามมาตรา ๒๕๐ , ๒๕๑ )
- เอาผิดกับผูใ้ ช้
- ฎีกาที่ ๔๗๗๒ / ๒๕๓๖ การที่จำาเลยนำาใบอนุญาตขับขี่ปลอมไปมอบให้กับเจ้าหน้าที่กรมการ
ขนส่งทางบกซึ่งมีรอยตราปลอมประทับอยู่ จำาเลยจึงมีความผิดตามมาตรา ๒๖๕ และ ๒๕๒

ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร

มาตรา ๒๖๔ วรรคแรก มีการปลอมดังนี้.-


๑. ปลอมทั้งฉบับ
๒. ปลอมแต่ส่วนหนึ่งส่วนใด
๓. เติมหรือตัดทอนในเอกสารที่แท้จริง
๔. แก้ไขเอกสารที่แท้จริง
๕. ประทับตราปลอมหรือลงลายมือชื่อปลอม
- การปลอมเอกสารตามมาตรา ๒๖๔ วรรคแรกนั้นต้องมีลักษณะดังนี้.-
๑. น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อนื่ หรือประชาชน
๒. กระทำาขึ้นเพื่อให้ผู้หนึ่งผู้ใดหลงเชื่อว่าเป็นเอกสารที่แท้จริง
- ฎีกาที่ ๖๑๔ / ๒๕๓๕ เอาเช็คของผู้อื่นมาเขียนและลงลายมือชื่อเป็นเจ้าของเช็คเอง โดยเจ้าของไม่เคยทำามา
ก่อน( ผิดมาตรา ๒๖๔ ปลอมทั้งฉบับ ) ฏีกาทำานองเดียวกันฎีกาที่ ๑๒ / ๒๕๑๙ , ๒๓๑๖ / ๒๕๒๙ ( ปลอมทั้งฉบับ )
- ฎีกาที่ ๗ / ๒๕๑๖ ปลอมโดยผู้มีอำานาจกระทำา แต่ข้อความไม่ตรงกับความเป็นจริง ( ไม่ผิดมาตรา ๒๖๔ )
- ฎีกาที่ ๑๙๗ / ๒๕๐๙ โจทก์ติดต่อขอรับโฉนดจากจำาเลย ต่อมามีคนอื่นมาโต้แย้ง จำาเลยจึงได้ลบลายเซ็น
และวัน เดือน ปีที่ออกโฉนดโดยลายเซ็นดังกล่าวนั้นเป็นของจำาเลยในฐานะเจ้าพนักงานออกซึ่งเป็นการตัดทอนเอก
สารดังกล่าว โดยโฉนดดังกล่าวนั้นยังอยู่ในความครอบครองของจำาเลยซึ่งมีอำานาจหน้าที่ โดยจำาเลยมีอำานาจกระทำา
ได้ ( จำาเลยจึงไม่มีความผิดตามมาตรา ๒๖๔ เพราะว่าโฉนดยังอยู่ในระหว่างการดำาเนินการของจำาเลยอยู่ ยังไม่ได้
มอบให้กับโจทก์ไป )
- ฎีกาที่ ๔๙๖ - ๔๙๗ / ๒๕๔๒ ( ปลอมเอกสารสิทธิ ใบฝากเงิน )
- ฎีกาที่ ๔๕๘๒ / ๒๕๔๓ การตัดทอนข้อความที่ไม่เป็นความผิดตามมาตรา ๒๖๔ ถ่ายสำาเนาสัญญาเช่า
แล้วลบข้อความในสำาเนาดังกล่าว ( ไม่ผิดมาตรา ๒๖๔ )
- ฎีกาที่ ๒๗๘ - ๒๗๙ / ๒๕๐๑ เขียนชื่อและประทับตราห้างร้านที่ไม่มีตัวตน แล้วใช้สลักหลังเช็ค เป็น
การปลอมเอกสารทั้งฉบับ ( ผิดมาตรา ๒๖๔ )
- ฎีกาที่ ๗๖๙ / ๒๕๔๐ ให้ความหมายระหว่างทำาใหผู้อื่นหรือประชาชนเสียหาย กับให้ผู้หนึ่งผู้ใดหลงเชื่อ

องค์ประกอบน่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน
- ฎีกาที่ ๒๓๘๔ / ๒๕๓๔ เปลี่ยนภาพถ่ายในใบขับขี่เพื่อไปแสดงกับเพื่อนเพื่อใช้ในการรับประทานอาหาร
เที่ยง ซึ่งแสดงได้ว่าเป็นการล้อเล่นในหมู่เพื่อน ( ไม่เป็นความผิดตามมาตรา ๒๖๕ )
- ฎีกาที่ ๒๑๓ / ๒๕๓๙ การเปลี่ยนภาพถ่ายในเอกสารราชการซึ่งเป็นของจำาเลย โดยเอาภาพถ่ายของตนเอง
ไปปิดทับใส่ไว้ในสำาเนาใบอนุญาตขับขี่ของตนเพื่อให้เห็นชัดเจน ( ไม่ผิดมาตรา ๒๖๔ )
- ฎีกาที่ ๑๓๑๓ / ๒๕๓๑ สัญญาประนีประนอมที่ศาลพิพากษาว่าเป็นโมฆะแล้ว จำาเลยได้เติมในช่องว่าง
สัญญาดังกล่าว ( ไม่ผิดมาตรา ๒๖๔ )
- ฎีกาที่ ๗๓๔ / ๒๕๓๐ ลงเวลาในบัญชีมาทำางานราชการ โดยจำาเลยลบเวลาของโจทก์ที่มาเขียนไว้ก่อน
ออก แล้วเติมใหม่ ( ไม่ผิดมาตรา ๒๖๔ )
- ฎีกาที่ ๓๗๓๒ / ๒๕๒๕ ปลอมใบมอบอำานาจของผู้มีที่ดินติดกัน
- ฎีกาที่ ๑๗๕๐ / ๒๕๑๕
- ฎีกาที่ ๒๘๗๐ / ๒๕๒๖

มาตรา ๒๖๔ วรรคสอง มีการปลอมดังนี้.-


- กรอกข้อความลงในแผ่นกระดาษที่มีลายมือชื่อของผู้อื่น
- ฎีกาที่ ๒๓๑๖ / ๒๕๒๙ ตัดลายมือชื่อของผู้อื่นมาติดเอกสารที่กรอกให้ไว้ ( ผิดมาตรา ๒๖๔ วรรคแรก
ปลอมทั้งฉบับ )
- ฎีกาที่ ๑๗๕๐ / ๒๕๑๕ ( ปลอมเอกสาร )
- ฎีกาที่ ๒๘๗๐ / ๒๕๒๖
- ฎีกาที่ ๑๑๔๑ / ๒๕๒๓ ( ปลอมทะเบียนรถ )
- ฎีกาที่ ๒๒๔๑ / ๒๕๒๓ ( ออกแล้ว ) นำาป้ายทะเบียนรถที่ตรงกับหมายเลขทะเบียนที่แท้จริงที่ได้รับ
อนุญาต ( ไม่ผิด มาตรา ๒๖๔ และมาตรา ๒๖๘ )
- ฎีกาที่ ๑๑๒๖ / ๒๕๐๕
- ฎีกาที่ ๑๒๐๙ / ๒๕๒๒ ( รูปภาพไม่อยู่ในความหมายของเอกสาร )
- ฎีกาที่ ๑๒๗๗ / ๒๕๓๗
- ฎีกาที่ ๑๕๓๐ / ๒๕๒๒ เอาภาพถ่ายของจำาเลยติดทับภาพถ่ายของโจทก์ในปริญญาบัตรแล้วนำาเก็บไว้
( ไม่ผิดมาตรา ๒๖๔ )

ปลอมเอกสารสิทธิ หรือ เอกสารราชการ ( มาตรา ๒๖๕ )


- ฎีกาที่ ๓๙๔ / ๒๕๔๔ สำาเนารายงานวิสามัญผู้ถือหุ้น เป็นเอกสารสิทธิตามมาตรา ๒๖๕ คำาขอจดทะ
เบียนเพิ่มเติมกับหนังสือมอบอำานาจ ( ไม่ถือว่าเอกสารสิทธิ ) เป็นการปลอมเอกสารธรรมดาตามมาตรา ๒๖๔
- ฎีกาที่ ๒๖๕ / ๒๕๔๓ ( ออกแล้ว ) อ.มหาวิทยาลัยที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ควบคุมคอมพิวเตอร์ตรวจ
ข้อสอบเพื่อบรรจุเป็นนายร้อยตำารวจ แล้วได้ทุจริตแก้ไขกระดาษคำาตอบ ถือว่าเป็นการปลอมเอกสารราชการ
ตามมาตรา ๒๖๖
- ฎีกาที่ ๒๒๖๒ / ๒๕๓๗ ถ้าผิดปลอมเอกสารสิทธิ หรือเอกสารราชการแล้ว ( ไม่ตอ้ งปรับมาตรา ๒๖๔
ซึ่งเป็นบททั่วไปอีก )
- ฎีกาที่ ๓๔๓๕ / ๒๕๔๐ ลงลายมือชื่อปลอมของนายทะเบียนในทะเบียนการย้ายเข้า - ออก โดยได้ลง
ลายมือชื่อดังกล่าวจำานวน ๓ ครั้ง เป็นความผิดปลอมเอกสารราชการตามมาตรา ๒๖๔ จำานวน ๓ กระทง
- ฎีกาที่ ๖๕๗ / ๒๕๔๑ ปลอมหนังสือรับรองการทำางานในพื้นที่สูง ( ชาวเขา ) ออกไปทำางานนอกเขต
ควบคุม เป็นการปลอมเอกสารราชการตามมาตรา ๒๖๕ และประทับตราปลอมตามมาตรา ๒๖๔ เป็นการกระ
ทำากรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบท ลงบทหนักตามมาตรา ๙๐
- ฎีกาที่ ๕๕๙๙ / ๒๕๔๑ ใบสั่งจ่ายนำ้ามันของกรมตำารวจ ให้พลขับกรอกข้อความลงในใบสั่งจ่ายดังกล่าว
เพื่อใช้ในราชการ จำาเลยได้ปลอมและได้นำาไปขึ้นนำ้ามัน ( ผิดตามมาตรา ๒๖๕ และ ๒๖๘ )
- ฎีกาที่ ๒๓๒๘ / ๒๕๔๑ เอกสารราชการปลอมต้องเป็นเอกสารราชการของไทยเท่านั้น
- ฎีกาที่ ๒๓๒๘ / ๒๕๔๑ ปลอมหนังสือเดินทางของต่างประเทศหลายประเทศ และปลอมตราประทับ
ของเจ้าพนักงานไทย ( ตม.เข้าออกในต่างประเทศ ) ผิดเฉพาะปลอมตราประทับตามมาตรา ๒๖๔ เท่านั้น
- ฎีกาที่ ๔๐๗๓ / ๒๕๔๕ จำาเลยถ่ายสำาเนาคู่มือจดทะเบียนรถของตน แล้วเอาสำาเนาดังกล่าวมาแก้ไขใน
ช่องผู้ถือกรรมสิทธิ์ให้เป้นของตน ถือว่าเป็นการปลอมเอกสารราชการทั้งฉบับ ตามมาตรา ๒๖๕
- ฎีกาที่ ๒๔๐๙ / ๒๕๓๔ จำาเลยที่ ๑,๒,๓ ร่วมกันแก้ไขบัตรประจำาตัวประชาชนตัวจริง แล้วนำาไปถ่ายเอก
สาร ถือว่ามีความผิดตามมาตรา ๒๖๕ + ๘๓
- ฎีกาที่ ๒๖๖๔ / ๒๕๓๖ ภาพถ่ายเอกสารปลอมถ่ายมาจากตัวจริงที่ถูกแก้ไข (ให้ลงโทษตามมาตรา ๒๖๔
เท่านั้น )

เอกสารสิทธิอันเป็นเอกสารราชการ ( มาตรา ๒๖๖ (๑) )


- ฎีกาที่ ๑๓๖๗ / ๒๕๓๖ ประกาศนียบัตรการศึกษาผู้ใหญ่ ( ไม่ใช่เอกสารสิทธิอันเป็นเอกสารราชการ )
- ฎีกาที่ ๒๕๗๐ / ๒๕๔๑ หนังสือคู่มือการจดทะเบียนรถ ( ถือว่าเป็นเอกสารราชการตามมาตรา ๒๖๕ )

แจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อความอันเป็นเท็จ ( มาตรา ๒๖๗ )


- ฎีกาที่ ๔๔ / ๒๕๐๖ จำาเลยเบิกความเท็จ และแสดงพยานหลักฐานอันเป็นเท็จในคดีแพ่ง แล้วเจ้าพนัก
งานที่ดินจดข้อความตามคำาสั่งศาลอีกเป็นเท็จ ( จำาเลยไม่มีความผิดตามมาตรา ๒๖๗ )
- ฎีกาที่ ๕๖๑ / ๒๕๐๘ การเบิกความเท็จในศาล และศาลจดข้อความเท็จลงในคำาเบิกความ ( ไม่ถือว่า
เป็นการแจ้งเจ้าพนักงานจดข้อความอันเป็นเท็จ ตามมาตรา ๒๖๗ )
- ฎีกาที่ ๒๖๙๖ / ๒๕๒๑ บิดาไปแจ้งว่าบุตรนอกสมรสเกิดแก่ตนกับภริยา อันเป็นเท็จต่อเจ้าพนักงาน
( ไม่ผิดมาตรา ๒๖๗ )

การใช้เอกสารปลอม ( มาตรา ๒๖๘ )


- ใช้ตามความมุ่งหมายของเอกสาร จึงจะถือว่าผิดตามมาตรา ๒๖๘
- ฎีกาที่ ๑๖๕๔ / ๒๕๐๓ เอาประกาศนียบัตรปลอมไปแสดงต่อเจ้าหน้าที่ตำารวจสายสืบว่าฝีมือการ
ปลอมแนบเนียนหรือไม่ ( ถือว่ามีเจตนาใช้เอกสารปลอมแล้ว ผิดมาตรา ๒๖๘ )
- ฎีกาที่ ๑๐๔๖ - ๑๐๔๗ / ๒๕๒๖ เอกสาร ๒ ฉบับจำาเลย ๔ คนร่วมกันทำาขึ้นโดยถือเป็นเอกสารของจำา
เลยที่ ๑ , ๔ และจำาเลยที่ ๑,๔ ได้ลงลายมือชื่อในเอกสารทั้ง ๒ ฉบับ แต่ข้อความในเอกสารไม่ตรงกับความเป็น
จริง แล้วต่อมาจำาเลยที่ ๑ , ๔ นำาเอกสารดังกล่าวไปใช้ ( ถือว่าเอกสารทั้ง ๒ ฉบับ ไม่เป็นการปลอมเอกสาร
ตามมาตรา ๒๖๔ , ๒๖๕ และเมื่อไม่มีความผิดตามมาตรา ๒๖๔ แล้ว จะไม่เป็นความผิดตามมาตรา ๒๖๘ อีก )
- ฎีกาที่ ๒๒๗๕ / ๒๕๓๓ เอาใบรับรองแพทย์ไปกรอกข้อความลงลายมือชื่อปลอม แล้วจากนั้นได้นำา
ไปแสดงต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อให้พ้นผิดวินัยในกรณีขาด ๓ วัน ( ถือว่ามีความผิดฐานปลอมเอกสาร และใช้
เอกสารปลอม ตามมาตรา ๒๖๕ , ๒๖๘ )
- ฎีกาที่ ๑๑๒๖ / ๒๕๐๙ อ้างสัญญากู้ยืมเป็นพยาน แยกเป็น ๒ คดี โดยคดีที่หนึ่งฟ้องฐานปลอมเอก
สาร ส่วนคดีที่สองฟ้องฐานใช้เอกสารปลอมตามมาตรา ๒๖๘ ศาลได้พิพากษาคดีที่หนึ่งยกฟ้องไม่มีความผิด
คดีที่สองจึงไม่มีความผิดตามมาตรา ๒๖๘ อีกด้วย
- ฎีกาที่ ๗๐๙ / ๒๕๑๖ การนำาสืบเอกสารปลอมในคดี
- ฎีกาที่ ๑๐๒๐ / ๒๕๑๗ สามีภริยาทำาสัญญากับบุคคลภายนอก โดยภริยาลงลายมือชื่อของสามีแทนใน
สัญญาดังกล่าว ( ถือว่าเป็นการปลอมเอกสาร แต่ไม่มีความผิดตามมาตรา ๒๖๔ )
- ฎีกาที่ ๑๕๒๖ / ๒๕๑๕ นำาเอกสารปลอมยื่นต่อนายทะเบียน ( ถือว่ามีความผิดตามมาตรา ๒๖๘ )
- ฎีกาที่ ๘๔๐ / ๒๕๔๐ นำาเอกสารปลอมโดยมอบอำานาจให้ไปยื่นต่อเจ้าพนักงาน ( ถือว่าเป็นการ
ใช้เอกสารปลอมตามมาตรา ๒๖๘ แล้ว )
- ฎีกาที่ ๒๖๔๒ / ๒๕๔๑ ปลอมป้ายวงกลม และ พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ แล้วนำาไปติดที่
หน้ากระจกรถยนต์ ( ถือว่าเป็นการปลอมและใช้เอกสารปลอมตามมาตรา ๒๖๕ , ๒๖๘ )
- ฎีกาที่ ๓๑๔ / ๒๕๔๔ การปลอมป้ายวงกลมและใบขับขี่ ( ผิดตามมาตรา ๒๖๕ และ ๒๖๘ )

ความผิดเกี่ยวกับเครื่องหมายการค้า
- ถ้าเป็นความผิดปลอม และ เลียนเครื่องหมายการค้า ตามมาตรา ๒๗๓ และ ๒๗๔ ต้องจดทะเบียน
ไว้แล้ว ( ไม่ว่าทั้งในและนอกราชอาณาจักร )
- ฎีกาที่ ๑๗๑๘ / ๒๕๔๕ ความผิดปลอมเครื่องหมายการค้า ตาม ปอ.มาตรา ๒๗๓ ( ทั้งในและนอก
ราชอาณาจักร ) และ พ.ร.บ.เครื่องหมายการค้า มาตรา ๑๐๘ ( ในราชอาณาจักร ) ต้องใช้ พ.ร.บ.เครื่องหมาย
การค้า มาตรา ๑๐๘ แทนปรับบทเท่านั้น

ความผิดเกี่ยวกับเพศ

มาตรา ๒๗๖ วรรคแรก ข่มขืนกระทำาชำาเรา มี ๒ อย่าง


๑. ข่มขืน ( บังคับให้ฝ่ายหญิงทำาในสิ่งที่ขัดต่อเจตนา )
๒. กระทำาชำาเรา ( การมีเพศสัมพันธ์กันโดยวิธีทางธรรมชาติ โดยอวัยวะเพศชายเข้าไปในอวัยวะเพศ
หญิง
- ฎีกาที่ ๖๓๘ / ๒๕๑๖ ผู้เสียหายยอมให้จำาเลยที่ ๑ กระทำาชำาเรา แล้วต่อมาจำาเลยที่ ๒ เห็นจำาเลยที่ ๑
กับผู้เสียหายมีเพศสัมพันธ์กันอยู่ ต่อมาจำาเลยที่ ๒ จึงไปพูดกับผู้เสียหายว่าถ้าไม่ให้ร่วมเพศด้วยจะนำาความ
ไปบอกสามีของผู้เสียหาย ผู้เสียหายจึงยินยอม การกระทำาของจำาเลยที่ ๒ ดังกล่าวนี้ ไม่เข้าลักษณะเป็นการ
ข่มขืน ( ไม่ผิดมาตรา ๒๗๖ )
- ฎีกาที่ ๓๗๔ / ๒๕๓๖ ( ออกข้อสอบผู้ช่วยผู้พิพากษาแล้ว )
- ฎีกาที่ ๑๐๘๔ / ๒๕๑๘ มีความผิดตามมาตรา ๒๗๖ ทันที เมื่ออวัยวะเพศชายเข้าไปในอวัยวะเพศ
ของฝ่ายหญิงเท่านั้น
- ฎีกาที่ ๑๖๔๖ / ๒๕๓๒ ผู้ถูกกระทำาชำาเรา ( ต้องเป็นหญิงเท่านั้น )
- ฎีกาที่ ๒๕๐ / ๒๕๑๐ ความผิดตามมาตรา ๒๗๖ มีการร่วมกระทำาความผิดตามมาตรา ๘๓ ได้ ( แม้
ผู้ร่วมกระทำาความผิด จะเป็นผู้หญิงก็ได้ )
- ฎีกาที่ ๕๙ / ๒๕๒๔
- ฎีกาที่ ๓๘๔ / ๒๕๔๕
- การกระทำาโดยสามีกระทำาต่อภริยา ( ไม่ผิดมาตรา ๒๗๖ แม้ว่าจะมีผู้ร่วม หรือ เป็นตัวการร่วมด้วย
ก็ตาม เว้นแต่ ผู้ร่วมจะได้ลงมือกระทำาชำาเรา )
- ฎีกาที่ ๔๓๐ / ๒๕๓๒ จำาเลยกับผู้เสียหายแต่งงานกันตามศาสนาอิสลามมีบุตรด้วยกันจำานวน ๑ คน
แล้วต่อมาได้แยกกันอยู่โดยไม่ได้หย่าขาด แล้วต่อมาจำาเลยได้กลับมาเอาตัวผู้เสียหายไปกักขัง และได้กระทำา
ชำาเรา ( การกระทำาของจำาเลยไม่ผิดตามมาตรา ๓๐๙ , ๒๗๖ เนื่องจากขาดเจตนาตามมาตรา ๖๒ )

ความแตกต่างระหว่างพยายามข่มขืน กับ อนาจาร มีหลักดังนี.้ -


๑. เจตนาของผู้กระทำาว่ามีเจตนาจะสอดใส่อวัยวะเพศหรือไม่
- ถ้ามีเจตนาที่จะสอดใส่ ( ถือว่ามีเจตนาพยายามข่มขืน ตามมาตรา ๒๗๖ + ๘๐ )
- ฎีกาที่ ๔๕๙๙ / ๒๕๓๐
- ฎีกาที่ ๓๐๗๘ / ๒๕๓๗
- ฎีกาที่ ๔๘๔ / ๒๕๓๗

มาตรา ๒๗๖ วรรคสอง ( โทรมหญิง )


- โทรมหญิง คือ ผู้กระทำา ( มีมากกว่า ๑ คน ) มีเจตนาผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกระทำาชำาเรา
- ฎีกาที่ ๑๒๐๒ / ๒๕๒๙ ความหมายโทรมหญิงร่วมกันผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป
- ฎีกาที่ ๒๐๗๗ / ๒๕๓๐ แม้ไม่ได้ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันทุกคน แต่มากกว่า ๑ คนก็ตาม ( ก็ถือ
ว่ามีความผิดตามมาตรา ๒๗๖ วรรคสอง แล้วทุกคน
- ฎีกาที่ ๑๓๑๓ / ๒๕๓๓
- ฎีกาที่ ๑๐๑ / ๒๕๓๓ ส่งสัญญาณผิวปากเรียกเพื่อน ( ถือว่าเป็นการร่วมกันโทรมหญิงตามมาตรา
๒๗๖ วรรคสอง แล้ว )
- ฎีกาที่ ๑๒๖๗ / ๒๕๓๖
- ฎีกาที่ ๑๙๖๕ / ๒๕๒๔

กระทำาชำาเราเด็กอายุยังไม่เกิน ๑๕ ปี ( มาตรา ๒๗๗ )


- ฎีกาที่ ๒๐๗๓ / ๒๕๓๗
- ฎีกาที่ ๒๔๑๗ / ๒๕๔๐
- ฎีกาที่ ๔๔๒๘ / ๒๕๓๙
- ฎีกาที่ ๔๖๙๘ / ๒๕๓๙
- ฎีกาที่ ๖๔๔๑ / ๒๕๔๑

มาตรา ๒๗๗ วรรคท้าย


- ฎีกาที่ ๒๒๖๔ / ๒๕๔๔ กรณีที่ศาลอนุญาตให้ชายและหญิงสมรสกันตามมาตรา ๒๗๗ วรรคท้ายนั้น
( เฉพาะชายและหญิงอายุยังไม่เกิน ๑๗ ปีบริบูรณ์เท่านั้น ) ถ้าอายุเกิน ๑๗ ปี แต่ได้สมรสกันในภายหลังให้ถือ
ว่าได้รับนิรโทษกรรมตามมาตรา ๒๗๗ วรรคท้ายด้วย
- ฎีกาที่ ๘๕๔ / ๒๕๔๕ การได้รับการยกเว้นโทษตามมาตรา ๒๗๗ วรรคท้ายนั้น จะไม่ยกเว้นความผิด
ฐานพรากผู้เยาว์แต่อย่างใด ( คงรับผิดแต่ฐานพรากผู้เยาว์ฯ )
- การได้รับยกเว้นตามมาตรา ๒๗๗ วรรคท้ายนั้น ถ้าคดีขึ้นสู่ศาล ( ให้ศาลยกฟ้อง )

อนาจาร ( มาตรา ๒๗๘ )


- ความผิดฐานอนาจารนั้น ( ผู้ถูกกระทำาเป็นได้ทั้งชายและหญิง )
- ฎีกาที่ ๓๕๓ / ๒๔๗๖ ครูให้นักเรียนชายแก้ผ้าแล้วเฆี่ยนตี ไม่ผิดกระทำาอนาจารมาตรา ๒๗๘
- ฎีกาที่ ๓๖๖๘ / ๒๕๔๕ ( ดูเจตนาว่ามีกามรมย์หรือไม่ )
- ฎีกาที่ ๑๔๕๔ / ๒๕๒๘
- ฎีกาที่ ๕๘๓๗ / ๒๕๓๐ แพทย์แผนโบราณหลอกกระทำาอนาจาร ( ผิดกระทำาอนาจารมาตรา ๒๗๘ )

ต่อหน้าธาระกำานัล
- ฎีกาที่ ๓๙๖๙ / ๒๕๓๖ ธาระกำานัล คือ สถานที่มีผู้คนจำานวนมาก
- ฎีกาที่ ๒๑๗๙ / ๒๕๒๖
- ฎีกาที่ ๓๙๑๒ / ๒๕๓๑ กระทำาต่อหน้าบุตรซึ่งนอนหลับอยู่ ( ไม่ถือว่ากระทำาต่อธาระกำานัล )
- ฎีกาที่ ๔๙๓ / ๒๕๓๑

ธุระจัดหา ( มาตรา ๒๘๒ )


- เป็นการธุระจัดหา ( ที่หญิงยินยอมเต็มใจ )
- มาตรา ๒๘๒ เพื่อสำาเร็จความใคร่ของผู้อื่น ( ไม่ใช่ตนเอง )
- ฎีกาที่ ๘๒๔ / ๒๕๐๓

พาผู้อื่นไปเพื่อการอนาจาร ( มาตรา ๒๘๓ )


- เป็นการพาไปเพื่อการอนาจาร ( โดยหญิงไม่เต็มใจไปด้วย )
- ฎีกาที่ ๕๔๑๐ / ๒๕๓๑
- ฎีกาที่ ๔๓๐๒ / ๒๕๔๕ ฉุดคร่าผู้เสียหายไปกระทำาชำาเรา ผิดฐานกระทำาชำาเรา และผิดมาตรา ๒๘๓
ให้ลงโทษเรียงกระทงตามมาตรา ๙๑
- ฎีกาที่ ๓๖๖๘ / ๒๕๔๕

บทเพิ่มโทษ ( มาตรา ๒๘๕ )


- ผู้สืบสันดานโดยตรง ( สายโลหิต )
- ผู้ควบคุมในหน้าที่ราชการ ( ในอำานาจของพนักงานสอบสวน , ศาล )
- ฎีกาที่ ๒๔๕๓ / ๒๕๑๕ ผู้ควบคุมในหน้าที่ราชการ
- ฎีกาที่ ๗๙๘๖ / ๒๕๔๐ ศิษย์อยู่ในความดูแล ( ในเวลาทำาการเท่านั้น )
- ฎีกาที่ ๔๒๑ / ๒๕๔๖ นักเรียนในโรงเรียนกวดวิชา ( ไม่ใช่ศิษย์อยู่ในควบคุมดูแล )

HAPPY ENDING
สรุปประมวลกฎหมายอาญา ม. ๒๘๘ - ๓๖๖

องค์ประกอบความผิด
๑. กระทำา
๒. ครบองค์ประกอบภายนอก
๓. ครบองค์ประกอบภายใน
๔. ความสัมพันธ์หว่างการกระทำากับผล
๔.๑. ทฤษฎีเงื่อนไข
๔.๒. ทฤษฎีเหตุที่เหมาะสม ( ใช้กรณีโทษหนักขึ้น )

ลักทรัพย์ ม. ๓๓๔ - ๓๓๕ มีองค์กระกอบดังนี้.-


๑. ผู้ใด ( มีสภาพบุคคล )
๒. การเอาไป หมายถึง การพาทรัพย์เคลื่อนที่ไปจากการครอบครองของผู้อนื่ ในลักษณะเป็นการแย่ง
การครอบครอง หรือ ตัดกรรมสิทธิ์
- ฎีกาที่ ๑๙๑๕ / ๒๕๔๓
- ฎีกาที่ ๓๖๐๘ / ๒๕๓๕
- ฎีกาที่ ๑๓๓๗ / ๒๕๓๒
- ฎีกาที่ ๘๓๒๙ / ๒๕๔๐
๒.๑. ทรัพย์ที่ถูกลักไปต้องอยู่ในความครอบครองของบุคคลอื่น
- ฎีกาที่ ๓๓๓๓ / ๒๕๔๕
- ฎีกาที่ ๘๑๖ / ๒๕๔๐
- ฎีกาที่ ๑๙๒๔ - ๑๙๒๕ / ๒๕๒๔
- ฎีกาที่ ๓๗๐ / ๒๕๒๑
- ฎีกาที่ ๒๒๙ / ๒๕๑๐
- ฎีกาที่ ๕๙๘๐ - ๕๙๘๑ / ๒๕๓๙
- ฎีกาที่ ๒๗๙ / ๒๕๐๙
- ฎีกาที่ ๑๖๓๖ / ๒๕๒๑
- ทรัพย์หาย คือ ทรัพย์สินยังมีเจ้าของอยู่ แต่ได้ขาดจากการครอบครองไป
- แย่งการครอบครอง (พาทรัพย์เคลื่อนที่ไปจากการครอบครองในลักษณะตัดกรรมสิทธิ์ )
๒.๒. พาทรัพย์เคลื่อนที่ไป ในลักษณะแย่งการครอบครอง หรือ ตัดกรรมสิทธิ์
- ฎีกาที่ ๗๐๐๗ / ๒๕๓๐ ( ใช้ไม้เกี่ยวกระเป๋า ม. ๘๐ , ๓๓๔ )
- ฎีกาที่ ๑๒๑ / ๒๕๓๗ ( นั่งค่อมคนขับ จยย. ม. ๘๐ , ๓๓๔ )
- ฎีกาที่ ๔๙๐ / ๒๕๔๒ ( ลวดสายไป ม. ๘๐ , ๓๓๔ )
- ฎีกาที่ ๒๔๘๐ / ๒๕๓๕
- ฎีกาที่ ๑๔๐๓ / ๒๕๑๐
- ฎีกาที่ ๘๐๙๘ / ๒๕๔๐
๒.๓. ต้องมีการแย่งการครอบครองในลักษณะตัดกรรมสิทธิ์
- ฎีกาที่ ๓๘๙๖ / ๒๕๒๘
- ฎีกาที่ ๔๔๓ / ๒๕๑๕
- ฎีกาที่ ๑๕๕๓ / ๒๕๒๑
- ฎีกาที่ ๓๖๐๘ / ๒๕๓๕
หมายเหตุ
- การจะดูว่าลักทรัพย์สำาเร็จหรือไม่ ( ให้ดูว่ามีอำานาจเหนือทรัพย์หรือไม่ )

ลักทรัพย์ - ยักยอกทรัพย์สินหาย

- ไม่อยู่ในวิสัยที่จะเอาคืนได้ แต่เจ้าของยังติดตามอยู่ ( ถือว่าไม่หายตามกฎหมาย ) และต้องดูต่อไปว่า


ผู้ที่เอาทรัพย์ที่หายไปนั้นรู้หรือไม่ ดังนี้.-
๑.๑. ถ้ารู้ว่าทรัพย์หาย ( ผิด ตาม ม. ๓๓๔ )
๑.๒. ถ้าไม่รวู้ ่าทรัพย์หาย ( ผิด ตาม ม. ๓๕๒ วรรค ๒ )
- ไม่อยู่ในวิสัยที่จะเอาคืนได้ และเจ้าของไม่ติดตามเอาคืน ( ถือว่าหายตาม ม. ๓๕๒ วรรค ๒ )
- อยู่ในวิสัยที่จะเอาคืนได้ และเจ้าของยังติดตามเอาคืนอยู่ ( ถือว่าไม่หายตามกฎหมาย ) และต้องดูต่อไป
ว่า ผู้ที่เอาทรัพย์ที่หายไปนั้นรู้หรือไม่ ดังนี้ .-
๑.๑. ถ้ารู้ว่าทรัพย์หาย ( ผิด ตาม ม. ๓๓๔ )
๑.๒. ถ้าไม่รวู้ ่าทรัพย์หาย ( ผิด ตาม ม. ๓๕๒ วรรค ๒ )
- ลักทรัพย์อยู่ในความครอบครองของผู้อื่น ทรัพย์สินได้หายไป ( หายไปตามข้อเท็จจริง ) เป็นการแย่งการ
ครอบครอง
- ฎีกาที่ ๑๓๖๓ / ๒๕๐๓ ( ปืนทหารหาย )
- ฎีกาที่ ๒๗๖๙ / ๒๕๓๔ ( ลืมกระเป๋าเงิน )
- ฎีกาที่ ๒๔๐๒ / ๒๕๒๙
- ฎีกาที่ ๑๕๙ / ๒๕๑๒
- ฎีกาที่ ๕๙๘๐ / ๒๕๔๐ ( สั่งวิทยุสื่อสารคุมงาน )
- ฎีกาที่ ๗๗๕ / ๒๕๐๖
- ฎีกาที่ ๑๗๔๕ / ๒๕๑๔
- ฎีกาไม่ใช่แย่งการครอบครองในลักษณะตัดกรรมสิทธิ์
- ฎีกาที่ ๑๙๑๕ / ๒๕๔๓
- ฎีกาที่ ๑๐๐๒ / ๒๕๓๕
- ไม่มีเจตนาทุจริต
- ฎีกาที่ ๑๖๔๓ / ๒๕๓๕
- ฎีกาที่ ๑๔๒๕ / ๒๕๑๗
- ฎีกาที่ ๒๑๘๘ / ๒๕๔๕
- ฎีกาที่ ๔๒๐๐ / ๒๕๔๕
- ลักทรัพย์สำาเร็จแล้ว ( ได้ทำาลายทรัพย์ ไม่ผิด ม. ๓๕๘ อีก )
- ฎีกาที่ ๒๓๕ / ๒๔๘๖
- ฎีกาที่ ๒๙๓ / ๒๔๖๐ ( ผิดวางเพลิง ตาม ม. ๒๑๘ )
- ลักทรัพย์กับทำาให้เสียทรัพย์ตาม ม. ๓๕๘ ผิดพร้อมกันได้
- ฎีกาที่ ๔๘๐๔ / ๒๕๓๓
- ฎีกาที่ ๘๘๗ / ๒๕๐๑ ( ลักกระแสไฟฟ้า )
- ฎีกาที่ ๕๓๕๔ / ๒๕๓๙ ( ลักจูนโทรศัพท์มือถือ ) ไม่ผิดมาตรา ๓๓๔
- ฎีกาที่ ๑๘๘๐ / ๒๕๔๒ ( ลักจูนโทรศัพท์บ้าน (ทศท.) ) ผิดมาตรา ๓๓๔

วัตถุแห่งการกระทำา
- ฎีกาที่ ๔๘๐๔ / ๒๕๓๓
- ฎีกาที่ ๗๕๕ / ๒๕๐๙ ขุดหน้าดินไปขาย ( ผิดลักทรัพย์ มาตรา ๓๓๔ ) ไม่ใช่ยักยอก
๑. ทรัพย์ที่ถูกลักไปนั้นต้องมีเจ้าของ ( ตาม ปพพ.มาตรา ๑๓๑๙ - ๑๓๒๒ )
- ฎีกาที่ ๑๔๕๐ / ๒๕๑๐ บ่อปลา
- ฎีกาที่ ๙๕๘ / ๒๕๐๙ บ่ออยู่ในลำาลองสาธารณะ
๒. ส่วนควบ ( ปพพ.มาตรา ๑๓๑๖ )
- ฎีกาที่ ๑๐๙๓ / ๒๕๐๗ ( เช่าซื้อตัวรถ )

โดยทุจริต
- โดยทุจริต ( มาตรา ๑ (๑) ) คือ เป็นการแสวงหาที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายสำาหรับ
ตนเองหรือผู้อื่น
- ยึดทรัพย์สินไปไม่เกินกว่าหนี้ ไม่เป็นการทุจริต ( ไม่ผิดลักทรัพย์มาตรา ๓๓๔ )
- ฎีกาที่ ๒๕๑ / ๒๕๑๓ ผู้เสียหายเช่านาโดยใช้ข้าวเป็นค่าเช่าแก่จำาเลย โดยจำาเลยเอาข้าว
ไปไม่เกินกว่าค่าเช่า ( ไม่ผิดมาตรา ๓๓๔ )
- ฎีกาที่ ๒๐๔๑ / ๒๕๑๕
- ฎีกาที่ ๒๒๗๘ / ๒๕๑๕
* การเอาทรัพย์ไปโดยพลการ วิสาสะ ( ขาดเจตนาโดยทุจริต ไม่ผิดลักทรัพย์ )
- ฎีกาที่ ๗๕๗ / ๒๕๓๔ การจับปลาในสระของวัด กระทำาโดยประชาชนร่วมใจกัน
แสดงว่าเจ้าอาวาสยินยอมโดยปริยาย ( ไม่ผิดลักทรัพย์ตามมาตรา๓๓๕ ) เนื่องจากว่ากระทำาเพื่อประโยชน์ร่วม
กัน )
- ฎีกาที่ ๑๑๔๗ / ๒๕๔๐ ลักเอาวิทยุมือถือไปขณะผู้เสียหายนอนหลับ ( ถือว่าผิดลักทรัพย์
ตามมาตรา ๓๓๔ )

ลักทรัพย์ ( ตามมาตรา ๓๓๕ )


- ต้องเป็นการกระทำาผิดลักทรัพย์ตามมาตรา ๓๓๔ (ครบองค์กระกอบความผิดก่อน)

มาตรา ๓๓๕ (๑) ในเวลากลางคืน


- ถือพระอาทิตย์ตกเป็นสำาคัญ ตามมาตรา ๑ (๑๑) ( ว่าตกหรือยัง )

มาตรา ๓๓๕ (๒) ในที่มีเหตุเพลิงไหม้ การระเบิด อุทกภัย หรือบริเวณที่มีอุบัติเหตุ


- ฎีกาที่ ๔๐๒ / ๒๕๔๖ ลักทรัพย์ในบริเวณที่เกิดอุบัติเหตุ ผิดตามมาตรา ๓๓๕(๒)
- ฎีกาที่ ๕๐๔๕ / ๒๕๓๐ ลักทรัพย์บริเวณที่เกิดเหตุเพลิงไหม้ ผิดมาตรา ๓๓๕(๒)

มาตรา ๓๓๕ (๓) โดยทำาอันตรายสิ่งกีดกั้นสำาหรับคุ้มครองบุคคลหรือทรัพย์


- ต้องดูว่าวัตถุที่จะลักขโมยไปนั้นเป็นทรัพย์อะไร
- ฎีกาที่ ๓๐๐๕ / ๒๕๔๓ ลักวิทยุเครื่องเสียงในรถยนต์ โดยงัดประตูรถเอาไป ถือว่า
มีความผิดตามมาตรา ๓๓๕(๓)
- ฎีกาที่ ๒๒๕๐ / ๒๕๑๕ การไขโดยใช้กุญแจผี ( ไม่ถือว่าทำาอันตรายสิ่งกีดกั้นสำากรับ
คุ้มครองบุคคลหรือทรัพย์แต่อย่างใด ) ไม่ผิดมาตรา ๓๓๕(๓)
- ฎีกาที่ ๒๔๔๗ / ๒๕๒๗ ลักรถไปทั้งคัน (ไม่ถือว่าผิดมาตรา ๓๓๕(๓) )
- ฎีกาที่ ๙๘ / ๒๕๓๒ มาตรา ๓๓๕(๓) จะต้องกระทำาการอย่างหนึ่งอย่างใดต่อทรัพย์ก่อน
ที่จะเข้าไปเอา ถึงจะมีความผิดตามอนุมาตรานี้ได้

มาตรา ๓๓๕ (๔) ไม่เข้าช่องทางที่จำานงให้เป็นทางเข้า - ออก

มาตรา ๓๓๕ (๕) การแปลงตัว หรือมอมตัวเป็นผู้อื่น

มาตรา ๓๓๕ ( ๖ ) โดยลวงว่าเป็นเจ้าพนักงาน

มาตรา ๓๓๕ (๗) โดยมีอาวุธหรือร่วมกันกระทำาความผิดตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป


- อาวุธตามมาตรา ๑ (๕) ไม้คาน , หนังสติ๊ก , ไม้พาย , จอบเสียม ( ไม่ใช่อาวุธ )
(๑). ดูขนาด และลักษณะการใช้ในการกระทำาความผิด
(๒). สามารถว่าจะใช้ทำาอันตรายถึงสาหัสได้หรือไม่

มาตรา ๓๓๕ (๘) ในเคหสถาน สถานที่ราชการ


- ในเคหสถาน หรือสถานที่ราชการ (ที่ตนได้เข้าไปโดยไม่ได้รับอนุญาตหรือซ่อนตัวอยู่ใน
สถานที่นั้นๆ )
- กุฎิพระ ( เป็นเคหสถาน )
- ฎีกาที่ ๒๐๑๔ / ๒๕๓๖
- ฎีกาที่ ๒๑๙๓ / ๒๕๓๑ ( ร้านค้าที่ไม่ได้พักอาศัยในตอนกลางคืน ไม่ใช่เคหสถาน )
- ฎีกาที่ ๖๘๒๙ / ๒๕๒๘
- ฎีกาที่ ๒๑๓๗ / ๒๕๒๗ ยื่นมือเข้าไปในห้องแล้วเอากระปุกออมสินไป ผิดมาตรา
๓๓๕ (๘)
- สถานที่ราชการ ( ต้องเป็นสถานที่ทำางาน แต่โรงอาหาร ไม่ใช่สถานที่ราชการ )
- ฎีกาที่ ๒๔๘๕ / ๒๕๔๓

มาตรา ๓๓๕ (๑๑) ทรัพย์ที่เป็นของนายจ้าง


- ลูกจ้างรายวัน ไม่ได้ลักในเวลาทำางาน ( ไม่ผิดมาตรา ๓๓๕(๑๑) )
- ฎีกาที่ ๔๑ / ๒๔๗๒ รับจ้างตักนำ้าเป็นคราวๆ ไม่ใช่นายจ้างลูกจ้างซึ่งกันและกัน
- ฎีกาที่ ๖๖๓ / ๒๕๑๙
- ฎีกาที่ ๕๙๘๐ / ๒๕๓๙
- ฎีกาที่ ๕๙๘๑ / ๒๕๓๙
- ฎีกาที่ ๒๙๖๖ / ๒๕๓๙

วิ่งราวทรัพย์ ( มาตรา ๓๓๖ )

มาตรา ๓๓๖ วรรคแรก


- ต้องมีการลักทรัพย์ตามมาตรา ๓๓๔ มาก่อน ในลักษณะฉกฉวยเอาซึ่งหน้า
- ฎีกาที่ ๘๓๑ / ๒๕๓๒ จำาเลยกระชากคอเสื้อ แล้วกระชากสร้อยคอไป ( ผิดวิ่งราว
ทรัพย์ตามมาตรา ๓๓๖ (ไม่ผิดชิงทรัพย์ )
- ฎีกาที่ ๒๙๗ / ๒๔๘๔ จำาเลยล้วงเอาทรัพย์ในกระเป๋าแล้ววิ่งหนีไป ผู้เสียหายวิ่งติด
ตาม จำาเลยชักมีดออกมาจะประทุษร้าย ผิดชิงทรัพย์ ตามมาตรา ๓๓๙
- ฎีกาที่ ๖๒๕๒ / ๒๕๓๑ พยายามวิ่งราวทรัพย์
- ฎีกาที่ ๒๖๙๐ / ๒๕๒๕
- ฎีกาที่ ๓๖๒๔ / ๒๕๓๐
- ฎีกาที่ ๙๑๙ / ๒๕๐๓

มาตรา ๓๓๖ วรรคสอง ( ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ) มีหลักดังนี.้ -


(๑). หลักการกระทำาและผล ตามมาตรา ๖๓
(๒). การกระทำาต้องไม่ขาดตอน ( ต่อเนื่องกัน )
มาตรา ๓๓๖ วรรคสาม ( ผู้อื่นได้รบั อันตรายสาหัส )

มาตรา ๓๓๖ วรรคสี่ ( ผู้อื่นถึงแก่ความตาย )

มาตรา ๓๓๖ ทวิ ( บทหนัก )


- เป็นบทหนักของมาตรา ๓๓๔ , ๓๓๕ , ๓๓๕ ทวิ , ๓๓๖ มีหลักดังนี.้ -
(๑). แต่งเครื่องแบบเป็นทหารหรือตำารวจ
(๒). แต่งกายให้เข้าใจว่าเป็นทหารหรือตำารวจ
(๓). โดยมีหรือใช้อาวุธ หรือวัตถุระเบิด
(๔). โดยใช้ยานพาหนะเพื่อสะดวกแก่การกระทำาผิด หรือพาทรัพย์นั้นไป หรือเพื่อให้พ้นจาก
การจับกุม
- ฎีกาที่ ๗๑๖๒ / ๒๕๔๒ มาตรา ๓๓๖ ทวิ ไม่ใช่บทเพิ่มโทษ แต่เป็นบทระวางโทษหนัก
กว่าที่กฎหมายกำาหนดไว้
- ฎีกาที่ ๗๐๐๗ / ๒๕๔๓
- ฎีกาที่ ๔๙๓๐ / ๒๕๓๘
- ฎีกาที่ ๙๓๔ / ๒๕๓๖
- ฎีกาที่ ๕๔๕๗ / ๒๕๔๑ ถ้ามีหน้าที่ขับรถอยู่แล้ว ได้ขับรถหลบหนี (ไม่ผิดมาตรา ๓๓๖ทวิ)
- ฎีกาที่ ๔๓๕ / ๒๕๓๖ ไม่ใช่ลักทรัพย์โดยใช้ยานพาหนะตามมาตรา ๓๓๖ ทวิ
- การใช้ยานพาหนะตามมาตรา ๓๓๖ ทวิ และการริบทรัพย์ตามมาตรา ๓๓ ( ฎีกาที่ ๕๐๑๔ /
2542

ชิงทรัพย์ ( มาตรา ๓๓๙ ) มีหลักดังนี.้ -

๑. ต้องเป็นความผิดฐานลักทรัพย์ ( ก่อน )
- ฎีกาที่ ๒๑๘๘ / ๒๕๔๕ จำาเลยกับผู้เสียหายเป็นสามีภริยากัน ผู้เสียหายชายเล่นการพนัน
จำาเลยห้ามปรามก็ไม่ฟัง จำาเลยจึงได้เอาสร้อยคอของภริยาไปก็เพื่อมิให้ไปเล่นการพนันเท่านั้น โดยจำาเลย
ได้นำากลับมามอบให้ในภายหลัง จำาเลยจึงหามีเจตนาเอาทรัพย์ดังกล่าวไปโดยทุจริตไม่ จำาเลยจึงใม่มีความ
ผิดตามมาตรา ๓๓๙
- ฎีกาที่ ๓๔๗๗ / ๒๕๔๒ จำาเลยใช้อาวุธปืนจี้ให้ขับรถไปส่งจำาเลย ( ไม่ผิดชิงทรัพย์ตาม
มาตรา ๓๓๙ ) แต่มีความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพตามมาตรา ๓๐๙ เท่านั้น
๒. การลักทรัพย์นั้นต้องมีการขู่เข็ญว่าจะใช้กำาลังประทุษร้าย หรือ ใช้กำาลังประทุษร้าย
- ฎีกาที่ ๕๘๓๘ / ๒๕๔๑ ทำาร้ายร่างกายแล้ว นาฬิกาของผู้เสียหายได้หลุดจากมือ แล้วผู้
เสียหายได้วิ่งหนี จำาเลยวิ่งติดตามและได้ทำาร้ายซำ้าอีกจนผู้เสียหายได้รับบาดเจ็บ จากนั้นจำาเลยจึงได้กลับมา
พบนาฬิกาตกอยู่กับพื้น จำาเลยจึงเอานาฬิกาดังกล่าวไป ( จำาเลยมีความผิดตามมาตรา ๒๙๕ , ๓๓๔ )
- ฎีกาที่ ๑๕๙๒ / ๒๕๓๕
- ฎีกาที่ ๑๓๓๗ / ๒๕๓๒ ตบหน้า แล้วขับรถหนีไปออกห่าง ๒ กม. ( จำาเลยมีความผิดตาม
มาตรา ๓๙๑ และ ๓๓๔ ) แต่ไม่ผิดมาตรา ๓๓๙
- ฎีกาที่ ๑๖๒๖ / ๒๕๐๐
- ฎีกาที่ ๒๕๔๙ / ๒๕๓๒
- ฎีกาที่ ๒๗๖๗ / ๒๕๑๖

ประทุษร้าย ( มาตรา ๑ (๖) มี ๒ อย่าง


๑. ประทุษร้ายต่อร่างกายหรือจิตใจโดยตรง
๒. กระทำาด้วยประการใด ๆ ให้อยู่ในภาวะที่ไม่สามารถขั ดขืนได้
- ฎีกาที่ ๘๖๗ / ๒๕๐๒ แกะเชือกกระบือออกจากมือเด็ก ( ผิดมาตรา ๓๓๙ )
- ฎีกาที่ ๑๖๐๙ / ๒๕๑๖ จับมือคนเฝ้าบ้านเพื่อ ลักทรัพย์ ( ผิดมาตรา ๓๓๙ )
- ฎีกาที่ ๓๗๐๘ / ๒๕๓๗ จำาเลยเข้ามาทางด้านหลังผู้เสียหายพร้อมใช้ไหล่กระแทก แล้วเอากระ
เป๋าเงินไป ( ผิดมาตรา ๓๓๙ )
- ฎีกาที่ ๘๓๑ / ๒๕๓๒ จำาเลยใช้มือขวากระชากคอเสื้อเพื่อให้เห็นสร้อยคอ แล้วจึงใช้มือซ้ายกระ
ชากเอาสร้อยคอไป ( ผิดฐานวิ่งราวทรัพย์มาตรา ๓๓๖ )
- ฎีกาที่ ๓๖๑ / ๒๕๒๐ จำาเลยปัดไฟฉายแล้วเอาทรัพย์ไป ( ผิดฐานชิงทรัพย์ ตามมาตรา ๓๓๙ )
- ฎีกาที่ ๒๑๐๓ / ๒๕๒๑ ( ออกสอบแล้ว ) เข้าไปลักนกในกรง ไม่เป็นชิงทรัพย์ เนื่องจากว่าไม่
ได้กระทำาต่อตัวบุคคล หากแต่เพียงเป็นการยื้อแย่งทรัพย์ (นก)ที่จะลักเท่านั้น
- ฎีกาที่ ๓๒๖๙ / ๒๕๓๑
- ฎีกาที่ ๕๖๗ / ๒๕๓๗

การขู่เข็ญว่าจะใช้กำาลังประทุษร้าย
- ฎีกาที่ ๑๐๖๐ / ๒๕๔๕ จำาเลยถือมีดปลายแหลมเดินเข้าไปในระยะ ๒ เมตรหาผู้เสียหาย แต่
ผู้เสียหายได้วิ่งหลบหนี จำาเลยจึงวิ่งติดตามพร้อมกับกระชากสร้อยคอ ไม่เป็นการขู่เข็ญว่าจะใช้กำาลังประทุษ
ร้าย และไม่แสดงได้ว่าเป็นการขู่เข็ญ ( ไม่ผิดชิงทรัพย์ตามมาตรา ๓๓๙ )
- ฎีกาที่ ๗๓๐ / ๒๕๐๙ จำาเลยถือมีดและขวานพร้อมกับพูดว่า " ให้มีดกูเถอะ " ผิดลักทรัพย์
โดยมีอาวุธตามมาตรา ๓๓๕ (๗) แต่ไม่ผิดชิงทรัพย์ตามมาตรา ๓๓๙ เพราะว่าไม่มีการขูเ่ ข็ญว่าจะใช้กำาลังประ
ทุษร้ายแต่อย่างใด
- ฎีกาที่ ๓๓๐ / ๒๕๓๕ จำาเลยที่ ๑ , ๒ , ๓ ยืนห้อมล้อมรถไอศครีมของผู้เสียหาย แล้วพูดต่อรอง
ราคาซื้อไอศครีมจาผู้เสียหาย ( ไม่ผิดชิงทรัพย์ตามมาตรา ๓๓๙ )
- ฎีกาที่ ๖๗๒๔ / ๒๕๔๔
- ฎีกาที่ ๑๑๘๑ / ๒๕๔๓ ผู้เสียหายยืนเรียกรถแท๊กซี่
- ฎีกาที่ ๕๘ / ๒๕๔๖ จักรยานยนต์เป็นของผู้เสียหายและขีล่ งจากสะพานมา ได้ถูกรถยนต์เก๋ง
เฉี่ยวชนแล้วหลบหนีไป ส่วนรถจักรยานยนต์ล้มลงทับผู้เสียหายอยู่ ต่อมาจำาเลยที่ ๑ , ๒ ทำาท่าทีจะช่วยเหลือ
แล้วยกรถจักรยานยนต์ขึ้น จำาเลยที่ ๑ จึงได้ขับรถจักรยานยนต์ของผู้เสียหายไป ส่วนผู้เสียหายได้ขึ้นนั่งซ้อนท้าย
รถจักรยานยนต์กับจำาเลยที่ ๒ แล้วได้ขับขี่รถตามกันไปประมาณ ๕ - ๖ กม. พอถึงทางแยกใกล้กันกับบ้านของผู้
เสียหาย จำาเลยที่ ๑ กลับได้เร่งเครื่องยนต์รถจักรยานยนต์ของผู้เสียหายหลบหนีไป ส่วนจำาเลยที่ ๒ ได้ใช้ศอก
กระแทกผู้เสียหายจนตกลงรถจักรยานยนต์ แล้วได้ขับรถจักรยานยนต์หลบหนีไป แล้วจากนั้นจำาเลยที่ ๑ ได้นำา
รถจักรยานยนต์ของผู้เสียหายไปฝากไว้กับจำาเลยที่ ๓ จำาเลยที่ ๑ และ ๒ จึงมีความผิดตามมาตรา ๓๓๙ วรรค ๒
, ๓๔๐ ตรี ส่วนจำาเลยที่ ๓ ไม่มีความผิดฐานรับของโจรตามมาตรา ๓๕๗ ยกฟ้อง
- ให้ดูพยายามชิงทรัพย์ ( ด้วย คาดว่าเก็งข้อสอบ )

ปล้นทรัพย์ ( มาตรา ๓๔๐ ) มีหลักดังนี.้ -


- การปล้นทรัพย์เป็นการชิงทรัพย์ตงั้ แต่ ๓ คนขึน้ ไป ( มีลักษณะเป็นตัวการร่วมกัน )
- ฎีกาที่ ๑๘๖๓ / ๒๕๔๓ จำาเลยที่ ๑ ขับรถชนท้ายรถยนต์ของผู้เสียหาย แล้วจากนั้นจำาเลยที่ ๒
ได้ตีที่มือพร้อมกับกระชากคอเสื้อผู้เสียหายพร้อมกับได้ขับรถของผู้เสียหายหลบหนีไป โดยมีจำาเลยที่ ๓ ไม่ได้
ทำาอะไร แต่ได้นั่งไปด้วยกับจำาเลยที่ ๒ ( ถือว่าจำาเลยที่ ๑ , ๒ , ๓ มีความผิดปล้นทรัพย์ )
- ฎีกาที่ ๑๕๔๓ / ๒๕๔๐ ค่าอาหารแพงแต่ผู้เสียหายไม่ยอมจ่าย จำาเลยที่ ๑,๒,๓ จึงตบหน้า
และทำาร้ายจนผู้เสียหายมอบค่าอาหารให้ ( ถือว่าผิดฐานปล้นทรัพย์ )
- ฎีกาที่ ๖๓๑ / ๒๕๓๒ บังคับให้เขาสั่งจ่ายเช็คให้จำาเลยทั้ง ๓ คน ( ผิดปล้นทรัพย์ )
- ฎีกาที่ ๔๑๓๐ / ๒๕๒๘

ปล้นทรัพย์ในลักษณะคดี ( มาตรา ๓๔๐ วรรคสอง )


- ในการปล้นทรัพย์นนั้ ผู้กระทำาความผิดคนหนึ่งคนใดมีอาวุธติดตัวไปด้วย ( ให้ถือว่าทุกคนมี
ความผิดร่วมกันกระทำาผิดตามมาตรา ๓๔๐ วรรคสอง )
- ฎีกาที่ ๙๖๗ / ๒๔๗๕

ปล้นทรัพย์ลงโทษหนักขึ้น ( มาตรา ๓๔๐ วรรค ๓ - ๕ )


- ใช้ปืนยิง หรือ วัตถุระเบิด ( ต้องกระทำาขณะปล้นทรัพย์ )
- ฎีกาที่ ๕๐๓ / ๒๕๓๒
- ฎีกาที่ ๒๔๖๑ - ๒๔๖๒ / ๒๕๒๑

เป็นเรื่องเฉพาะตัวของผู้กระทำาผิด ( ตามาตรา ๓๔๐ ตรี )


- เป็นการระวางโทษหนักขึ้น ( ไม่ใช่เพิ่มโทษ )

ฉ้อโกง ( มาตรา ๓๔๑ )


- จะต้องหลอกในเรื่องปัจจุบัน ( ไม่ใช่เรื่องในอนาคต )
- จะต้องหลอกยืนยันข้อเท็จจริง
- ผู้ถูกหลอกลวง ( ต้องรู้ความจริง )
- ฎีกาที่ ๑๕๑ - ๑๕๒ / ๒๕๓๗ ในขณะทำาสัญญาจะซื้อขายที่ดินกันนั้น จำาเลยไม่ทราบมาก่อนว่า
ที่ดินดังกล่าวจะถูกเวนคืนแต่อย่างใด ( จำาเลยไม่ผิดฉ้อโกงตามาตรา ๓๔๑ )
หลักความผิดฐานฉ้อโกง มีหลักดังนี.้ -
๑. ผู้กระทำาต้องรู้ข้อเท็จจริง
๒. ข้อเท็จจริงที่หลอกลวงต้องยืนยันข้อเท็จจริงอันเป็นเท็จเพื่อให้เขาหลงผิด
๓. มีเจตนาโดยทุจริตมาตั้งแต่เริม่ แรก
- ฎีกาที่ ๑๘๖๖ / ๒๕๔๓ จำาเลยนำาผู้เสียหายไปดูที่ดนิ ของ ป. โดยจำาเลยอ้างว่าที่ดินดังกล่าวนี้เป็น
ของตน โดย ป.ไม่รู้เรื่อง ผู้เสียหายหลงเชื่อจึงซื้อที่ดินดังกล่าวจากจำาเลยไว้ ( ถือว่าจำาเลยมีความผิดตามมาตรา
๓๔๑ )
- ฎีกาที่ ๖๘๖๓ / ๒๕๔๓
- ฎีกาที่ ๒๖๕๒ / ๒๕๔๓

เรื่องในอนาคต
- ฎีกาที่ ๗๐๗ / ๒๕๑๐ ขณะจำาเลยพูดยืมเงินกับผู้เสียหายว่าจะนำาไปซื้อเบี้ยเลี้ยงตำารวจ ( ถือว่า
จำาเลยไม่มีความผิดตามมาตรา ๓๔๑ ) เป็นเรื่องผิดสัญญาทางแพ่ง
- ฎีกาที่ ๑๐๔๒ / ๒๕๓๕ จำาเลยที่ ๔ เคยรักษาโรคกับจำาเลยที่ ๑ จนหาย แล้วจำาเลยที่ ๔ ได้แนะ
นำาให้ผู้เสียหายไปรักษาโรคกับจำาเลยที่ ๑ ( ไม่ผิดฐานฉ้อโกง ตามมาตรา ๓๔๑ )
- ฎีกาที่ ๒๑๙ / ๒๕๓๑ จำาเลยไม่เชือ่ เรือ่ งไสยศาสตร์ แล้วได้หลอกลวงผู้เสียหายว่าเอานำ้ามันพราย
ไปเพื่อค้าขายดี ได้เรียกค่านำ้ามันพรายจากผู้เสียหายไป ( ผิดฐานฉ้อโกง ตามมาตรา ๓๔๑ )
- ฎีกาที่ ๑๒๕ / ๒๕๒๗ จำาเลยนำาความเท็จมาบอกกล่าวผู้เสียหายว่าสามารถติดต่อนำาสุรามหาราช
มาจำาหน่ายในราคาถูกได้ ( ผิดฐานฉ้อโกง ตามมาตรา ๓๔๑ )

ปกปิดข้อเท็จจริงควรบอกแจ้งให้ทราบ
- ฎีกาที่ ๒๗๕ / ๒๔๖๑ ก จำาเลยเป็นข้าราชการมีบา้ นส่วนตัวจำานวน ๑ หลัง ต่อมาได้โกหกว่า
ได้ขายไปและเช่าบ้านหลังดังกล่าว โดยได้เบิกค่าเช่าบ้านจากทางราชการไป ( ผิดฐานฉ้อโกง ตามมาตรา ๓๔๑ )
- ฎีกาที่ ๘๖๑ / ๒๔๘๗
- ฎีกาที่ ๓๑๓ / รศ.๑๒๑ ก.นำาโฉนดที่เลิกใช้แล้วไปขอกู้เงินจาก ข. โดยนำาโฉนดดังกล่าวไปเป็น
ประกันและจดทะเบียนขายฝากไว้ ( จำาเลยมีความผิดฉ้อโกงตามมาตรา ๓๔๑ )
- ความผิดฉ้อโกงสำาเร็จ ( เมื่อผู้ถกู หลอกลวงหลงเชื่อส่งมอบทรัพย์สินให้ไป )
- ถ้าหลอกลวง แต่ไม่เชื่อ ( ผิดพยายามฉ้อโกง ตามมาตรา ๓๔๑ + ๘๐ )
- ถ้าหลอกลวง แต่ไม่เชื่อ แต่ได้มอบเงินให้เพื่อสงสาร ( ผิดพยายามฉ้อโกง ตามมาตรา ๓๔๑ + ๘๐ )
- หลอกลวง หลงเชื่อ แต่ไม่มีเงินให้ ( ผิดพยายามฉ้อโกง ตามมาตรา ๓๔๑ + ๘๐ )
- ฎีกาที่ ๒๗๐๕ / ๒๕๔๓ ( ผิดฉ้อโกงแล้ว )
- ฎีกาที่ ๑๔๕๕ / ๒๕๒๙ ( ผิดฉ้อโกงแล้ว )
- ฎีกาที่ ๗๒๖๔ / ๒๕๔๓
- ฎีกาที่ ๑๗๓๓ / ๒๕๑๖
- ฎีกาที่ ๓๖๖๗ / ๒๕๔๒
- ฎีกาที่ ๑๒๗๙ / ๒๕๑๗

เป็นเรื่องผิดสัญญาทางแพ่ง
- ฎีกาที่ ๑๖๗๔ - ๑๖๗๕ / ๒๕๔๓
- ฎีกาที่ ๖๘๔๕ / ๒๕๔๐
- ฎีกาที่ ๕๖๖ / ๒๕๔๒
- ฎีกาที่ ๑๙ / ๒๕๔๑

ให้ดูฎีกา เล่มที่ ๑ ปี ๒๕๔๖


- เรื่องเจตนาฆ่า หรือ เจตนาทำาร้าย ( ดูให้ดี )
- ฎีกาที่ ๓๕ / ๒๕๔๖ ( เจตนาทำาร้าย )

แสดงตนเป็นคนอื่น ( มาตรา ๓๔๒ )


- นำาเอกสารที่เลือนแล้วมาแสดงต่อคนอื่น ( ผิดฉ้อโกงตามมาตรา ๓๔๒ )

กรรโชกทรัพย์ ( มาตรา ๓๓๗ )


- เป็นการขู่เข็ญ
- ฎีกา เล่มที่ ๑ ปีพ.ศ. ๒๕๔๖
- ฎีกาที่ ๑๓๑ / ๒๕๔๖ วันเกิดเหตุจำาเลยเดินมาที่ร้านของผู้เสียหาย เมื่อมาถึงผู้เสียหาย
ได้ถามจำาเลย โดยจำาเลยได้แจ้งให้ทราบว่าเป็นเจ้าหน้าที่ตำารวจจะมาคุ้มครองร้านค้าของผู้เสียหายและขอเงิน
จำานวน ๕,๐๐๐ บาทจากผู้เสียหาย จากนั้นผู้เสียหายจึงเดินเข้าไปในร้านพร้อมกับได้โทรศัพท์แจ้งตำารวจ แต่
ปรากฎว่าโทรศัพท์ไม่ติด ผู้เสียหายจึงเดินกลับออกมาที่หน้าร้านพบว่าจำาเลยขับรถหลบหนีไปแล้ว ( จำาเลยมี
ความผิดฐานแสดงตนเป็นเจ้าพนักงานตามมาตรา ๑๔๕ แต่ไม่มีความผิดฐานกรรโชกทรัพย์ตามมาตรา ๓๓๗
แต่อย่างใด )
HAPPY ENDING
สรุปวิชานิติกรรม - สัญญา

ข้อสอบกลุ่มวิชาแพ่งภาค ๑
ลำาดับที่ เรื่อง จำานวน (ข้อ )
ข้อ ๑ ทรัพย์ - ที่ดิน 1
ข้อ ๒ นิติกรรม - สัญญา - หนี้ - ละเมิด - ( ลาภมิควรได้ ) 1
ข้อ ๓ " 1
ข้อ ๔ ซื้อขาย - ขายฝาก - ให้ - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ 1
ข้อ ๕ ยืม - คำ้าประกัน - จำานอง - จำานำา - ( จ้างทำาของ-รับขน ) 1
ข้อ ๖ ตั๋วเงิน - ตัวแทน - ประกันภัย - บัญชีเดินสะพัด 1
ข้อ ๗ หุ้นส่วน - บริษัท 1
ข้อ ๘ ครอบครัว - มรดก 1
ข้อ ๙ การค้าระหว่างประเทศ ( พ.ร.บ.รับขนของทางทะเล ) 1
ข้อ ๑๐ กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา 1

สัญญา ( ม. ๓๕๔ - ๓๙๔ ) มี ๔ หมวด

๑. ก่อให้เกิดสัญญา ( ม. ๓๕๔ , ๓๕๕ , ๓๕๖ , ๓๕๗ , ๓๕๘ , ๓๕๙ )


- ถ้ามีคำาว่า " ถ้า " นำาหน้า ( ไม่ใช่คำาเสนอ แต่เป็นคำาปรารภ )
- การแสดงเจตนาขอทำาสัญญา โดยขอทราบราคานั้น ( เป็นคำาเชื้อเชิญ ไม่ใช่คำาเสนอ )
- การกล่าวที่ชัดเจน โดยได้ตอบคำาเชื้อเชิญ ( เป็นคำาเสนออันดับแรก )
- คำาเสนอบ่งระยะเวลา ( ม. ๓๕๔ ) ( ไม่สนองภายในกำาหนดเวลาที่เสนอ )
- คำาเสนอโดยระยะทาง ( ไม่ได้กำาหนดเวลา ) = ม.๓๕๕ ( เวลาอันควร มิได้บ่งเวลา ) ,
ม. ๓๕๖ ( อยู่เฉพาะหน้า ) ให้ส่งจดหมาย หรือ ส่งหนังสือ ( ระยะทางห่างไกล )
- เมื่อคำาสนองมาถึงล่วงเวลา ม. ๓๕๔ ( ให้ถือว่าคำาสนองนั้นกลายเป็นคำาเสนอใหม่
ม. ๓๕๙ )
- คำาบอกกล่าวสนองมาถึงล่วงเวลาโดยทางการส่งตามปกติภายในกำาหนด ( ม. ๓๕๘ )
- ความสิ้นการผูกพัน ( ม. ๓๕๗ )
- การเพิ่มเติมข้อจำากัด หรือ แก้ไข ในคำาเสนอ ( เป็นคำาบอกปัดไม่รับ เป็นคำาเสนอขึ้น
ใหม่ด้วยในตัว ม. ๓๕๙ ว.๒ )
- สัญญาจะเกิดก็ต่อเมื่อ ( มีคำาเสนอสนองตรงกัน )
- ผู้เสนอตายและผู้สนองรู้ถึงความตายนั้น ( ม. ๓๖๐ )
- คำาสนองที่ไม่ได้บ่งระยะเวลาไว้หรือมีเวลานานๆ ( เป็นคำามั่น ตาม ม. ๔๕๔ ) ฎีกาที่
๖๕๑๕ / ๒๕๓๙
- ข้อตกลงซึ่งจะทำาเป็นสัญญานั้น ต้องทำาเป็นหนังสือ สัญญาจะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อจะได้ทำา
ขึ้นเป็นหนังสือ ตาม ม. ๓๖๖ วรรค ๒ ( ถ้าไม่ปฎิบัติตามถือว่าสัญญายังไม่เกิดขึ้น )

ผลแห่งสัญญา ( ม. ๓๖๙ - ๓๗๖ )


๑. ผลแห่งสัญญาต่างตอบแทน ( ม. ๓๖๙ )
- มาตรา ๓๖๙ เป็นบททั่วไปของสัญญาต่างตอบแทน
๒. ผลของสัญญาเพื่อประโยชน์แก่บุคคลภายนอก
- หนี้พ้นวิสัย มีได้ในวัตถุแห่งหนี้อยู่เพียง ๒ ประการ
๑. การกระทำาการ
๒. ส่งมอบทรัพย์สิน
การชำาระหนี้เป็นพ้นวิสัย มีดังนี้
๑. วัตถุประสงค์ต้องห้ามตามกฎหมาย ( ม. ๑๕๐ )
๒. การชำาระหนี้ของลูกหนี้เป็นพ้นวิสัย ( ม. ๒๑๗ , ๒๑๘ , ๒๑๙ )
๓. การชำาระหนี้เป็นพ้นวิสัยในสัญญาต่างตอบแทน ( ม. ๓๗๐ - ๓๗๒ )
- ลูกหนี้ให้หมายถึงลูกหนี้ในหน้าที่ที่ปฎิบัติไม่ได้ ( ในมูลหนี้ที่ตกเป็นพ้นวิสัย )
- การดูว่าจะกลายเป็นพ้นวิสัยหรือไม่นั้น ให้ดูว่าหนี้ถึงกำาหนดเวลาชำาระและลูกหนี้ผิดนัดหรือไม่ ถ้า
ลูกหนี้ผิดนัดใช้ ( ม. ๒๑๗ , ๒๑๘ , ๒๑๙ )
- มาตรา ๓๗๐ การโอนทรัพย์เฉพาะสิ่ง ( เป็นการโอนกรรมสิทธิ์เท่านั้น เช่นซื้อขาย แลกเปลี่ยน เช่าซื้อ)
อันจะเป็นการโทษลูกหนี้ไม่ได้ ( การสูญหายหรือเสียหายตกเป็นพับแก่เจ้าหนี้ )
- ถ้าไม่ใช้ทรัพย์เฉพาะสิ่ง ให้นำาบทบัญญัติของทรัพย์เฉพาะสิ่งมาใช้บังคับในกรณีที่ทรัพย์
นั้นกลายเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่ง ตาม ม. ๑๙๕ วรรค ๒
- มาตรา ๓๗๑ ห้ามนำา ม. ๓๗๐ มาใช้บังคับกับดังนี้.-
๑. สัญญาต่างตอบแทนมีเงื่อนไขบังคับก่อน
๒. ทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งสัญญานั้นสูญหรือทำาลายลงในระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สำาเร็จ
- ถ้าทรัพย์ที่เสียหายโทษเจ้าหนี้ไม่ได้และเงื่อนไขสำาเร็จ ( เจ้าหนี้จะเรียกให้ชำาระหนี้หรือ
เลิกสัญญาก็ได้ )
- กรณีที่เสียหายเกิดเพราะฝ่ายลูกหนี้ ( เจ้าหนี้มีสิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทนได้ )
- มาตรา ๓๗๒ นอกจาก ม. ๓๗๐ , ๓๗๑ แล้วการชำาระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัยจะโทษฝ่ายใดไม่ได้ ( ลูกหนี้
หามีสิทธิรับการชำาระหนี้ตอบแทนไม่ )
มัดจำา และ เบี้ยปรับ

มัดจำา ( ม.๓๗๗ , ๓๗๘ )


๑. ความหมายของมัดจำา ( ม. ๓๓๗ )
- มัดจำานั้น เป็นสิ่งใดก็ได้ไม่จำากัด ( ส่วนมากแล้วจะเป็นเงิน )
- ให้ในขณะเข้าทำาสัญญากันกับคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง
- ต้องมีการส่งมอบกัน ( ในขณะเข้าทำาสัญญาเพื่อเป็นหลักฐานและหลักประกัน
- เมื่อเลิ กสัญญาอีกฝ่าย ( สามารถริบมัดจำานั้นได้ )
- ต้องดูเจตนาขณะเข้าทำาสัญญาว่าสิ่งที่ส่งมอบให้นั้น ( เป็นมัดจำาหรือเป็นการ
ชำาระในงวดแรก )
- การทำาสัญญากู้ ( ไม่ใช่เป็นการมัดจำา )
- วางมัดจำาในขณะเข้าทำาสัญญา แต่ไม่เสร็จและได้วางมัดจำาล่วงหน้า ( เป็นการ
มัดจำาที่มีผลใช้บังคับไม่ได้ ) เพราะว่าสัญญาดังกล่าวยังไม่เกิด จึงมอบมัดจำาไม่ได้
- ถ้าสัญญาที่ระบุว่าต้องจดทะเบียนและทำาเป็นหนังสือ ตาม ม. ๓๖๖ วรรค ๒ สิ่ง
ที่ได้วางไว้เป็นมัดจำานั้น ( ไม่ถือว่าเป็นการมัดจำา เพราะว่าสัญญายังไม่เกิด )
๒. ผลของมัดจำา ( ม. ๓๗๘ ) มีผลดังนี้.-
๒.๑. ให้ส่งคืน ( ในเมื่อมีการชำาระหนี้ )
๒.๒. ให้ริบ ( ฝ่ายที่มัดจำาไม่ชำาระหนี้ หรือเป็นการพ้นวิสัยที่ผู้วางมัดจำาทำาให้เกิดขึ้น
หรือ เลิกสัญญาเพราะความผิดของฝ่ายผู้วางมัดจำา )
๒.๓. ให้ส่งคืน ( เนื่องจากฝ่ายที่รับมัดจำา ไม่ส่งมอบการชำาระหนี้ให้กับฝ่ายที่วางมัด
จำา )
- ถ้าฝ่ายผู้รับมัดจำา และผู้วางมัดจำา ผิดทั้ง ๒ ฝ่าย ( ให้นำา ม. ๒๑๙ , ๓๙๑ มาใช้บัง
คับซึ่งไม่ต้องด้วย ม. ๓๗๘ (๒) , (๓) )

เบี้ยปรับ ( ม.๓๗๙ , ๓๘๕ )


๑. เบี้ยปรับนั้น ( เป็นเงิน หรือ สิ่งอื่นใดก็ได้ ตาม ม. ๓๘๒ )
๒. ตามมาตรา ๓๘๒ เมื่อเรียกเบี้ยปรับแล้ว ( ไม่สามารถเรียกค่าสินไหมทดแทนได้อีก )
- ถ้าเรียกค่าสินไหมทดแทนแล้ว ( ไม่สามารถเรียกเบีย้ ปรับได้อีก ( ทางกลับกัน )
ตาม ม. ๓๘๐ )
- ในกรณีที่เจ้าหนีจ้ ะเรียกค่าสินไหมทดแทน หรือ เบีย้ ปรับจากลูกหนี้นั้น ( ต้องเกิด
จากลูกหนี้ไม่ชำาระหนี้ และลูกหนี้ไม่ชำาระให้ถูกต้อง เท่านั้น ( ประกอบกับทำาให้เจ้าหนี้เสียหาย )
- ฟ้องบังคับชำาระหนี้ ( ไม่สามารถเรียกเบีย้ ปรับได้ แต่เรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อ
การเยียวยาได้ ม. ๓๘๐ )
- ฟ้องเรียกเบี้ยปรับ ( ไม่สามารถฟ้องบังคับชำาระหนีไ้ ด้ ตาม ม. ๓๘๐ )
๓. การเรียกเบี้ยปรับ มีได้ ๒ กรณี
๓.๑. การไม่ชำาระหนี้ ( ตาม ม. ๓๘๐ )
๓.๒. การชำาระหนี้ไม่ถูกต้อง ( ตาม ม. ๓๘๑ ) ( ปรับแล้วบังคับชำาระหนี้ได้ )
๔. มาตรา ๓๘๑ การชำาระหนี้ไม่ถูกต้อง มีดังนี้.
๔.๑. ไม่ตรงตามเวลา ( ช้า )
๔.๒. การไม่ชำาระหนี้ของลูกหนี้ (ปรับ) ( ให้สิทธิเจ้าหนี้เรียกให้ชำาระหนี้ได้ )
๔.๓. ถ้าพิสูจน์ได้ว่ายังเสียหายอีก ( ให้เจ้าหนี้เรียกค่าสินไหมทดแทนได้อีกตาม
ม. ๓๘๒ วรรค ๒
- ถ้าเจ้าหนี้ยอมรับชำาระหนี้แล้ว ( ไม่สามารถเรียกเบี้ยปรับจากลูกหนี้ได้ )
- ลูกหนี้ชำาระหนี้ให้กับเจ้าหนี้ก่อนที่เจ้าหนี้จะเรียกให้ชำาระ โดยเจ้าหนี้ยอม
รับ ( เจ้าหนี้เรียกเบี้ยปรับอีกไม่ได้ ) แต่เรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายจากลูกหนี้ได้ ตาม ม.
๓๘๑ วรรค ๓
- ลูกหนี้ชำาระเบี้ยปรับให้กับเจ้าหนี้ก่อนที่เจ้าหนี้จะเรียกเบี้ยปรับจากลูกหนี้
( เจ้าหนี้สามารถเรียกให้ลูกหนี้ชำาระหนี้ได้ ตาม ม. ๓๘๑ วรรค ๓ )
๕. มาตรา ๓๘๓ เบี้ยปรับสูงเกินส่วน
- ศาลมีอำานาจลดลงเป็นจำานวนพอสมควรก็ได้
- ถ้าเบี้ยปรับตำ่า ( ต้องฟ้องร้องขอต่อศาล )
- ถ้าไม่ใช่เบี้ยปรับแล้ว ( ศาลลดไม่ได้ เช่น ดอกผล ดอกเบี้ย )
- ถ้าดอกเบี้ยมีลักษณะเป็นเบี้ยปรับ ( ศาลลดได้ )
- ค่าเสียหาย ค่าเช่าซื้อ ค่าทดแทน ( เป็นเบี้ยปรับ )
- ถ้าไม่มีสัญญาต่อกัน ( ก็สามารถเรียกเบี้ยปรับได้ ) ตาม ม. ๓๘๓ วรรค ๒

ผลเลิกสัญญา ( ม. ๓๙๑ ) ให้ดูพอเป็นหลัก ( เผื่อออก )

THE END
สรุปวิชา หนี้

ความหมายของหนี้
หนี้ คือ สิ่งที่ลูกหนี้จะต้องชำาระให้แก่เจ้าหนี้ ( บุคคลสิทธิ )
- ฎีกาที่ ๖๒๑ / ๒๕๑๙
- ฎีกาที่ ๓๓๘๕ / ๒๕๓๘
- ฎีกาที่ ๓๖๔๙ / ๒๕๒๙
- ฎีกาที่ ๒๕๑๐ / ๒๕๑๖
- ฎีกาที่ ๕๓๓๖ / ๒๕๓๑
- ฎีกาที่ ๕๘๖๖ / ๒๕๓๓
- ฎีกาที่ ๙๕๕ / ๒๕๓๕
- ฎีกาที่ ๒๗๕๔ / ๒๕๔๐
- ฎีกาที่ ๕๓๙๘ / ๒๕๓๘

วัตถุแห่งหนี้ ( วิธีการชำาระหนี้ ) มี ๓ ประการ


๑. กระทำาการ
๒. งดเว้นกระทำาการ
๓. ส่งมอบทรัพย์สนิ
- ฎีกาที่ ๒๕๔๕ / ๒๕๒๔
- ฎีกาที่ ๕๑๕ / ๒๕๒๕
- ฎีกาที่ ๒๓๘๗ / ๒๕๓๔
- ฎีกาที่ ๒๐๔๖ / ๒๕๓๑
- ฎีกาที่ ๕๕๑๖ / ๒๕๓๗
- ฎีกาที่ ๓๓๕๒ / ๒๕๒๙
- ฎีกาที่ ๑๓๑๐ / ๒๔๘๐
- ฎีกาที่ ๒๔๔๒ / ๒๕๒๐ ( ส่งมอบวัตถุแห่งหนี้ )
- ทรัพย์เฉพาะสิ่ง ม. ๑๙๕ ผล ( ม. ๓๗๐ )
- การบังคับการชำาระหนี้ ม. ๒๑๓ ผล ( ม. ๒๑๔ )
- ฎีกาที่ ๙๕๕ / ๒๕๓๕
- หนี้ไม่มีกำาหนดเวลา ( ม. ๒๐๓ )
- หนี้มีกำาหนดเวลา ( ม. ๒๐๔ )
- ฎีกาที่ ๑๐๕ / ๒๕๓๖ ( ส่งมอบข้าวสาร )
- ฎีกาที่ ๔๘๓ / ๒๔๘๐
- ฎีกาที่ ๓๑๕ / ๒๕๓๔
- ฎีกาที่ ๑๓๙๖ / ๒๕๑๒ ( การบังคับรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง )
- ฎีกาที่ ๑๐๖๐ - ๑๐๖๑ / ๒๕๔๐
- ฎีกาที่ ๒๗๔๐ / ๒๕๓๒
- ฎีกาที่ ๕๙๙ / ๒๕๓๕
- การไม่ชำาระหนี้ ( ม. ๒๐๔ )
- หนี้ถึงกำาหนด และภายหลังเจ้าหนี้ได้เตือนลูกหนี้ (ลูกหนี้ผิดนัดเพราะเขาเตือนแล้ว ม.๒๐๔ ว.๑)
- หนี้ถึงกำาหนดตามวันแห่งปฏิทิน และลูกหนี้ไม่ชำาระ ( ลูกหนี้ผิดนัดโดยไม่ต้องเตือนก่อน ม.๒๐๔
ว.๒ ) ฎีกาที่ ๒๖๕ / ๒๕๑๒
- ลูกหนี้ผิดนัดละเมิด ( ม. ๒๐๖ ) ฎีกาที่ ๒๕๒๒ / ๒๕๔๐
- เจ้าหนี้ผิดนัด ( ม. ๒๐๗ ) ฎีกาที่ ๙๘๒ / ๒๕๑๓

สิทธิของคู่สัญญา
๑. บังคับให้ชำาระหนี้
๒. การบอกเลิกสัญญา เรียกค่าเสียหาย ค่าสินไหมทดแทน บังคับตาม ( ม. ๓๑๑ )
- ฎีกาที่ ๗๔๐๖ / ๒๕๔๐
- ฎีกาที่ ๑๓๔๖ / ๒๕๑๓
- ฎีกาที่ ๑๖๒๙ / ๒๕๓๔
- ฎีกาที่ ๙๓๙ / ๒๕๓๘
- ฎีกาที่ ๑๐๘๖ / ๒๕๐๙

การรับช่วงสิทธิ ( ม. ๒๒๖ , ๒๒๗ , ๒๒๙ )

- ฎีกาที่ ๑๔๙๒ / ๒๕๒๔


- ฎีกาที่ ๑๐๙๔ / ๒๕๑๙
- ฎีกาที่ ๒๕๔๒ / ๒๕๒๖
- ฎีกาที่ ๔๕๙๐ / ๒๕๓๖
- ฎีกาที่ ๑๒๔๕ / ๒๕๓๘
- ฎีกาที่ ๕๔๑๙ / ๒๕๓๘
- ฎีกาที่ ๒๓๑๓ / ๒๕๓๐
- ฎีกาที่ ๓๗๑๖ / ๒๕๒๕
- ฎีกาที่ ๘๐๐ / ๒๕๓๓
- ฎีกาที่ ๔๔๖๐ / ๒๕๓๓
- ฎีกาที่ ๔๘๓๙ / ๒๕๓๘
- ฎีกาที่ ๓๕๙ / ๒๕๓๙
- ฎีกาที่ ๓๗๐ / ๒๕๒๖
- ฎีกาที่ ๙๖๑ / ๒๕๓๕
- ฎีกาที่ ๑๐๖๗ / ๒๕๒๔

การใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้ ( ม. ๒๓๓ , ๒๓๖ )


- ม. ๒๓๓ ( การใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้ )
- ม. ๒๓๔ ( เจ้าหนี้เรียกลูกหนี้มาในคดีด้วย )
- ม. ๒๓๖ ( การยกข้อต่อสู้ของลูกหนี้ )

การเพิกถอนการฉ้อฉล ( ม. ๒๓๗ - ๒๔๐ )


- ม. ๒๓๗ ( เพิกถอนการฉ้อฉลของเจ้าหนี้ )
- ฎีกาที่ ๘๘๖ / ๒๕๑๕ ( การเพิกถอนขายฝาก )
- ฎีกาที่ ๓๐๙๐ / ๒๕๓๘ ( ออกข้อสอบผู้ช่วยผู้พิพากษา ปี ๒๕๔๖ )

เจ้าหนี้ - ลูกหนี้ร่วม ( ม. ๒๙๐ - ๓๐๒ )


- ผลระหว่างลูกหนี้ร่วม ตาม ม. ๒๙๖
- ม. ๒๙๕
- ม. ๓๐๑ ( หนี้อันแบ่งชำาระมิได้
- ม. ๓๐๒ , ๒๙๐

การโอนสิทธิเรียกร้อง ( ม. ๓๐๓ - ๓๑๓ )


- ม. ๓๐๖ ( วิธีโอนสิทธิเรียกร้อง ( โดยเฉพาะเจาะจง ) ทำาเป็นหนังสือและบอกกล่าวไปยังลูก
หนี้ โดยลูกหนี้ยินยอม
- ม. ๓๐๘ ข้อต่อสู้ของลูกหนี้ ( ต้องบอกกล่าวแก่ลูกหนี้ โดยลูกหนี้ยินยอม )
- ม. ๓๐๓ บททั่วไปของโอนสิทธิเรียกร้อง ( สามารถเปิดช่องโอนได้ )
- ม. ๓๐๓ วรรค ๒ โอนได้ ( ถ้าไม่ใช่เรื่องเฉพาะตัว )
- ฎีกาที่ ๒๐๙๕ / ๒๕๒๔ ( สิทธิลกู วงเล่นแชร์ )
- ฎีกาที่ ๓๔๙ / ๒๕๒๗ ( ขายสิทธิเช่าโทรศัพท์ )
- ฎีกาที่ ๒๔๗๒ - ๒๔๗๔ / ๒๕๑๙ ( หนี้เกิดจากสัญญาซื้อขาย )
- ฎีกาที่ ๒๔๔ / ๒๕๒๙ ( นี้เกิดจากสัญญาจะซื้อจะขาย )
- ม. ๓๐๙ ( การโอนหนี้เพื่อชำาระตามเขาสั่ง )
- ม. ๓๐๕ ( ผลของการโอนสิทธิเรียกร้อง )

ความระงับแห่งหนี้
- ม. ๓๑๔ ( การชำาระหนี้โดยบุคคลภายนอก เว้นแต่บุคคลภายนอกจะขืนใจลูกหนี้ )
- ม. ๓๑๕
- ม. ๓๒๐
- ม. ๓๒๑
- ฎีกาที่ ๑๔๕๒ / ๒๕๑๑ ( ม. ๓๒๑ ระงับสิ้นไป แม้ไม่มีหลักฐานแห่งการกู้ยืมเงินตาม
ม. ๖๕๓ ) มอบ ATM.ให้เขาไปกด
- ม. ๓๔๐ ( การปลดหนี้ )
- ม. ๓๔๓ ( การหกกลบลบหนี้ ) ฎีกาที่ ๒๔๑ / ๒๕๓๙ การร่วมกู้ยืมเงินแล้วหักกลบลบ
หนี้
- ม. ๓๔๔
- ม. ๓๔๙ ( การแปลงหนีใ้ หม่ ( ออกข้อสอบอยู่เสมอ ) ) ฎีกาที่ ๒๐๑๓ / ๒๕๓๗ , ฎีกาที่
๑๐๐๘ / ๒๔๙๖ ( เปลี่ยนสิ่งซึ่งเป็นสาระสำาคัญ เปลี่ยนวัตถุแห่งหนี้ )
- ม. ๓๕๑
- ม. ๓๕๐ เปลี่ยนตัวลูกหนี้ ในการแปลงหนี้ใหม่ ฎีกาที่ ๑๔๕๔ / ๒๕๑๔
- ผลของการแปลงหนี้ใหม่ ( ทำาให้คู่สัญญาเดิมหลุดพ้นความรับผิดไป )
- ม. ๓๕๓ ( หนี้เกลื่อนกลืนกัน ( ไม่เคยออกข้อสอบ ) )

แนวการตอบข้อสอบ

๑. หลักกฎหมายต้องชัดเจน ( ถ้าจำาเลขมาตราไม่ได้ ไม่ต้องใส่ ให่ใช้แต่หลักกฎหมาย )


๒. ตอบให้ครบทุกประเด็น ( โดยแยกเป็นประเด็น โดยย่อหน้าขึ้นใหม่ )
๓. การเขียนต้องตอบโดยเขียนตัวอักษรตัวโต ให้อ่านออก
สรุปวิชา ละเมิด

มาตรา ๔๒๐ บททั่วไปของละเมิด

องค์ประกอบของความรับผิดทางละเมิด
๑. การกระทำา
๒. จงใจหรือประมาทเลินเล่อ
๓. ความเสียหาย
๔. ความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำากับผล
การกระทำา
๑. บุคคลใด
๒. กระทำาการ หรือ ละเว้น หรืองดเว้นการกระทำาการ
๓. ต่อบุคคลอื่น
๔. โดยผิดกฏหมาย
๕. ความยินยอมที่ไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ( ไม่เป็นละเมิด )
- พ.ร.บ.ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๙
- ฎีกาที่ ๗๗๕ / ๒๔๗๒ ( โจทก์เป็นบุตรที่เกิดจากภรรยาหลวงของผู้ตาย )
- ฎีกาที่ ๔๕๗ / ๒๕๑๑ ( จำาเลยหลบหนีนายประกัน )
- ฎีกาที่ ๑๑๐๔ / ๒๕๐๙ ( ทำาร้ายร่างกายผู้อื่นผลถึงตาย ผิด ป.อ.ม.๒๙๐ และ ป.พ.พ.
ม. ๔๒๐ )
ประมาทเลินเล่อ
คือ การใช้ความระมัดระวังไม่เพียงพอ
๑. ภาวะ ( สถานการณ์ , สภาพ )
๒. วิสัย ( สภาพภายในตัวของผู้กระทำา )
๓. พฤติการณ์ ( เหตุการณ์ภายนอก )
ความเสียหาย
๑. สิทธิที่กฎหมายคุ้มครอง
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
- ป.พ.พ.
- กฎหมายพิเศษอื่น เช่น พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร , แข่งในทางการค้า ฯลฯ
๒. กรณีที่เป็นความเสียหาย
- ฎีกาที่ ๙๘๕ / ๒๔๙๗
- ฎีกาที่ ๙๘๕ / ๒๔๙๗
๓. กรณีที่ไม่เป็นความเสียหาย
- ฎีกาที่ ๗๒๖๔ / ๒๕๔๓
- ฎีกาที่ ๗๘๗๘ / ๒๕๔๔
- ฎีกาที่ ๖๔๘ / ๒๕๑๓
ความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำาและผล
๑. ทฤษฎีเงื่อนไข
- ในกรณีที่ไม่มีเหตุแทรกซ้อน
๒. ทฤษฎีมูลเหตุที่เหมาะสม
- ในกรณีที่มีเหตุแทรกซ้อน
- ฎีกาที่ ๔๕๒ / ๒๕๔๓ ( คอนโดมิเนียมหริอาคารชุดที่โจทก์พักอยู่อาศัย )
- ฎีกาที่ ๑๒๙๔ / ๒๕๒๙ ( ซื้อขายทรัพย์เกินกว่า ๕๐๐ บาทไม่ได้ทำาเป็นหนังสือ )

ความผิดเกี่ยวกับละเมิด มี ๒๐ ประการ

๑. มาตรา ๔๒๑ ( ใช้สิทธิเกินส่วน , ไม่สุจริต )


- ฎีกาที่ ๑๙๘๒ / ๒๕๑๘ ( ตึกโจทก์กับจำาเลยอยู่ใกล้กันในการประกอบการค้า โดย
จำาเลยนำาสินค้าไว้ในตึกเป็นจำานวนมาก เป็นเหตุให้ตึกรับนำ้าหนักไม่ไหว พังทลายลงมา )
- ฎีกาที่ ๑๘๔๓ / ๒๕๒๒ ( ตึกโจทก์กับจำาเลยอยู่ห่าง ๒.๕๐ เมตร )
- ฎีกาที่ ๒๖๙๓ / ๒๕๒๔ ( แกล้งกระทำาโดยมุ่งต่อผล )
- ฎีกาที่ ๓๘๓๓ / ๒๕๒๘
- ฎีกาที่ ๑๙๙๒ / ๒๕๓๘
- ฎีกาที่ ๑๑๗๐ / ๒๕๔๓ ( การใช้ท่อระบายนำ้าร่วมกัน )
๒. มาตรา ๔๒๒
- ฎีกาที่ ๖๔๘ / ๒๕๑๓
๓. มาตรา ๔๒๓ ( หมิ่นประมาท )
๓.๑. ฝ่าฝืนต่อความจริง
๓.๒. จงใจหรือประมาทเลินเล่อ
๓.๓. เสียหายต่อชื่อเสียง หรือ ทางธุรกิจการค้า
- ฎีกาที่ ๒๔๒ / ๒๕๑๕
๔. มาตรา ๔๒๕ ( ความรับผิดของนายจ้าง )
- นายจ้างต้องร่วมรับผิด เพราะลูกจ้างทำาไปเพื่อประโยชน์ของนายจ้าง
- ความสัมพันธ์ต้องเป็นไปตาม ป.พ.พ. ม. ๕๗๕ คืออำานาจการควบคุมการทำางานของ
ลูกจ้างและจ่ายสินจ้าง ต่างจากจ้างทำาของ ป.พ.พ.ม. ๕๘๗ ( จะเรียกว่าสัญญาอะไรก็ไม่สำาคัญ )
- ฏีกาที่ ๑๒๐๖ / ๒๕๐๐
- ในทางการที่จ้าง เริ่มต้นเป็นการปฎิบัติงานในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ถือว่าเป็นทาง
การที่จ้างอยู่ตลอดจนกว่าจะปฎิบัติหน้าที่เสร็จสิ้น เช่น
- ฎีกาที่ ๑๖๓๑ - ๑๖๓๔ / ๒๕๒๘
- ฎีกาที่ ๑๑๖๙ - ๑๑๗๐ / ๒๕๐๙
- ฎีกาที่ ๑๐๓ / ๒๕๒๕
- ฎีกาที่ ๒๖๘๕ / ๒๕๓๔
- ฎีกาที่ ๖๕๙ - ๖๖๐ / ๒๕๑๓ ( ไม่ต้องร่วมรับผิด )
- ฎีกาที่ ๓๔๙๒ / ๒๕๔๒
๕. มาตรา ๔๒๖ ( สิทธิไล่เบี้ยของนายจ้าง )
- ไล่เบี้ยได้เมื่อชำาระค่าเสียหายแล้ว ( ฎีกาที่ ๓๑๐๒ / ๒๕๔๔ )
- ไม่รวมถึงค่าทนาย และ ค่าฤชาธรรมเนียม ในคดีที่นายจ้างถูกฟ้อง ( แต่รวมดอกเบี้ยได้ )
- อายุความ ๑๐ ปี ( ฎีกาที่ ๑๔๒ / ๒๕๓๕ )
- ลูกจ้างไม่มีสิทธิให้นายจ้างเฉลี่ยความรับผิด ( ฎีกาที่ ๑๗๑๒ / ๒๕๒๗ , ๒๔๙๙ / ๒๕๒๔
, ๑๓๙๙ / ๒๕๒๖
๖. มาตรา ๔๒๗ ( ความรับผิดของตัวการ )
- ต้องเป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกับบุคคลที่ ๓ ( ป.พ.พ.ม. ๗๙๗ ) ฏีกาที่ ๕๕๔๕ / ๒๕๔๒
, ๔๒๒๓ / ๒๕๔๒ , ๕๕๔๙ - ๕๕๕๐ / ๒๕๔๑ ( ตัวการไม่ต้องรับผิด )
- ตัวแทนไม่ต้องรับผิดในการกระทำาของลูกจ้างตัวการ ฏีกาที่ ๑๒๖๔ / ๒๕๑๗ , ๒๐๕๗ /
๒๕๒๔..
- อายุความ ๑๐ ปี ( สิทธิไล่เบี้ยเอาจากตัวแทน )
๗. มาตรา ๔๒๘ ( ความรับผิดของผู้ว่าจ้าง )
- สัญญาจ้างทำาของ ( ป.พ.พ.ม.๕๘๗ ) มุ่งที่ความสำาเร็จของงาน
- หลัก ( ไม่ต้องรับผิดในการกระทำาของผู้รับจ้าง )
- ข้อยกเว้น ๑. การงานที่สงั่ ให้ทำา
๒. คำาสั่งที่ให้ไว้
๓. เลือกผู้รับจ้าง
- ฏีกาที่ ๑๙๔๒ / ๒๕๓๓
๘. มาตรา ๔๒๙ ( ความรับผิดของ ผู้เยาว์ บุคคลวิกลจริต คนไร้ความสามารถ )
- คนวิกลจริต หมายถึง คนที่ศาลสั่งและที่ศาลยังไม่ได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ
- คนไร้ความสามารถต้องรับผิด
- บิดามารดาโดยชอบด้วยกฎหมาย หมายความรวมถึง บิดามารดาบุญธรรมด้วย
- พิจารณาว่าป้องกันผลที่เกิดได้หรือไม่
- ฎีกาที่ ๙๓๔ / ๒๕๑๗ ( การเลือกฟ้องตาม ม.๔๒๕ - ๔๒๙ คือไม่ฟ้องผู้กระทำาผิด
แต่ฟ้องบิดามารดาของผู้กระทำาผิดแทน )
- ฎีกาที่ ๕๔๗ / ๒๕๑๙ ( ขับรถโดยไม่มีใบอนุญาตขับขี่ )
- ฎีกาที่ ๒๗๓๒ / ๒๕๒๘
- ฎีกาที่ ๑๘๙๒ / ๒๕๓๕
- ฎีกาที่ ๖๙๖๗ / ๒๕๔๑
- ฎีกาที่ไม่ต้องรับผิดของบิดามารดา
๙. มาตรา ๔๓๐ ( ความรับผิดของอาจารย์ บิดามารดา ผู้ปกครอง ) มี ๓ ประเภท
๙.๑. ครูอาจารย์ สำาหรับการกระทำาของนักเรียน ขณะเกิดเหตุ
๑. โดยกฎหมาย
๒. โดยสัญญา
๓. โดยข้อเท็จจริง ( พฤตินัย )
๙.๒. บิดามารดา
๙.๓. ผู้ปกครอง
- บุคคลทั้ง ๓ ประเภท ต้องมีลักษณะดังนี้ .-
๑. โดยกฎหมาย
๒. โดยสัญญา
๓. โดยข้อเท็จจริง ( พฤตินัย )
๑๐. มาตรา ๔๓๒ ( ร่วมกันกระทำาละเมิด )
พิจารณาที่การกระทำา ไม่ใช่ผลจากความเสียหาย
-
-
รับผิดต่อผู้เสียหาย อย่างลูกหนี้ร่วม
-
ในระหว่างกันเอง รับผิดตามส่วน
การร่วมกระทำาละเมิด มีได้เฉพาะการจงใจเท่านั้น
-
-
ฎีการที่ ๑๐๖๗ / ๒๕๒๔
๑๑. มาตรา ๔๓๓ ( ความเสียหายจากสัตว์ )
- ต้องไม่มีการกระทำาของคน
- ต้องเป็นสัตว์มีเจ้าของ
- คนทีต่ ้องรับผิด
๑. เจ้าของ ( ให้ที่อยู่หรือให้อาหาร )
๒. ผู้รับเลี้ยง
- ภาระพิสูจน์ตกแก่ผู้รับผิด ( ที่จะต้องพิสูจน์ )
- ฎีกาที่ ๑๐๐๖ / ๒๕๑๐
๑๒. มาตรา ๔๓๔ ( ความเสียหายจากโรงเรือน )
- โรงเรือน หมายถึง ที่อยู่อาศัย หรือใช้ในการประกอบกิจการอย่างใดอย่างหนึ่ง และ
ให้หมายความรวมถึงส่วนประกอบของโรงเรือน
- สิ่งปลูกสร้าง คือ สิ่งที่คนทำาขึ้น เช่น แผงลอย
- ฎีกาที่ ๖๐๘ / ๒๕๒๑ ( โป๊ะล่ม )
- ผู้รับผิดตาม ม. ๔๓๔ มี ๒ ประเภท
๑. ผู้ครอบครอง เช่น ผู้เช่า
๒. เจ้าของ ( มีกรรมสิทธิ์ )
๑๓. มาตรา ๔๓๔ วรรค ๒ ( ให้หมายความรวมถึงต้นไม้ด้วย )
- ฎีกาที่ ๑๐๒๘ / ๒๕๐๕
- ฎีกาที่ ๗๕ / ๒๕๓๘ ( ต้นสนล้มทับรถยนต์ )
- มาตรา ๔๓๔ วรรค ๓ สิทธิไล่เบี้ยบุคคลอื่น ( บุคคลที่ ๓ )
๑๔. มาตรา ๔๓๕ การป้องกันตนเอง
๑๕. มาตรา ๔๓๖ ความรับผิดจากของตกหล่น
- ของตกหล่น ต้องไม่ใช่ชิ้นส่วนของโรงเรือน เช่น กรอบรูป กระถางต้นไม้ แจกัน
ถุงขยะ ฯลฯ
- ของตกหล่นเป็นได้ทั้ง ( ของแข็งและของเหลว )
- ฎีกาที่ ๕๗๘๒ / ๒๕๔๑ ( ของตกหล่น )
- บุคคลที่ตจ้องรับผิดคือ บุคคลที่เป็นเจ้าของบ้าน และเป็นหัวหน้าครอบครัว
๑๖. มาตรา ๔๓๗ ความรับผิดจากความเสียหายจากเครื่องกล
- ความเสียหายเกิดจาก ยานพาหนะที่เดินด้วยเครื่องจักรกล
- เกิดในขณะที่ขับเคลื่อน ไม่ใช่หยุดนิ่ง
- บทสันนิษฐานตามมาตรานี้ฝ่ายที่รับผิดต้องใช้ยานพาหนะที่เดินด้วยเครื่องจักรกล
เพียงฝ่ายเดียว
- ม. ๔๓๗ วรรค ๒ ( ทรัพย์อันตราย )
- ฎีกาที่ ๖๘๙๒ / ๒๕๓๗ ความเสียหายต้องเกิดจากตัวทรัพย์โดยตรง ม.๔๓๗ ว.๑
- ฎีกาที่ ๕๖๗๙ / ๒๕๔๕ ความรับผิดของผู้ครอบครองยานพาหนะ ไม่เกี่ยวกับเจ้า
ของผู้มีกรรมสิทธิ์ในทางทะเบียนที่จะต้องรับผิดชอบ
๑๗. มาตรา ๔๓๘ ค่าสินไหมทดแทน มี ๓ ประเภท
๑. คืนทรัพย์สิน ( ม. ๔๓๙ )
๒. ใช้ราคาทรัพย์สิน ( ม. ๔๔๐ )
๓. การใช้ค่าเสียหาย ( ม.๔๔๑ (เงิน) )
- หากคืนทรัพย์สินไม่ได้ ให้ใช้ราคาทรัพย์สิน + ค่าเสียหาย
- การกำาหนดค่าเสียหาย ( ม. ๔๔๒ ) มีหลักคือว่ามีส่วนร่วมในการกระทำาผิดหรือไม่
- ฎีกาที่ ๒๐๙๘ / ๒๕๔๑ ผู้เสียหายจอดรถไว้ในช่องช่องทางเดินรถ จำาเลยได้ขับรถ
ชนท้ายรถคันดังกล่าวได้รับความเสียหาย แล้วผู้เสียหายเรียกเอาประกันภัยจากบริษัทประกันภัย แต่บริษัท
ไม่จ่าย ศาลพิพากษาว่าผู้เสียหายมีความผิดเนื่องจากว่าจอดรถขวางทางการจราจร ให้ผู้เสียหายเรียกเอากับ
จำาเลย ผู้เสียหายไม่สามารถเรียกเอากับบริษัทประกันภัยไม่ได้ เนื่องจากว่าผู้เสียหายมีส่วนที่รับผิดที่เกิดจาก
ความประมาทของผู้เสียหายเอง การที่จำาเลยขับรถชนจนเกิดความเสียหายนั้นก็เกิดจากการความประมาท
ของผู้เสียหายเช่นกัน ดังนั้นความรับผิดระหว่างผู้เสียหายกับจำาเลยไม่ยิ่งหย่อนกันที่จะเรียกเอาค่าเสียหาย
กันได้ ผู้เสียหายในฐานะผู้เอาประกันภัยไม่สามารถเรียกค่าเสียหายเอาจากบริษัทประกันภัยและจำาเลยได้
๑๘. มาตรา ๔๔๓ ค่าเสียหายต่อชีวิต มี ๖ ประการ
๑. ค่าปลงศพ
๒. ค่าใช้จ่ายอันจำาเป็น
๓. ค่ารักษาพยาบาล
๔. ค่าที่ต้องขาดประโยชน์
๕. ค่าไร้อุปการะ
๖. ค่าทีเ่ ขาต้องขาดแรงงาน
๑๙. มาตรา ๔๔๔ ค่าเสียหายต่อร่างกาย มี ๔ ประการ
๑. ค่าใช้จ่ายอันต้องเสียไป
๒. ค่าเสียหายเพื่อการที่เสียความสามารถประกอบการงานสิ้นเชิงหรือแต่บางส่วน ทั้งใน
เวลาปัจจุบันและในอนาคต
๓. ค่าขาดแรงงาน
๔. ค่าเสียหายที่ไม่เป็นตัวเงิน ฎีกาที่ ๗๕ / ๒๕๓๘ ( ต้นสนล้มทับรถยนต์ )
๒๐. มาตรา ๔๔๘ อายุความ ( เรียกค่าเสียหายได้เฉพาะตัวเงิน )
- ฎีกาที่ ๒๑๒ / ๒๕๔๔
- ฎีกาที่ ๔๙๐๓ / ๒๕๔๕
- ฎีกาที่ ๓๗๗๑ / ๒๕๔๕

เก็งข้อสอบ ฎีกาที่น่าสนใจ

๑. ฎีกาที่ ๕๐๘๐ / ๒๕๔๕ ( ม. ๔๒๐ )


๒. ฎีกาที่ ๔๐๕๐ / ๒๕๔๕ ( ม. ๔๒๐ )
๓. ฎีกาที่ ๑๘๒๖ / ๒๕๔๕ ( ม. ๔๒๐ )
๔. ฎีกาที่ ๔๐๓๗ / ๒๕๔๕ ( ม. ๔๓๗ )
๕. ฎีกาที่ ๔๙๐๕ - ๔๙๒๗ / ๒๕๔๕ ( ม. ๔๐๖ )

You might also like