You are on page 1of 32

PHP

PHP ?
PHP คืออะไร
- PHP แต่เดิมย่อมาจาก “Personal Home Page” แต่ต่อมาก็เปลี่ยน
เป็ นย่อมาจาก “PHP Hypertext Preprocessor”
- PHP เป็ นภาษาจำาพวก scripting language คำาสัง่ ต่างๆจะเก็บอย่่ใน
ไฟล์ท่ีเรียกว่าสคริปต์ (script) และเวลาใช้งานต้องอาศัยตัวแปลชุดคำาสัง่
ตัวอย่างของภาษาสคริปก็เช่น JavaScript, Perl เป็ นต้น
- ลักษณะของ PHP ที่แตกต่างจากภาษาสคริปต์แบบอื่นๆ คือ PHP ได้
รับการพัฒนาและออกแบบมา เพื่อใช้งานในการสร้างเอกสารแบบ HTML โดย
สามารถ สอดแทรกหรือแก้ไขเนื้ อหาได้โดยอัตโนมัติ
- PHP เป็ นภาษาที่เรียกว่า Server-Side Script หรือ HTML-embedded
scripting language เป็ นเครื่องมือที่สำาคัญชนิ ดหนึ่ ง ที่ช่วยให้เราสามารถสร้าง
เอกสารแบบ Dynamic HTML ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีล่กเล่นมากขึ้น
ต้นกำำเนิ ดและแนวคิด
PHP เกิดในปี 1994 โดย Rasmus Lerdorf โปรแกรมเมอร์
ชำวสหรัฐอเมริกำได้คิดค้นสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาเว็บ
ส่วนตัวของเขา โดยเขาใช้ PHP ในการเก็บข้อม่ลสถิติผ้่เข้าชม
เว็บของตนเอง โดยใช้ข้อดีของภาษา C และ Perl
ต่อมา PHP เวอร์ชัน ่ แรกได้ถก่ พัฒนาและเผยแพร่ให้กับผ้่สนใจ
ไปศึกษาในปี ค.ศ. 1995ซึ่งถ่กเรียกว่า
“Personal Home Page Tool” ซึ่งเป็ นที่มาของ
คำาว่า PHP นั ่นเอง ซึ่งในระยะเวลานั้ น PHP ยังไม่มี
ความสามารถอะไรที่โดดเด่นมากมาย

Rasmus
Lerdorf
ต้นกำำเนิ ดและแนวคิด
ปี 1995 Rasmus ได้สร้างส่วนติดต่อกับฐานข้อม่ลชื่อว่า Form Interpreter ( FI )
รวมทั้งสองส่วน เรียกว่า PHP/FI หรือ PHP เวอร์ชัน ่ 2 ให้มีความสามารถ
จัดการเกี่ยวกับแบบฟอร์มข้อม่ลที่ถ่กสร้างมาจากภาษา HTML และสนั บสนุ นการ
ติดต่อกับโปรแกรมจัดการระบบฐานข้อม่ล mSQL
ปี 1997 PHP ได้มีการเปลี่ยนแปลงและถ่กพัฒนาจากเจ้าของเดิมคือ Rasmus
ซึ่งพัฒนาอย่ค
่ นเดียวมาเป็ นทีมงาน โดยมีนาย Zeev Suraski และ Andi
Gutmans ชาวอิสราเอล มาทำาการวิเคราะห์พนฐานของ
ื้ PHP/FI ต่อมาก็มีเพิ่มเข้า
มาอีก 3 คน คือ Stig Bakken, Shane Caraveo และ Jim Winstead ทีมงานได้
นำาโค้ดมาพัฒนาใหม่เป็ น PHP เวอร์ชัน
่ 3 ซึ่งมีความสมบ่รณ์มากขึ้น
ต้นกำำเนิ ดและแนวคิด

ต่อมาในปี 2000 PHP พร้อม Send Scripting Engine


และความสามารถที่ทำางานกับWebserver ยี่ห้ออื่นได้
นอกเหนื อจาก Apache ทำาให้ PHP 4 มีความสมบ่รณ์
แบบมากยิ่งขึ้น
PHP เวอร์ชัน
่ ต่อไปคือ PHP 5 เริม
่ ต้นออกเวอร์ชัน

ทดสอบ(BETA 1) ตั้งแต่กลางปี 2003 และพัฒนาเป็ น
ตัวเต็มประมาณกลางปี 2004

ปั จจุบัน(01 June 2007) PHP5 ได้พัฒนำมำถึงเวอร์ชัน



5.2.3 แล้ว
โครงสร้ำงและองค์ประกอบ PHP
ร่ปแบบการเขียน PHP เขียนได้ 4 แบบดังตัวอย่าง ที่นิยมคือ
แบบที่ 1 และ 2 แบบที่ 3 ใช้งานคล้ายกับ Java script ส่วนแบบที่ 4
ตัว tag <% จะเหมือนกับ ASP โดยเมื่อรันจะได้ผลลัพธ์เหมือนกัน
และสามารถแทรกลงในส่วนของภาษา HTML ส่วนใดก็ได้
1. การเขียนโค้ดในร่ปแบบภาษา SGML จะมีร่ปแบบดังนี้
   <?
               คำาสัง่ ในภาษา PHP ;
   ?>
2. การเขียนโค้ดเพื่อใช้ร่วมกับภาษา XHTML หรือ XML (แต่
สามารถใช้ใน HTML แบบปกติได้) จะมีร่ปแบบดังนี้
    <?php
                    คำาสัง่ ในภาษา PHP ;
     ?>
โครงสร้ำงและองค์ประกอบ PHP
3. การเขียนโค้ดในร่ปแบบ JavaScript จะมีร่ปแบบดังนี้
     <Script Language="php">
                  คำาสัง่ ในภาษา PHP ;
     </Script>
4. การเขียนโค้ดในร่ปแบบ ASP จะมีร่ปแบบดังนี้
    <%
            คำาสัง่ ในภาษา PHP ;
     %>
โครงสร้ำงและองค์ประกอบ PHP
การเขียนสคริปต์ PHP ในร่ปแบบใดก็ตามจะต้องมี
เครื่องหมาย semicolon ( ; ) ลงท้ายคำาสัง่ เสมอเหมือนกับ
การเขียนภาษา C กับภาษา Perl
print”Welcome to php”;
และคำาสัง่ หรือฟั งก์ชัน
่ ในภาษา PHP จะเขียนด้วยตัว
พิมพ์เล็กหรือพิมพ์ใหญ่กไ็ ด้ ( case-insensitive )
การจบ statement หรือสิ้นสุด script เราจะปิ ดท้าย
สคริปต์ด้วยแท็ก ( ?> ) และคำาสัง่ สุดท้ายในสคริปต์น้ ั นจะ
ลงท้ายด้วย semicolon ( ; ) หรือไม่กไ็ ด้เพราะจะถ่กปิ ดด้วย
แท็ก ( ?> ) อย่่แล้ว
กำรเขียน PHP ร่วมกับ HTML
<html>
<head>
<title>ตัวอย่าง 3.4 การใช้ PHP script ร่วมกับ HTML</title>
</head>
<body>
<b>
<?php
print "ขอต้อนรับส่่โลกของ php";
?>
</b>
</body>
</html>
Identification and Data Type
การกำาหนดตัวแปรและชนิ ดของข้อมูล (Type)
ตัวแปร(Variable)
มีหน้าที่ใช้สำาหรับเก็บค่าตัวเลข ตัวอักษร หรือชุดข้อความ เพื่อใช้ในการอ้างอิง
มีหลักการในการตั้งชื่อดังนี้
1.ชื่อตัวแปรต้องขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย $ (Dollar sign) จากนั้ นต้องตามด้วย
อักษรเท่านั้ น
2.สามารถนำาตัวอักษรและตัวเลขมาผสมกันเป็ นชื่อตัวแปรได้ เช่น $User111
3.ชื่อตัวแปรไม่สามารถเว้นว่างหรือเคาะเว้นวรรคได้
4.ชื่อตัวแปรควรที่จะสื่อความหมายในตัวมันเอง เช่น $name,$salary
5.ชื่อตัวแปร อักษรตัวเล็กตัวใหญ่น้ ั นมีความสำาคัญมาก เช่น $address,
$Address และ $ADDRESS ทั้ง 3 ตัวถือว่าเป็ นตัวแปรคนละตัวกัน
ตัวแปรที่ถ่ก $Emp_Name, $ABC, $User222 ตัวแปรที่ต้ ังผิด $Emp Name,
$11User, $ text, $256
Identification and Data Type

ประเภทของตัวแปร คำาอธิบาย

Integers เก็บข้อม่ลตัวเลขที่เป็ นจำานวนเต็มเช่น 236, -256

Floating point numbers เก็บข้อม่ลตัวเลขที่มีจุดทศนิ ยมเช่น 1.236, -0.268

Strings เก็บข้อม่ลที่เป็ นตัวอักษร ข้อความเช่น "Hi", "Hello", "Year 1979"

Arrays เก็บข้อม่ลที่เป็ นชุด หรือกลุ่มข้อความ

Objects เก็บข้อม่ลในลักษณะของการเรียกใช้เป็ น Class Object หรือ Function

Type juggling เก็บข้อม่ลในลักษณะที่ขึ้นอย่่กับตัว Operator


Identification and Data Type
กำรใช้งำน
Integers
$a = 567; เป็ นจำานวนเต็มบวก
$b = -956; เป็ นจำานวนเต็มลบ
$c = 01236; เป็ นเลขฐาน 8
$d = 0x12F; เป็ นเลขฐาน 16

Floating point numbers


$a = 1.356
$b = 1.3e6
ใช้กำาหนดตัวเลขในร่ปแบบทศนิ ยม และเลขยกกำาลัง ดังเช่น 1.3e6 จะหมายความว่า
1.3 ค่ณ 10 ยกกำาลัง 6
Identification and Data Type
Strings
การใช้งาน String จะใช้ในการเก็บข้อมุลที่เป็ นค่าคงที่ เช่นข้อความต่างๆ ใน
การกำาหนดประเภทของข้อม่ล String จะมีรหัสควบคุมดังนี้
รหัสควบคุม คำาอธิบาย
\n ใช้สำาหรับขึ้นบรรทัดใหม่
\r ใช้สำาหรับให้ตัว Cursor ไปอย่่ต้นบรรทัด
\t ใช้ในการเลื่อน Tab
\\ ใช้ในการพิมพ์เครื่องหมาย \
\$ ใช้ในการพิมพ์เครื่องหมาย $
\" ใช้ในการพิมพ์เครื่องหมาย "
\[0-7]{1,3} ใช้กำาหนดอักขระให้เป็ นรหัส ASCII ฐาน 8
\x[0-9A-Fa-f]{1,2} ใช้กำาหนดอักขระให้เป็ นรหัส ASCII ฐาน 16
Identification and Data Type
ตัวอย่างที่ 1
 
$a = "PHPThai.Net"; #กำาหนดตัวแปร a เก็บ
ข้อความ PHPThai.Net
$b = $a "site for You"; #กำาหนดให้ตัวแปร b มีค่า
เท่ากับตัวแปร a และตามด้วยข้อความ site for You
echo "$b"; #สัง่ ให้พิมพ์คา่ ในตัวแปร b ออกมา
 
ผลลัพธ์
PHPThai.Net site for You
Identification and Data Type
Arrays
อาเรย์ คือการเก็บข้อม่ลในลักษณะของชุดข้อม่ล โดยที่แต่ละชุดสามารถจะมีสมาชิกได้
หลายตัว และเราสามารถอ้างถึงสมาชิกในอาเรย์น้ ั นได้โดยใช้เครื่องหมาย _[ . . .] 
อำเรย์ 1 มิติ
$a[0] = "abc"; #กำาหนดให้สมาชิกลำาดับที่ 0 ของอาเรย์ a เก็บค่า abc
$a[1] = "def"; #กำาหนดให้สมาชิกลำาดับที่ 1 ของอาเรย์ a เก็บค่า def
$b["asp"] = 13; #กำาหนดให้สมาชิกชื่อ asp ของอาเรย์ b เก็บค่า 13
อำเรย์หลำยมิติ
$a[1][0] = $f; #อาเรย์แบบ 2 มิติ
$a["asp"][2] = $f; #อาเรย์แบบผสม 2 มิติ
$a["asp"][2]["diaw"][0] = $f; #อาเรย์แบบผสม 4 มิติ
Identification and Data Type
Object
Object คือการเขียนชุดคำาสั่งที่เรามักใช้งานบ่อยๆ หรือใช้งานในลักษณะพิเศษ เพื่อความ
สะดวกในการทำางานอาจจะอย่่ในร่ปแบบของ Class หรือ Function เช่น
 
class asp
{
function do_asp () {
echo "ASPThai.Net";
}
}
 
$bar = new asp;
$bar -> do_asp();
 
จากโค้ดเราได้สร้าง class asp และมีฟังก์ช่น ั ชื่อ do_asp อย่่ภายในคลาสต่อมาเราได้สร้าง
ตัวแปร bar ที่เป็ นออบเจกต์ท่ีเกิดจากคลาส asp ($bar = new asp;) ตัวแปร bar ที่เราสร้าง
จากคลาส asp จะมีคณ ุ สมบัตเิ หมือนคลาส asp คือสามารถใช้ฟังก์ช่น ั do_asp ได้
($bar -> do_asp();)
Identification and Data Type
Type juggling
เป็ นการเก็บข้อม่ลในลักษณะที่ข้ น
ึ กับตัว Operator เช่น

$asp = 5 + "15 diaw";


 
$asp จะมีคา่ เท่ากับ 20โดยด่จาก Operator เป็ น
เครื่องหมาย + ทำาให้ PHP มองค่าทั้ง 2 เป็ นตัวเลข
Operators
ตัวดำำเนิ นกำร Operators
ตัวดำำเนิ นกำรทำงด้ำนคณิตศำสตร์ Arithmetic Operators
การใช้งาน ชื่อตัวดำาเนิ นการ ความหมาย
$a + $b บวก หาผลรวมระหว่าง $a กับ $b
$a - $b ลบ หาผลต่างระหว่าง $a กับ $b
$a * $b ค่ณ หาผลค่ณระหว่าง $a กับ $b
$a / $b หาร การหารระหว่าง $a กับ $b
$a % $b หารหาเศษ การหารเพื่อหาเอาเศษ ระหว่าง $a
กับ $b
ตัวดำำเนิ นกำรทำงด้ำนกำรเพิ่มลดค่ำ
Incrementing/Decrementing
การใช้ งาน ชื่อตัวดำาเนิ นการ ความหมาย
++$a Pre-increment เพิ่มค่าทีละ 1 ก่อน แล้วค่อยให้ค่า
กับตัวแปร
$a++ Post-increment ให้ค่ากับตัวแปรก่อนแล้วค่อยเพิ่มค่าทีละ 1
--$a Pre-Decrement ลดค่าทีละ 1 ก่อนแล้วค่อยให้ค่ากับตัวแปร
$a-- Post-Dicrement ให้ค่ากับตัวแปรก่อนแล้วค่อยลดค่าทีละ 1
Operators
ตัวดำำเนิ นกำรทำงด้ำนตรรกศำสตร์ Logical Operators
การใช้งาน ชื่อตัวดำาเนิ นการ ความหมาย
$a and $b และ เป็ นจริง เมื่อ $a และ $b มีค่าเป็ น จริง
$a or $b หรือ เป็ นจริง เมื่อ $a หรือ $b มีคา ่ เป็ น
จริง
$a xor $b และ เป็ นจริง เมื่อ $a และ $b ตัวใดตัวหนึ่ งเป็ น
จริง>
! $a ตรงกันข้าม เป็ นจริง เมื่อ $a มีค่าเป็ น เท็จ
ตั$a
วดำ&&
ำเนิ$b
นกำรทำงเปรี
และ ยบเทียบ เป็Comparison
นจริง เมื่อ $a และOperators
$b มีค่าเป็ น จริง
$a || $b หรือ เป็ นจริง เมื่อ $a หรือ $b มีคา ่ เป็ น เท็จ
การใช้งาน ชื่อตัวดำาเนิ นการ ความหมาย
$a == $b เท่ากับ เป็ นจริง เมื่อ $a มีคา่ เท่ากับ $b
$a != $b ไม่เท่ากับ เป็ นจริง เมื่อ $a มีคา ่ ไม่
เท่ากับ $b
$a < $b น้อยกว่า เป็ นจริง เมื่อ $a น้อยกว่า $b
$a > $b มากกว่า เป็ นจริง เมื่อ $a มีคา ่ มากกว่า $b
$a <= $b น้อยกว่าหรือเท่ากับ เป็ นจริง เมื่อ $a มีคา่ น้อยกว่าหรือ
เท่ากับ $b
$a >= $b มากกว่าหรือเท่ากับ เป็ นจริง เมื่อ $a มีคา ่ มากกว่าหรือ
เท่ากับ $b
Operators
ตัวอย่างการใช้งาน

ตัวอย่างที่ 1

$a =$b = 8+1

$a และ $b จะเท่ากับ 9

ตัวอย่างที่ 2

$a = 2;

$b = 2;

++$a;

$b++;

$a และ $b จะมีค่าเท่ากับ 3 เพราะมีการเพิม


่ ค่าไปทีละ 1
Control Structure
ตัวควบคุมกำรทำำงำน
                ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์น้ ั น
คอมพิวเตอร์จะทำางานโดยเรียงลำาดับลงมาจากบน –
ลงล่าง (Top – Down) แต่ถา้ เราต้องการสัง่ ให้
คอมพิวเตอร์ทำางานย้อยกลับ หรือมีการทำางานซำ้า เรา
จะต้องมีตว ั คอบคุมการทำางานดังนี้
If . . .Else . . .ElseIf
คำาสัง่ If เป็ นคำาสัง่ สำาหรับกำาหนดให้โปรแกรมทำางาน
อย่างมีเงื่อนไข โดยเริม ่ ต้นในการตรวจสอบนิ พจน์ ว่า
ค่าที่ได้เป็ นจริงหรือเท็จ และนำาค่าที่ได้เป็ นตัวเลือกว่า
จะกระทำาตามคำาสัง่ ใด
Control Structure
ตัวอย่ำงที่ 1 กำรใช้งำน If ตรวจสอบเงื่อนไขเดียว
<?
$a = 30;
$b = 20;
If ($a > $b) {
echo " a มำกกว่ำ b";
}
?>
 
จำกตัวอย่ำงข้ำงต้นเป็ นกำรตรวจสอบเงื่อนไขเดียวคือ ตัวแปรa มำกกว่ำ
ตัวแปรb ซึ่งถ้ำเป็ นจริงตำมเงื่อนไขก็จะพิมพ์คำำว่ำ " a มำกกว่ำ b"
ออกมำแต่ถ้ำไม่ตรงก็จะออกจำกคำำสัง่
Control Structure
While
คำำสัง่ while เป็ นคำำสัง่ ในกำรวนรอบ โดยจะมีกำรตรวจสอบ
เงื่อนไขก่อนแล้วค่อยมีกำรทำำงำนตำมลำำดับ แต่ถ้ำเงื่อนไขไม่เป็ น
ตำมทีก ่ ำำหนดก็จะออกจำกกำรวนรอบของ while ทัน
<?
$i = 1;
while ($I <= 10) {
echo $I++;
echo "<br>";
}
?>
จำกตัวอย่ำง ผลลัพธ์ทไี่ ด้คือ แสดงตัวเลขออกมำตั้งแต่ 1 ถึง 10
Control Structure
do . . while
คำำสัง่ do . . while คือคำำสัง่ ในกำรวนรอบเช่นเดียวกัน
แต่ต่ำงกันตรงที่จะมีกำรทำำงำนตำมคำำสัง่ ที่ตอ
้ งกำรก่อน
แล้วจึงค่อยตรวจสอบเงื่อนไขทีหลัง ซึง่ ถ้ำเงื่อนไขเป็ น
ตำมที่กำำหนด ก็จะวนรอบขึ้นมำทำำงำนตำมคำำสัง่ ที่
ต้องกำรใหม่ แต่ถำ้ เงื่อนไขไม่ตรงกับที่กำำหนด ก็จะ
ออกจำกกำรวนรอบทันที ดังนี้
 
Control Structure
<?
$i = 1;
$total = 0;
do { // เข้าสู่เงื่อนไขของ do
$total = $total + $i; // ให้ $total มีค่าเท่ากับ ตัวเองบวกด้วยค่าของ
$i ซึง
่ เริม
่ ต้นที่ 1
$i ++; // บวกค่าของ $i ไปอีก 1
} while ($i <= 10); // ถ้า $i ยังไม่มากกว่า หรือ เท่ากับ 10 ให้ วน
รอบ do อีกครัง ้
 
echo "ผลลัพธ์คือ : ";
echo $total;
?>

ผลลัพธ์ที่ได้คือ 55 จะเห็นได้วำ่ กำรเขียนด้วย do . . .while จะมี


กำรทำำตำมคำำสัง่ ก่อนที่จะตรวจสอบเงื่อนไขซึง่ ต่ำงกับ while ที่
ตรวจสอบเงื่อนไขก่อน
 
Control Structure
for
คำาสัง่ for เป็ นคำาสัง่ ในการวนรอบอีกคำาสัง่ หนึ่งแต่จะไม่มก
ี ารตรวจสอบเงื่อนไข
เพียงแต่ทำาตามคำาสัง ่ ทีก
่ ำาหนดไว้แล้วเท่านัน

 
ตัวอย่างการใช้งานคำาสัง
่ for

<?
for ($i = 1; $i <= 10; $i++ ) {
echo "$i <br>";
}
?>
 
ข้อสังเกต : ภายใน for ( . . . )
 
$i = 1; คือการกำาหนดค่าเริม
่ ต้น
$i <= 10; คือการกำาหนดค่าจุดสิ้นสุด
$i++ คือการกำาหนดให้เพิม่ ไปทีละ 1
 
ผลลัพธ์ทีไ
่ ด้คอ
ื จะมีการวนรอบเพื่อพิมพ์คา่ 1 ถึง 10
Control Structure
break
คำาสัง่ break คือคำาสัง ่ ทีใ
่ ช้ในการหลุดออกจากเงื่อนไข หรือจบเงื่อนไขทันทีดัง
ตัวอย่างนี้
 
<?
$i = 0;
while ($I <= 50) {
if ($i ==20) { break; }
echo "$i <br>";
$i++;
}
?>
 
ทีจ
่ ริงแล้วคำาสัง่ นี้ จะต้องพิมพ์คา ่ 0 ถึง 50 ออกมา แต่เนื่ องจากมีการใช้คำาสัง
่ if มา
ตรวจเช็คเมื่อถึง 20 ถ้าเป็ นจริงก็จะทำาคำาสัง่ break และหยุดการวนรอบทันที
ทำาให้ผลลัพธ์ทีไ ่ ด้ออกมาคือ 1 ถึง 19
 
Control Structure
continue
คำาสัง่ continue เป็ นคำาสัง่ ทีใ
่ ช้ควบค่กู บ
ั คำาสัง่ ในการวนรอบ โดยเมื่อโปรแกรม
ทำาการรันคำาสัง่ นี้ จะทำาการกระโดดไปเริม ่ ต้นใหม่ทันที ( ใช้กับคำาสัง
่ for,
while)
 
ตัวอย่าง เป็นการพิมพ์เลขคู่จาก 0 ถึง 50
 
<?
for ($a = 0; $a <= 50; $a++) {
if ($a % 2) { continue } //เป็ นเลขคีก ่ ระโดดไปเริม
่ ต้นใหม่
echo "$a <br>"; //ให้พม ิ พ์เลขค่อ ู อกมา
}
?>
Control Structure
switch
คำาสัง่ switch เป็ นคำาสัง่ ในการเลือกเงื่อนไขจำานวนมากๆ ซึ่งจะสะดวกกว่าการใช้คำาสัง่ if
 
ตัวอย่าง

<?
$a = 2;
switch ($a) {
case 0;
echo "a มีค่าเท่ากับ 0";
break;
case 1;
echo "a มีค่าเท่ากับ 1";
break;
case 2;
echo "a มีค่าเท่ากับ 2";
break;
default;
echo "a ไม่มคี ่าเท่ากับ 0 ,1 หรือ 2";
}
?>
 
จากตัวอย่างเรากำาหนด ให้ค่าตัวแปร a มีคา
่ เท่ากับ 2 ดังนัน
้ การทำางานของคำาสัง่ จะอยู่ใน case
ที่ 2
Control Structure
include ();
คำาสัง่ include() เป็นคำาสัง่ ในการเรียก PHP Script ที่อยู่ในไฟล์อ่ ืนเข้ามาทำางาน โดย
สามารถเรียกใช้งานภายใต้คำาสัง่ ของการวนรอบ ( Loop ) และสามารถทีจ ่ ะนำามาเปรียบ
เทียบเงื่อนไขการทำางานได้
 
ตัวอย่างที่ 1 เรียกใช้คำาสัง่ include() ภายใต้การวนรอบของคำาสัง ่ for
 
<?
$fa = array (‘a.inc’, ’b.inc’, ‘c.inc’, ‘d.inc’);
for ($i = 0; $i < count($fa); $++) {
include $fa[$I];
}
?>
จากตัวอย่างแรก จะใช้อาเรย์ fa เป็นตัวเก็บข้อมูลของไฟล์ทัง ้ หมด 4ไฟล์ จากนัน ้ จะทำาการวน
รอบเพื่อเรียกใช้ (include) ทีละไฟล์
Control Structure
require ();
คำาสัง่ นี้ จะเป็นคำาสัง่ ในการเรียก PHP Script ทีอ
่ ยู่ในไฟล์อ่ ืนเข้ามาทำางานซึง
่ คล้ายกับ
include เพียงแต่สามารถเรียกใช้ภายใต้คำาสัง่ การวนรอบได้ (Loop)
<?
require (‘header.inc’);
?>
The End

You might also like