You are on page 1of 18

การแลกเปลี่ยนความรูแ้ ละการยอมรับของผูส้ อน

ที่มีต่อระบบการเรียนการสอนผ่านเว็บไซต์
Allan H.K. Yuen
ศ้นย์เทคโนโลยีสารสนเทศดูานการศึกษา มหาวิทยาลัยฮ่องกง
Will W.K. Ma
โรงเรียนการจัดการดูานธุรกิจ
มหาวิทยาลัยดูานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฮ่องกง
การที่ได้รับการยอมรับจากสังคมของการเรียนร้้ หลาย ๆ องค์กร
มีความเข้าใจและเห็นถึงความสำาคัญของการแบ่งปั นหรือแลกเปลี่ยน
ความร้้ระหว่างพนั กงานขององค์กร เพื่อที่จะทำาให้การแบ่งปั นความร้้
ในองค์กรเข้าใจได้ง่าย พวกเขาจึงกระตือรือร้นที่จะได้รบ ั การแนะนำ า
เกี่ยวกับแบบจำาลองของการจัดการความร้้ จะอย่างไรก็ตามความร้้ท่ี
เกี่ยวกับปั จจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมในการแบ่งปั นความร้้ของแต่ละ
บุคคลนั ้นเป็ นสิ่งที่พวกเขาเหล่านั ้นร้้เพียงแค่เล็กน้ อยเท่านั ้น จากการ
ที่จากจัดการความร้้เป็ นหนทางที่จะนำ าไปส่้การเรียนการสอนทางอีเล็ก
ทรอนิ กส์หรืออีเลิร์นนิ่ ง จุดประสงค์ของกรณี ศึกษาชิน ้ นี้ก็คือ เพื่อ
พัฒนาความร้้ความเข้าใจเบื้องต้นขององค์ประกอบของลักษณะการ
แบ่งปั นหรือแลกเปลี่ยนความร้้ โดยการสำารวจความคิดส่วนตัวที่มีต่อ
ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเวบ ในการฝึ กอบรมคร้ผ้สอน อีก
ทัง้ ยังเป็ นการทดสอบการมีปฏิสัมพันธ์ในการเรียนแบบอีเลิร์นนิ่ งเพื่อ
ตรวจสอบถึงพฤติกรรมของสิ่งที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ในการแบ่งปั นหรือ
แลกเปลี่ยนความร้้
บทนำ า
ปั จจุบันด้วยความเจริญเติบโตของเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารมีผลทำาให้กระบวนการจัดการการเรียนร้้กลายเป็ นส่วนสำาคัญ
ยิ่งในวงการธุรกิจหรือแม้กระทัง้ ภาพรวมของระบบเศรษฐกิจทัง้ หมด
(Kamel,2002) และการเรียนแบบอีเลิร์นนิ่ งยังได้แสดงบทบาทที่
สำาคัญในองค์กรแห่งการเรียนร้้ในระดับสากล ในที่นี้อีเลิร์นนิ่ งมีความ
หมายรวมไปถึงการจัดการฝึ กอบรมผ่านเครือข่ายและการจัดการความ
ร้้ (Rosemberg,2001)
องค์ประกอบที่สำา คัญอย่างยิ่งของการจัดการการเรียนการสอน
คือ 1.วงชีพที่เกี่ยวข้องกับการจัดการการเรียนร้้ 2. การรวบรวมความร้้
3. เครื่องไม้เครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับความร้้ และ 4. การสร้างความร้้
ใหม่ (Liebowitz,2001) เพื่อให้แน่ ใจว่าการเก็บรวมรวบความร้้ในการ
ฝึ กอบรมนั ้นจะสามารถใช้การได้ดีเหมาะสมในเรื่องนั ้น ๆ การแบ่งปั น
ความร้้ จึงกลายเป็ น ขัน ้ ตอนที่ สำา คั ญ อย่ า งยิ่ งในวงชี พ ของการจั ด การ
การเรี ยนร้้ พนั กงานผ้้รับการฝึ กอบรมจะได้รับ ความร้้ ใหม่ จ ากความ
หมายที่ แ ตกต่ า งกั น ของแต่ ล ะการฝึ กอบรม อย่ า งไรก็ ต ามยั ง เป็ นที่
สงสัยกันอย่้ว่าการเก็บรวมรวมความร้้ใหม่ ๆ เหล่านี้ จะสามารถนำ าไป
ใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
ในการศึกษาเกี่ยวกับด้านการแบ่งคัดจัดสรรหมวดหม่้ของการ
จัดการการเรียนร้้ ได้ทำา การแยกออกมาเป็ นหลาย ๆ หมวดหม่้ หมวด
หม่้ท่ีสำาคัญอันหนึ่ งได้แก่ กระบวนการ การสนั บสนุน การจัดการ และ
ก า ร ส ร้ า ง (Goodman &Chinosky 2000) ใ น ยุ ค ส มั ย นี้ ง า น
วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ มักจะกล่าวแนะเอาไว้ว่าการแบ่งปั นเป็ น
กุ ญ แ จ ขั ้ น ห นึ่ ง ใ น ก า ร ก ร ะ บ ว น ก า ร ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม ร้้
(Liebowitz,2000 ; Liebowitz&Beckman 1998 ; O’Dell
1996 ; Liebowitz et al.2000)
ความร้้ เ ป็ นปรากฏการณ์ ท างสั ง คมที่ เ ราสามารถจะสั ม ผั ส ได้
(Brown & Duguid,2002) ความร้้ มี อ ย่้ ร อบตั ว เรา ยิ่ ง ทำา การศึ ก ษา
มากขึ้นเท่าไรยิ่งทำาให้เราพบว่าความร้้ไม่ใช้แค่การบอกกล่าวสัง่ สอนใน
ประเด็นเนื้ อหาสาระเท่านั ้น หากแต่ยังเป็ นกระบวนการที่จะสร้างองค์
ความร้้ขึ้นใหม่ จากการศึกษาทำาให้พบว่าจุดด้อยของการจัดการความร้้
ให้ แก่ก ลุ่ม ที่ไ ม่ย อมเข้ าใจประเด็น ใหม่ ๆ ที่เกิด ขึ้น ในองค์ก ร มองว่ า
เป็ นการเข้าไปสร้างความลำาบากยุ่งยาก และก็ไม่ยอมรับคุณประโยชน์
ของความร้้
ต่างกันกับความร้้เฉพาะบุคคล สังคมแห่งการเรียนร้้ก็มิได้เป็ น
หลัก ประกั น ครอบคลุ ม ไปถึ งเรื่ อ งความเกี่ ย วพั น กั น ของระบบกลไก
ของร่างกายกับการหยัง่ ร้้ของมนุษย์ (Nonaka & Nishiguchi 2001 ,
p.33) สั ง คมแห่ ง การเรี ย นร้้ เ ป็ น การแลกเปลี่ ย นระหว่ า งสมาชิ ก ใน
องค์ กรซึ่ งยื นอย่้บ นรากฐานของประสบการณ์ เฉพาะตน สั งคมแห่ ง
การเรี ย นร้้ ยิ น ยอมให้ ส มาชิ ก ขององค์ ก รที่ จ ะแลกเปลี่ ย นบทบาทใน
ด้านการฝึ กฝน สังคมแห่งการเรียนร้้ได้ก่อกำา เนิ ดองค์กรที่เป็ นระดับ
สากลที่ ส ามารถจะเข้ า ถึ ง ลั ก ษณะเฉพาะตนของมวลสมาชิ ก และ
ยินยอมที่จะให้มีการปรับเปลี่ยน หรือพัฒนาความร้้ส่วนบุคคล ความร้้
ส่วนบุคคลมีความจำา เป็ นในการก่อให้เกิดองค์กรในระดับสากล ตาม
ลักษณะของสังคมความร้้ซ่ึงอย่้ในช่วงเวลาของการสร้างความร้้ส่วน
บุคคลให้แก่โลกใบนี้
การมีปฏิสัมพันธ์ให้แก่กันและกันทำา ให้การแลกเปลี่ยนความร้้
นั ้ น ง่ า ยดายขึ้ น Armstrong et al. (1999) พบว่ า การที่ ที ม คณะผ้้
บริ ห ารมี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ พนั ก งานระดั บ ล่ า งอย่ า งไม่ เ ป็ น ทางการนั ้ น
ทำาให้ความร้้ของเขาเหล่านั ้นดีขึ้น
แล้วอะไรคือสิ่งกระตุ้นหรือเร่งเร้าให้มีการแลกเปลี่ยนความร้้ใน
องค์กร บ๊อค และ คิม (2002) พบว่าการรวมมือรวมใจ การมีส่วนร่วม
การได้รับการสนั บสนุนต่าง ๆ เหล่านี้ เป็ นกุญแจสำาคัญที่จะนำ าไปส่้การ
แลกเปลี่ ย นความร้้ การมี ส่ ว นรวมนี้ ห มายรวมถึ ง การที่ พ นั ก งานมี
ความเชื่อมัน ่ ในความสัมพันธ์ระหว่างกันและกัน ไว้วางใจ ช่วยเหลือซึ่ง
กันและกัน และต่างฝ่ ายต่างเชื่อมั่นว่า เขาเหล่านั ้นสามารถที่จะนำ า พา
ให้องค์กรที่สังกัดรุดหน้ าไปได้ Morris et al (2002) ได้เน้ นว่าองค์กร
ต้องตระหนั กถึงระดับของเชื่อมั่นในสองประการระหว่างผ้้ร่วมงานกับ
ผ้้ใช้ ที่มีต่อความพึงพอใจในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การเสวนาในหัวข้อประเด็นต่าง ๆ ในสังคมออนไลน์นั้นได้ทำาให้
เกิดความแรงกระตุ้นในการแลกเปลี่ยนความร้้ซ่ ึงกันและกันจริงหรือ
สิ่ งที่ น่ า สนใจสิ่ ง หนึ่ งคื อ สองสามปี ที่ ผ่ า นมานั ก เรี ย นจากประเทศที่
ใหญ่โตกว้างขวางแห่งหนึ่ งได้พบเจอสิ่งที่เหนื อการคาดหมายคล้าย ๆ
กันว่า กระดานเสวนาที่มีล้กเล่นต่าง ๆ แพรวพราวมากมาย นั ้ น เมื่อ
เปรียบเทียบกับกระดานเสวนาที่ธรรมดา ๆ กระดานที่มีล้กเล่นกับมี
ผลต่อการใช้งานในระดับที่ตำ่ากว่ากระดานธรรมดา ๆ ยังหมายรวมไป
ถึ ง การจั ด การด้ า นเอกสาร ข่ า วสาร ประกาศ จดหมาย ปฏิ ทิ น และ
แฟ้ มเอกสารอีกด้วย (Peter et al.; 2003 ; Schubert et al ., 2003
; Serrana et al ., 2003)
หลาย ๆ องค์กรมีความเข้าใจและเห็นถึงความสำาคัญของการแบ่ง
ปั นหรือแลกเปลี่ยนความร้้ระหว่างพนั กงานขององค์กร เพื่อที่จะทำาให้
การแบ่งปั นความร้้ในองค์กรเข้าใจได้ง่าย พวกเขาจึงกระตือรือร้นที่จะ
ได้รับการแนะนำ าเกี่ยวกับแบบจำาลองของการจัดการความร้้ จะอย่างไร
ก็ตามความร้้ท่ีเกี่ยวกับปั จจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมในการแบ่งปั นความร้้
ของแต่ละบุคคลนั ้นเป็ นสิ่งที่พวกเขาเหล่านั ้นร้้เพียงแค่เล็กน้ อย
เท่านั ้น จากการที่จากจัดการความร้้เป็ นหนทางที่จะนำ าไปส่้การเรียน
การสอนทางอีเล็กทรอนิ กส์หรืออีเลิร์นนิ่ ง จุดประสงค์ของกรณี ศึกษา
ชิน
้ นี้ก็คือ เพื่อพัฒนาความร้้ความเข้าใจเบื้องต้นขององค์ประกอบของ
ลักษณะการแบ่งปั นหรือแลกเปลี่ยนความร้้ โดยการสำารวจความคิด
ส่วนตัวที่มีต่อระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเวบ ในการฝึ กอบรม
คร้ผ้สอน อีกทัง้ ยังเป็ นการทดสอบการมีปฏิสัมพันธ์ในการเรียนแบ
บอีเลิร์นนิ่ งเพื่อตรวจสอบถึงพฤติกรรมของสิ่งที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ในการ
แบ่งปั นหรือแลกเปลี่ยนความร้้
การยอมรับในเทคโนโลยีของผู้สอน
ความสำาเร็จของการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในห้องเรียนนั ้น ขึ้นอย่้
กั บ ทั ศ นคติ ข องผ้้ ส อนที่ มี ต่ อ คอมพิ ว เตอร์ (Lawton & Gerschner,
1982) กรี ซ าดด์ และ ลอยด์ (1985) ได้ พ บว่ า การยอมรั บ ในคุ ณ
ประโยชน์ ของคอมพิ ว เตอร์ จ ะทำา ให้ ทั ศน คติ ขอ งผ้้ สอ นที่ มี ต่ อ
คอมพิวเตอร์เพิ่มพ้นขึ้น และคร้ท่ีมีความเชื่อมั่นในการใช้คอมพิวเตอร์
แล้ว ต่างก็ประสบความสำา เร็จในการสอนในห้องเรียนได้เป็ นอย่างดี
การนำ า เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในห้องเรียนอย่างประสบผลสำา เร็จ
ไม่ ไ ด้ เ ป็ น จุ ด เน้ น ถึ ง ทั ศ นคติ ข องผ้้ ส อน จากการศึ ก ษา ความร้้ แ ละ
ทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์เป็ นปั จจัยหลักที่ส่งผลถึงการยอมรับใน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ของคร้ผ้สอน (Violato, Mariniz & Hunter ,
1989 ; Koohang , 1989)
Summers (1990) พ บ ว่ า ก า ร ข า ด แ ค ล น ค ว า ม ร้้ แ ล ะ
ประสบการณ์ในการใช้คอมพิวเตอร์ขอผ้้สอนเป็ นเหตุผลธรรมดา ๆ ที่
ทำา ให้ ผ้ ส อนปฏิ เ สธการนำ า คอมพิ ว เตอร์ ไ ปใช้ ใ นการเรี ย นการสอน
ทัศนคติท่ีไม่ดีเหล่านี้ ยังส่งผลกระทบไปถึงการปฏิเสธที่จะเข้ารับการ
อบรมใด ๆ อี ก ด้ ว ย (Kluever Lam & Hoffman , 1994) Russell
และ Bradley (1997) พบว่าผ้้สอนที่เป็ นชายมีขีดความสามารถและ
ความมัน
่ ใจ ในการใช้คอมพิวเตอร์มากกว่าหญิง
Yaen, Law & Chan, กล่าวเอาไว้ในงาน การตรวจสอบติดตาม
ความเปลี่ยนแปลงทัศนคติของผ้้สอน ระหว่างก่อนและระหว่างการใช้
งานคอมพิ ว เตอร์ ในปี 1999 ไว้ ว่ า คร้ ผ้ ส อนมั น จะปฏิ เ สธการใช้
คอมพิ ว เตอร์ ใ นห้ อ งเรี ย น ดั ง นั ้ น การพั ฒ นาปรั บ เปลี่ ย นทั ศนคติ ต่อ
คอมพิวเตอร์จึงถือได้ว่าเป็ นปั จจัยหรือเป็ นกุญแจหลัก ในการพัฒนา
คุ ณภาพการจั ด การเรี ย นการสอน Yildirim (2000) พบว่ า ทั ศ นคติ
ของผ้้สอน (ความตื่นเต้น ความมั่นใจ ความชอบ) มีการพัฒนาอย่าง
ชัดเจนหลังจากเข้ารับการฝึ กฝนด้านความร้้ตามหลักส้ตร Yuen และ
Ma (2002) พบว่าตัวแปรอิสระสองตัวคือ ความเข้าใจในคุณประโยชน์
และความเข้ า ใจในการใช้ แ ต่ ล ะครั ้ง มี ผ ลโดยตรงต่ อ ความใส่ ใ จใน
คอมพิวเตอร์ตามที่ แบบจำาลองการยอมรับในเทคโนโลยี (Technology
Acceptance Model (TAM)) นอกจากนี้ ค วามแตกต่ า งกั น ระหว่ า ง
เพศก็ยังมีผลต่อการยอมรับในคอมพิวเตอร์อย่างชัดเจน
เ พื่ อ ทำา น า ย แ ล ะ ทำา ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ถึ ง ก า ร ย อ ม รั บ ใ น ก า ร ใ ช้
คอมพิวเตอร์ของผ้้สอน ประเด็นสำา คัญคือต้องมีการระบุถึงขอบข่า ย
งานไว้อย่างชัดเจน THE TAM ซึ่งเป็ นแบบจำาลองที่ร้จักกันเป็ นอย่าง
ดี ได้ถ้กนำ า มาประยุกต์ใช้ในการศึกษามากมายหลายต่อหลายชิน ้ ใน
เรื่ องการพั ฒ นาการยอมรั บ หรื อ ทั ศ นคติ (Davis , 1989 ,1993;
Davis et al., 1989 ; VenKatesh & David, 2000 ; Venkatesh
& Morris, 2000 ). จุ ด ประสงค์ ข องบทความชิ้น นี้ คื อ พยายามนำ า
TAM ไปใช้ เ พื่ อตรวจสอบถึ ง แรงจ้ ง ใจและอุ ป สรรคในการนำ า
กระบวนการแลกเปลี่ยนความร้้ไปใช้ในการฝึ กอบรมผ้้สอน
วิธก
ี าร
การฝึ กอบรมแบบมีปฏิสัมพันธ์ใหูกับคร้ประจำาโรงเรียน
เพื่ อ เป็ น การตอบรั บ ถึ งกระแสแห่ งยุ ค ของการเรี ย นร้้ ท่ี ท้า ทาย
และน่ าสนใจในขณะนี้ หลาย ๆ ประเทศจึงมีนโยบายหรือแนวทางที่
เกี่ยวกับด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเกิดขึ้นมาอย่างมากมาย (Pelgrum
& Anderson, 1999) นโยบายต่ า ง ๆ เหล่ า นี้ ทำา ให้ เ ห็ น ได้ อ ย่ า งแจ้ ง
ประจักษ์ ว่า นวัตกรรมการศึกษา ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการ
ขยายตัว และฝั งลึกลงไปใน กรอบของแผนงานในด้านการศึกษา ซึ่งมี
เป้ าหมายหลั ก อย่้ ท่ี ก ารพั ฒ นาผ้้ เ รี ย น ขี ด ความสามารถ และทั ก ษะ
ความร้้ต่าง ๆ (Yuen Law & Wong, 2003) ในช่วงเดือนมกราคมถึง
พฤษภาคมของปี 2003 ศ้นย์เทคโนโลยี สารสนเทศ ในด้านการศึกษา
มหาวิทยาลัยฮ่องกง ซึ่งเป็ นหน่ วยงานที่ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลให้
เป็ น ผ้้ จั ด การด้ แ ลกระบวนการฝึ กอบรม ให้ แ ก่ โ รงเรี ย นทั ้ง ในระดั บ
ประถมและมั ธ ยม ชื่ อ ของโครงฝึ กอบรมในครั ้ง นี้ คื อ การเรี ย นการ
สอนแบบมี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ โ ดยเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ในการฝึ กอบรม
แต่ละครัง้ จะมีการแบ่งร้ปแบบออกเป็ นอบรม 2 รอบ รอบละ 3 ชั่วโมง
โดยการใช้เว็บไซต์ในการฝึ กอบรม มีผ้เข้าร่วม 20 คน โดยมีศ้นย์กลาง
ของข้ อ ม้ ล และสั่ งการมาจากประเทศจี น หากจำา เป็ น บางครั ้ง ก็ มี ก าร
เสริมเพิ่มเติมจากอังกฤษ จุดประสงค์ของโครงการนี้มีดังนี้
1. ชีแ้ จ้งแนะนำ าถึงวิธีการอันหลากหลายที่จะนำ าไปส่้การเรียน
การสอนโดยใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศ ซึ่ ง ควรจะนำ า ไปส่้
การยอมรับในฮ่องกง
2. เพื่ ออำา นวยความสะดวกให้ แ ก่ ค ร้ ผ้ ส อนสามารถนำ า
เทคโนโลยี ส ารสนเทศไปบ้ ร ณาและเป็ น ที่ ย อมรั บ ในชั ้น
เรียน
3. เพื่อ ให้ การบ้รณาการเทคโนโลยี ส ารสนเทศในการเรี ย น
การสอน มีการตัดสินใจอย่างสมเหตุสมผล ตามบริบทของ
แต่ละท้องถิ่น และกรณี ศึกษา
4. เพื่อเป็ นการเรียนร้้ถึงเทคนิ ควิธีการในอันที่จะนำ าโครงการ
ไปใช้ไ ด้อ ย่างเหมาะสมตามบริ บ ทของท้ อ งถิ่ น และ กรณี
ศึกษาต่าง ๆ

เว็บไซต์ท่ีใชูในการฝึ กอบรม
โปรแกรมการฝึ กอบรมในครัง้ นี้ ถ้กสร้างขึ้นมาโดยมีเนื้ อหาบน
เว็ บ ไซต์ มั น ถ้ ก เรี ย กว่ า Interactive Learning Network (ILN) ซึ่ ง
ชุ ม ชนของการจั ด การการเรี ย นร้้ ภ าคพื้ น ตะวั น ออกได้ ม อบหมายให้
ศ้นย์เทคโนโลยีสารสนเทศด้านการศึกษา (CITE) ของมหาวิทยาลัย
ฮ่ อ งกงทำา การพั ฒ นาขึ้ น ให้ มี เ ครื่ องหมายเครื่ องมื อ ที่ เ พี ย บพร้ อ ม
สำาหรับสภาพแวดล้อมแบบออนไลน์ สามารถให้ผ้เข้ารับการฝึ กอบรม
มีการทำา งานร่วมกัน มีกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกันได้ ความสามารถที่มีมา
ให้ พร้ อม อย่า งเช่ น ประกาศ เนื้ อหา งานที่ ทำา ประเด็ น หัว ข้ อ เสวนา
ปฏิทิน แผนภาพแผนภ้ มิ คำา ถามคำา ตอบ และการประเมิ น ผลผ้้ ด้ แล
ระบบหรือผ้้ให้การฝึ กอบรมสามารถที่จะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเนื้ อหา
วิ ธี ก ารได้ ต ามความเหมาะสม เวที แ สดงความคิ ด เห็ น เป็ นขี ด ความ
สามารถหนึ่ งของโปรแกรมฝึ กอบรม (ILN) ผ้้ เ ข้ า รั บ การฝึ กอบรม
สามารถตัง้ กระท้้หรืออ่านข้อความต่าง ๆ ได้ ซึ่งการใช้กระดานเสวนา
เหล่านี้ถือเป็ นส่วนที่ผ้เข้ารับการฝึ กอบรมต้องเข้าไปมีส่วนรวม
การอบรมครั ้ง นี้ แ บ่ ง ออกเป็ นสองช่ ว ง กำา หนดให้ แ ต่ ล ะช่ ว งมี
ระยะเวลาห่างกันอย่างน้ อยที่สุด 6 วัน ในช่วงแลกผ้้ให้การฝึ กอบรม
จะคอยกระตุ้นและเฝ้ าสังเกตกระดานเสวนานี้เพื่อให้การเสวนาเป็ นไป
ตามหัวข้อที่กำา ลังเป็ นประเด็นอย่้ในขณะนั ้ น เป็ นการทำา ให้ผ้ท่ีอย่้ใน
ระบบทุกคนได้คิดว่า สิ่งที่พวกเขาได้เรียนร้้ไปนั ้ นส่งผลต่อต่อกิจการ
งานที่ พ วกเขาทำา อย่้ ไ ด้ อ ย่ า งไร และทำา ไม ส่ ง ผลให้ ผ้ เ ข้ า ร่ ว มการฝึ ก
อบรมเกิดความมั่นใจในการที่จะค้นหาสิ่งที่จะไปมีประโยชน์ ตามความ
ต้ อ งการของพวกเขา ผ้้ เ ข้ า ร่ ว มการฝึ กอบรมต่ า งคาดหวั ง ที่ จ ะแลก
เปลี่ยนและโต้แย้งความคิดของตนเข้าไปส่้ระบบ ILN
วิธีดำาเนิ นการ
การวิ จั ย ครั ้ง นี้ ใ ช้ วิ ธี ก ารอ้ า งอิ ง ถึ ง TAM ของ เดวิ ส (1989)
กำา หนดปั จจั ย ในการตรวจสอบ ในด้ า นการได้ รับ ประโยชน์ ส้ งสุ ด กับ
การได้รับความสะดวกสบายง่ายดายในการใช้ ตัวแปรก็คือการยอมรับ
และความพึงพอใจในรายวิชา โดยมีทัศนคติให้เกิดการสืบเสาะแสวงหา
ผลกระทบที่เกิดขึ้นภายใต้เงื่อนไขที่ได้กำาหนดเอาไว้ อีกประการหนึ่ งก็
คือเพื่อวิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ต่าง ๆ ในระบบ รวมทัง้ พฤติกรรมต่าง ๆ ที่
มีอย่้ในระบบ
การศึกษาครั ง้ นี้ ออกแบบมาสำา หรับโรงเรี ย นประถมและ
มัธยม เพื่อตรวจสอบว่าจะบ้รณาการเทคโนโลยีสารสนเทศกับการสอน
ตามปกติได้อย่างไร ผ้้เข้ารับการฝึ กอบรมจะได้ใช้เวบไซต์การเรียนการ
สอนผ่า นเครื อข่ าย สามารถแลกเปลี่ย นแฟ้ มเอกสาร จดหมายอี เล็ ก
ทรอนิ กส์ โต้ตอบกับผ้้ให้การฝึ กอบรมและผ้้เข้ารับฝึ กอบรมคนอื่น ๆ
แบบสอบถาม แบบสำา รวจ (ภาคผนวก) ซึ่ ง สิ่ ง เหล่ า นี้ จ ะได้ รั บ การ
แ น ะ นำ า ใ ห้ แ ก่ ผ้้ เ ข้ า ก า ร อ บ ร ม ทั ้ ง ก่ อ น แ ล ะ ห ลั ง ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม
กระบวนการฝึ กอบรมนี้ เพื่อตรวจสอบแสวงหาปั จจัยที่ทำา ให้เกิดการ
ยอมรับต่อเวบไซต์ท่ีมีการโต้ตอบหรือมีปฏิสัมพันธ์ ข้อม้ลคือกำา หนด
จำานวนประชากรไว้ครัง้ แรก 74 คน
ผลของการวิ จั ย ทำา ให้ ม องเห็ น ภาพที่ ชั ด เจนขึ้ น เกี่ ย วกั บ
ปั จจัยที่มีต่อทัศนคติส่วนตัวในการยอมรับอีเลิร์นนิ่ ง ซึ่งทำาให้การแลก
เปลี่ยนความร้้มีความสะดวกสบายและง่ายยิ่งขึ้น วิเคราะห์ถึงสถิติการ
เข้าใช้งานของระบบ พฤติกรรมส่วนตัวของผ้้เข้ารับการฝึ กอบรม ซึ่งจะ
ได้แสดงให้ทราบดังต่อไปนี้
ผลการวิเคราะห์ขูอม้ล
สรุปตัวแปร
ผ้้เข้ารับการฝึ กอบรมส่วนใหญ่ได้รับประสบการณ์ เพิ่มขึ้น
คร้ท่ีมีความร้้ความสามารถด้านคอมพิวเตอร์แบ่งเป็ น ผ้้ห ญิง 47 คน
(63.5%) ผ้้ชาย 27 คน (36.5 %) ด้านอายุของคร้ ตำ่ากว่า 25 ปี (2.7
%) 25-29 (18.9%) 30-35 (13.5%) และมากกว่า 35 (64.9%)
จำา นวนคร้มากกกว่า 86 % เข้าไปใช้ระบบต่อเนื่ องหลังจากฝึ กอบรม
แล้ว รายละเอียดของกิจกรรมตามตารางที่ 1 ทำาให้เห็นว่า จำานวนของ
ผ้้ท่ีเข้าไปอ่านข้อความมีจำานวนมากที่สุด ผ้้เข้ารับการฝึ กอบรมที่เด่น ๆ
เป็ นตัวชีว้ ัดว่า การแลกเปลี่ยนความร้้ผ่านระบบ ILN นั ้ น เป็ นข้อได้
เปรียบ
ตารางที่ 1 แสดงรายละเอียดกิจกรรมบนเครือข่าย
Minimu Maximu Mean Std.
m m Deviation
จำานวนผ้้เข้าส่้ระบบ 0 14 5.50 3.528
จำานวนผ้้อา่ นข้อความ
ในระบบ 0 229 59.38 57.912
จำานวนผ้้ตัง้ กระท้้ 0 12 3.36 3.077

ตารางที่ 2 แสดงให้ เห็ น ว่ า แนวคิ ด การยอมรั บ เทคโนโลยี มี ค่ า


เพิ่มขึ้น ค่าเฉลี่ยทุกค่า มากกว่า 4 จาก 7 จาก Likert scale ค่าเฉลี่ย
จาก 4.72 ถึง 5.66 ในขณะที่ค่าเบียงเบนมาตราฐาน มีค่าจาก 0.81
ถึง 1.26 ค่าความพึงพอใจมีความน่ าเชื่อถือ (alpha > 0.85)

ตารางที่ 2 แสดงค่าของการสร้างความเชื่อมัน

ก่อนฝึ กอบรม หลังฝึ กอบรม

Me StdD Cronba Me StdD Cronba


an ev ch’s an ev ch’s
alpha alpha
ยอมรับคุณประโยชน์
(PU)
5.1 1.10 0.96 5.2 0.98 0.95
PU1
4 1.19 4 1.02
PU2
4.8 1.07 5.1 1.09
PU3
6 1.15 5 1.06
PU4
4.9 1.15 5.2 1.15
PU5
5 1.15 6 1.05
PU6
4.9 5.0
ยอมรับว่าง่ายในการ
6 1.14 0.87 8 0.96 0.89
ใช้ (PEOU)
4.8 1.08 4.9 0.95
PEOU1
1 0.91 3 1.05
PEOU2
5.0 0.94 5.1 0.81
PEOU3
0 0.86 4 0.92
PEOU4
PEOU5
ความตัง้ ใจในการใช้ 5.2 1.17 0.92 5.3 1.05 0.93
(ITU) 7 1.18 8 1.24
ITU1 5.1 1.25 5.3 1.09
ITU2 5 1.11 1 1.01
ITU3 5.2 1.26 5.2 1.17
ITU4 7 2
ITU5 5.4 5.4
2 6
5.6 5.4
6 7

5.0 4.9
3 7
4.8 4.7
5 2
5.0 4.9
8 6
5.0 5.0
8 5
4.8 4.7
9 8

ปั จจั ย องค์ ป ระกอบได้ ถ้ ก นำ า วิ เ คราะห์ โ ดยนำ า ส่ ว นประกอบที่ มี


ความสำา คั ญ มาวิ เ คราะห์ โดยวิ ธี varimax rotation ทุ ก หน่ วยมี ค่ า
มากกว่ า 0.62 สำา หรับ การทดสอบก่ อนและหลังฝึ กอบรมสามารถ
อธิ บ ายถึ งการเปลี่ ย นแปลงที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ได้ โ ดย ส่ ว นประกอบทั ้ง 3 คื อ
76.84 % และ 78.43 % (ตามตารางที่ 3) แสดงให้ เ ห็ น ว่ า เป็ น ไป
ตามการคาดหวังไว้ของ แบบจำาลอง TAM
ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ปัจจัย

การยอมรับเทคโนโลยี
LISREL เคยใช้แบบจำาลองโครงสร้างทางสมการ ได้ผลออกมา
ว่า ค่าสัมประสิทธิม
์ ีความสัมพันธ์กันกับโครงสร้างสมการ แบบจำาลอง
ทัง้ ก่อนและหลังการฝึ กอบรมได้ค่าใกล้เคียงกับค่าที่แนะนำ า
ภาพที่ 1 แบบจำาลองก่อนการฝึ กอบรม
จากภาพที่ 1 และ 2 แสดงผลของค่าสัมประสิทธิท ์ ่ีได้จากแบบ
จำาลองทัง้ ก่อนและหลังการฝึ กอบรม ในส่วนของแบบจำาลองก่อนการ
ฝึ กอบรมผลที่ ไ ด้ ส นั บ สนุ น การคาดคะแนของ TAM การค้ น พบนี้
สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ทั่ ว ไป (Venkatesh & Davis, 2000; Hu et
al., 1999; Davis, 1989) ยกเว้นก็แต่ในส่วนของ กลุ่มที่ยอมรับคุณ
ประโยชน์ กับกลุ่มที่ มีความสนใจในการใช้ ที่ยังไม่แน่ ชัดเท่าไหร่
จากค่า R square (ตารางที่ 4) แสดงให้เห็นว่าการที่ง่ายต่อการ
ใช้มีการผันแปรกับยอมรับคุณประโยชน์ 18% และ 39% (ก่อนและ
หลั ง ตามลำา ดั บ ) ในขณะที่ ก ารง่ า ยต่ อ การใช้ แ ละการยอมรั บ มี ก าร
ผั น แปรกั บ การตั ้ง ใจในการใช้ 33% และ 52% (ก่ อ นและหลั ง ตาม
ลำาดับ)
ภาพที่ 2 แบบจำาลองหลังการฝึ กอบรม

ตารางที่ 4 ความสัมพันธ์กันของโครงสร้างสมการ

ตารางที่ 5 เป็ นการสรุปค่าสัมประสิทธิส


์ ำาหรับแต่ละสาเหตุท่ีท่ีได้
แสดงเอาไว้ใน ภาพที่ 1 และภาพที่ 2 ข้อม้ลในแต่ละส่วนออกมาได้
สอดคล้องกับแบบจำา ลองของ TAM อย่างไรก็ตาม การเปรียบเทีย บ
จากก่อนฝึ กอบรมและหลังฝึ กอบรมต่างก็เน้ นยำา้ ถึง การยอมรับความ
ง่ายในการใช้งาน นำ า ไปส่้การยอมรับในคุณประโยชน์ ในอีกด้านหนึ่ ง
นำ ้ าหนั กของการยอมรับความง่ายในการใช้มีค่ามากกว่า ความตัง้ ใจใน
การใช้ และมากกว่าหลังการฝึ กอบรม ก่อนการฝึ กอบมการยอมรับ
ในคุณประโยชน์ในคอมพิวเตอร์ ได้คา่ ออกมาไม่ซิก

การยอมรับในเทคโนโลยีและการแลกเปลี่ยนความร้้
ในตารางที่ 6 แสดงความสั ม พั น ธ์ กั น ระหว่ า งการยอมรั บ ใน
เทคโนโลยีและการแลกเปลี่ยนความร้้ ในขณะที่การแลกเปลี่ยนความร้้
พิ จารณาได้จากจำา นวนของผ้้ล๊ อคอิน เข้า มาในระบบ จำา นวนของการ
อ่ า นข้ อ ความ (ผ้้ รั บ ) จำา นวนของผ้้ ตั ้ง กระท้้ (ผ้้ ใ ห้ ) (Fullan, 2002)
เห็นความสัมพันธ์อย่างชัดเจนได้จาก การล๊อคอินเข้าระบบ การอ่าน
การตั ้ง กระท้้ ซึ่ ง ก็ คื อ PU, PEOU, และ ITU ทั ้ง ก่ อ นและหลั ง ฝึ ก
อบรม จึงพบว่ามีความสัมพันธ์กันของ การตัง้ ใจในการใช้คอมพิวเตอร์
จากปริมาณการอ่านกระท้้ตอนก่อนฝึ กอบรม อย่างไรก็ตาม หลังการ
ฝึ กอบรม พบว่าการยอมรับถึงความง่ายในการใช้และความตัง้ ใจการใช้
สอดคล้องสัมพันธ์ พิจารณาจากการอ่านกระท้้
มีการแบ่งผ้้ตอบแบบสอบถาม เป็ น 3 กลุ่มด้วยกัน โดยพิจารณา
จากคะแนน ความสนใจในการใช้ (ITU) แบ่ ง เป็ น กลุ่ ม คะแนนส้ ง
คะแนนปานกลาง และคะแนนตำ่ า จากคำา ถาม 5 ประเด็ น โดยใช้
มาตรฐานคะแนน ของ Likert (ตารางที่ 7)
ค่า One way ANOVA ถ้กนำ า มาใช้ เพื่ อ อธิ บ ายความแตกต่ า ง
กันของกลุ่ม ITU ซึ่งได้อธิบายไว้ในตารางที่ 7
อภิปราย
ผลของการสำารวจแสดงให้เห็นถึงปั จจัยที่เป็ นร้ปธรรมที่มีผลต่อ
ทั ศ นคติ ต่ อ อี เ ลิ ร์ น นิ่ งซึ่ ง ต่ อ จากนี้ ไ ปจะหลอมหลวมเข้ า เป็ นส่ ว นที่
เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนความร้้ กลุ่มตัวอย่างเล็ก ๆ นี้ แสดงให้เรา
เข้าใจถึงกระบวนการแลกเปลี่ยนความร้้โดยการใช้กระดานเสวนา ขัน ้
ตอนต่าง ๆ ทัง้ การเข้ามามีส่วนร่วม การมีปฏิสัมพันธ์ต่าง ๆ ล้วนเป็ น
สิ่งกระตุ้นความสนใจในการแลกเปลี่ยนความร้้
ทั ง้ การศึ กษาและการฝึ กอบรม ในปั จจุ บั น ต่ า งมี ก ารพั ฒ นาวิ ธี
การเรียนแบบใหม่เกิดขึ้นมากมาย ในอดีตเพื่อทำาให้เทคโนโลยีมีความ
น่ าสนใจเพิ่มขึ้น ได้มีการพัฒนาในด้านหน้ าตาของโปรแกรมให้ด้ดีน่า
สนใจ อย่ า งไรก็ ต าม สิ่ ง สำา คั ญ ในการพั ฒ นาเทคโนโลยี ก็ คื อ ทำา ให้
เทคโนโลยี มี ค วามยื ด หยุ่ น ง่ า ยต่ อ การใช้ ดั ง นั ้ น ร้ ป ร่ า งหน้ าตาขอ
งอีเลิร์นนิ่ งจึงควรได้รบ ั การออกแบบให้ด้เรียบง่าย
อ้างอิง
Armstrong, C.P. & Sambamurthy, V. (1999).
Information technology assimilation in firms: The influence
of senior
leadership and IT. Information Systems Research, 10(4).
Bock, G.W. & Kim, Y.G. (2002). Breaking the myths
of rewards: An exploratory study of attitudes about
knowledge
sharing. Information Resources Management Journal,
15(2), 14-21.
Brown, J.S. & Duguid, P. (2000). The Social Life of
Information. Harvard Business Books Press: Boston.
Davis, F.D. (1989). Perceived usefulness, perceived ease
of use, and user acceptance of information technology. MIS
Quarterly, 13(3), 319-340.
Davis, F.D. (1993). User acceptance of information
technology: System characteristics, user perceptions, and
behavioral impacts. International Journal of Man-
Machine Studies, 38(3), 475-487.
Davis, F.D., Bagozzi, R.P. & Warshaw, P.R. (1989).
User acceptance of computer technology: A comparison of
two
theoretical models. Management Science, 35(8), 982-
1003.
Fullan, M. (2002). The role of leadership in the
promotion of knowledge management in schools. Teachers
and
Teaching: Theory and Practice, 8(3/4), 409-419.
Gressard, C. P. & Loyd, B. H. (1985). Age and staff
development experience with computers as factors affecting
teachers attitudes toward computers. School Science
Mathematics, 85(3), 203-209.
Kamel, S. (2002). The role of virtual organizations in
post-graduate education in Egypt: The case of the regional IT
institute. In Cases on Global IT Applications and
Management: Success and Pitfalls. Idea Group Publishing:
Hershey PA, pp.203-224.
Kluever, R.C., Lam, T.C.M. & Hoffman, E.R. (1994).
The computer attitude scale: Assessing changes in teachers'
attitudes toward computers. Journal of Educational
Computing Research, 11(3), 251-256.
Koohang, A. A. (1989). A study of attitudes toward
computers: Anxiety, confidence, liking and perception of
usefulness. Journal of Research on Computing in
Education, 22(2), 137-150.
Lawton, J. & Gerschner, V. T. (1982). A review of the
literature on attitudes towards computers and computerized
instruction. Journal of Research and Development in
Education, 16(1), 50-55.
Liebowitz, J. & T. Beckman (1988). Knowledge
Organizations: What Every Manager Should Know. CRC
Press,
Boca Ralton, FL.
Liebowitz, J. (2000). Building Organizational
Intelligence: A Knowledge Management Primer. CRC Press,
Boca
Ralton, FL.
Liebowitz, J. (2001). Knowledge Management: Learning
from Knowledge Engineering. CRC Press: New York.
Liebowitz, J., Rubenstein-Montano, B. Buchwalter, J.,
McCaw, D., Buchwalter, J., Browning, C., Newman, B. &
Rebeck, K. (2000). The knowledge audit. Knowledge
and Process Management, 7(1), 3-10.
Morris, S.A., Marshall, T. & Kellyrainer, R. (Jr) (2002).
Impact of user satisfaction and trust on virtual team
members. Information Resources Management Journal,
15(2), 22-50.
Nonaka, I. & Nishiguchi, T. (2001). Knowledge
Emergence: Social, Technical, and Evolutionary Dimensions
of
Knowledge Creation. Oxford University Press: Oxfor

You might also like