You are on page 1of 21

หน่ วยการเรียนที่ 3

แหล่งที่มาของความงาม

ธรรมชาติ เป็ นสิ่ งที่ มีลั กษณะทั ง้ ทางกายภาพ และชี ว ภาพ


อยู่รอบ ๆ ตัวเราเกิดขึ้นมาเองได้แกูสิ่งของวัตถุ สารประอบ ทัง้ ที่
มี ชี วิ ต และไมู มี ชี วิ ต เชู น มนุ ษ ย์ สั ต ว์ ต้ น ไม้ ดิ น หิ น อากาศ
วั ต ถุ ธ าตุ ฯลฯ เป็ นต้ น สิ่ ง ตู า ง ๆ ดั ง กลู า วสามารถสั ม ผั ส ด้ ว ย
ประสาทสัมผัสทัง้ 5 คือ ห่ ตา จม่ก ลิ้น กาย ธรรมชาติ จึงเป็ น
ทัง้ ร่ปธรรมและนามธรรม การที่ธรรมชาติมีบทบาทตูอตัวเรา ขึ้น
อยู่กับการตอบสนอง ตามคุณสมบัติเฉพาะหรือศักยภาพของสิ่ง
นั ้ น เราจำา เป็ นต้ อ งสั ง เกตหรื อ ทำา ความเข้ า ใจในธรรมชาติ เ พื่ อ
พัฒนาพื้นฐานของชีวิตด้านอารมณ์ความร้่สึก
ลักษณะหรือคุณสมบัติของธรรมชาติอันเป็ นแหลูงที่มาของ
ความงามหรื อ คุ ณ คู า ทางสุ น ทรี ย ภาพ แบู ง ได้ เ ป็ น 3 กลูุ ม ตาม
ประสาทสัมผัส

3.1 ภาพลักษณ์
(Image) สัมผัสได้ด้วยประสาทตาดังนี้
• ร่ปรูาง ร่ปทรง (Shape & Form)
ร่ ป รู า ง Shape คื อ ร่ ป แบน ๆ มี 2 มิ ติ มี ค วามกว้ า งกั บ
ความยาว ไมูมีความหนาเกิดจากเส้นรอบนอกที่แสดงพื้นที่
ขอบเขตของร่ปตูาง ๆ เชูน ร่ปวงกลม ร่ปสามเหลี่ยม หรือ
ร่ ปอิ ส ระ ที่แ สดงเนื้ อที่ ข องผิ ว ที่ เป็ นระนาบมากกวู า แสดง
ปริมาตรหรือมวล
ร่ ปทรง (Form) คื อ ร่ป ที่ลัก ษณะเป็ น 3 มิ ติ โดยนอกจาก
จะแสดง ความกว้ า ง ความยาวแล้ ว ยั ง มี ค วามลึ ก หรื อ
ความหนา น่น ด้วย เชูน ร่ปทรงกลม ทรงสามเหลี่ยม ทรง
กระบอก เป็ นต้น ให้ความร้่สึกมีปริมาตร ความหนาแนู น มี
มวลสาร ที่ เ กิ ด จากการใช้ คู า นำ้ าหนั ก หรื อ การจั ด องค์
ประกอบของร่ปทรง หลายร่ปรวมกัน

ร่ปรูางและร่ปทรง เป็ นร่ปธรรมของงานศิลปะที่ใช้ส่ ือเรื่อง


ราวจากงานศิลปะไปสู่ผ้่ชมร่ปรูางและร่ปทรงที่มีอยู่ในงานศิลปะ
มี 3 ลักษณะ คือ
o ร่ ป เรขาคณิ ต (Geometric Form) มี ร่ ป ที่ แ นู นอน
มาตรฐาน สามารถวั ด หรื อ คำา นวณได้ มี ก ฎเกณฑ์
เกิ ด จากการสร้ า งของมนุ ษ ย์ เชู น ร่ ป สี่ เ หลี่ ย ม ร่ ป
วงกลม ร่ปวงรี นอกจากนี้ ยังรวมถึงร่ปทรงของสิ่งที่
มนุ ษ ย์ ป ระดิ ษ ฐ์ คิ ด ค้ น ขึ้ น อยู า งมี แ บบแผนแนู น อน
เชูน รถยนต์เครื่องจักรกล เครื่อ งบิ น สิ่งของเครื่อ ง
ใช้ ตู า ง ๆ ที่ ผลิ ต โดยระบบอุ ต สาหกรรมก็ จั ด เป็ นร่ ป
เ ร ข า ค ณิ ต เ ชู น กั น ร่ ป เ ร ข า ค ณิ ต เ ป็ น ร่ ป ที่ ใ ห้
โ ค ร ง ส ร้ า ง พื้ น ฐ า น ข อ ง ร่ ป ตู า ง ๆ ดั ง นั ้ น ก า ร
สร้างสรรค์ร่ปอื่น ๆ ควรศึกษาร่ปเรขาคณิ ตให้เข้าใจ
ถูองแท้เสียกูอน

o ร่ ปอิ น ทรี ย (Organic Form) เป็ นร่ ป ของสิ่ ง ที่ มี ชีวิ ต


หรื อ คล้ า ยกั บ สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ ส ามารถเจริ ญ เติ บ โต
เคลื่อนไหว หรือเปลี่ยนแปลงร่ปได้ เชูน ร่ปของคน
สัตว์ พืช

o ร่ปอิสระ (Free Form) เป็ นร่ปที่ไมูใชูแบบเรขาคณิต


หรือแบบอินทรีย์ แตูเกิดขึ้นอยูางอิสระไมูมีโครงสร้าง
ที่แนู นอน ซึ่งเป็ นไปตามอิทธิพลและการกระทำา จาก
สิ่งแวดล้อมเชูน ร่ปก้อนเมฆ ก้อนหิน หยดนำ้ า ควัน
ซึ่ ง ให้ ค วามร้่ สึ ก ที่ เ คลื่ อนไหว มี พ ลั ง ร่ ป อิ ส ระจะมี
ลักษณะขัดแย้งกับร่ปเรขาคณิ ต แตู กลมกลืน กับ ร่ป
อิ น ทรี ย์ ร่ ป อิ ส ระอาจเกิ ด จากร่ ป เรขาคณิ ต หรื อ ร่ ป
อิ น ทรี ย์ ที่ ถ่ ก กระทำา จนมี ร่ ป ลั ก ษณะเปลี่ ย นไปจาก
เดิมจนไมูเหลือสภาพ เชูน รถยนต์ที่ถ่กชนจนยับเยิน
ทัง้ คัน เครื่องบินตก ตอไม้ที่ถ่กเผาทำา ลาย หรือซาก
สัตว์ที่เนู าเปื่ อยผุพัง

ความสัมพันธ์ระหว่างรูปทรง
เมื่ อนำ า ร่ ป ทรงหลายๆ ร่ ป มาวางใกล้ กั น ร่ ป เหลู า นั ้ น จะมี
ความสัมพันธ์ดึงด่ดหรือผลักไส ซึ่งกันและกัน การประกอบกัน
ของร่ปทรงอาจทำาได้โดย ใช้ร่ปทรงที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน ร่ป
ทรงที่ ตู อ เนื่ องกั น ร่ ป ทรงที่ ซ้ อ นกั น ร่ ป ทรงที่ ผ นึ ก เข้ า ด้ ว ยกั น
ร่ปทรงที่แทรกเข้าหากัน ร่ปทรงทีส
่ านเข้าด้วยกัน หรือ ร่ปทรงที่
บิ ด พั น กั น การนำ า ร่ ป เรขาคณิ ต ร่ ป อิ น ทรี ย์ แ ละร่ ป อิ ส ระมา
ประกอบเข้าด้วยกัน จะได้ร่ปลักษณะใหมูๆ อยูางไมูสิ้นสุด
เส้นคือ รูองรอยที่เกิดจากเคลื่อนที่ของจุดหรือถ้าเรานำ า จุด
มาวางเรียงตูอ ๆ กันไป ก็จะเกิดเป็ นเส้นขึ้น เส้นมีมิติเดียว คือ
ความยาว ไมูมีความกว้าง ทำาหน้ าที่เป็ นขอบเขต ของที่วูาง ร่ป
รูาง ร่ปทรง นำ้ าหนั ก สี ตลอดจนกลูุมร่ปทรงตูาง ๆ รวมทัง้ เป็ น
แกนหรือ โครงสร้างของร่ปรูางร่ปทรง
• เส้น Line
เส้นเป็ นพื้นฐานที่สำา คัญของงานศิลปะทุก
ชนิ ด เส้นสามารถให้ความหมาย แสดงความ
ร้่สึก และอารมณ์ได้ด้วยตัวเอง และด้วยการ
สร้างเป็ นร่ปทรงตูาง ๆ ขึ้น เส้นมี 2 ลักษณะ
คื อ เส้ น ตรง (Straight Line) และ เส้ น โค้ ง
(Curve Line) เส้นทัง้ สองชนิ ดนี้ เมื่อนำ ามาจัดวางในลักษณะตูาง
ๆ กัน จะมีช่ ือเรียกตูาง ๆ และให้ความหมาย ความร้่สึก ที่แตก
ตูางกันอีกด้วย
ลักษณะของเส้น
1. เส้ น ตั ง้ หรื อ เส้ น ดิ่ ง ให้
ความร้่สึกทางความส่ง สงูา
มั ่น คง แข็ ง แรง หนั ก แนู น
เป็ นสั ญ ลั ก ษณ์ ข องความ
ซื่อตรง
2. เส้ น นอน ให้ ค วามร้่ สึ ก
ทางความกว้ า ง สงบ ราบ
เรียบ นิ่ ง ผูอนคลาย
3. เส้ น เฉี ย ง หรื อ เส้ น ทแยงมุ ม ให้ ค วามร้่ สึ ก เคลื่ อนไหว
รวดเร็ว ไมูมัน
่ คง
4. เส้ น หยั ก หรื อ เส้ น ซิ ก แซก แบบฟั นปลา ให้ ค วามร้่ สึ ก
เคลื่อนไหว อยูางเป็ นจังหวะ ไมูราบเรียบ นู ากลัว อันตราย ขัด
แย้ง ความรุนแรง
5. เส้ น โค้ ง แบบคลื่ น ให้ ค วามร้่ สึ ก เคลื่ อ นไหวอยู า งช้ า ๆ ลื่ น
ไหล ตูอเนื่ อง สุภาพ อูอนโยน นู ุมนวล
6. เส้นโค้งแบบก้นหอย ให้ความร้่สึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือ
เติ บ โตในทิ ศ ทางที่ ห มุ น วนออกมา ถ้ า มองเข้ า ไปจะเห็ น พลั ง
ความเคลื่อนไหวที่ไมูสิ้นสุด
7. เส้นโค้งวงแคบ ให้ความร้่สึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง
ทีร่ วดเร็ว ไมูหยุดนิ่ ง
8. เส้นประ ให้ความร้่สึกที่ไมูตูอเนื่ อง ขาด หาย ไมูชัดเจน ทำาให้
เกิดความเครียด
ความสำาคัญของเส้น
1. ใช้ในการแบูงที่วูางออกเป็ นสูวน ๆ
2. กำาหนดขอบเขตของที่วูาง หมายถึง ทำาให้เกิดเป็ นร่ปรูาง
(Shape) ขึ้นมา
3. กำาหนดเส้นรอบนอกของร่ปทรง ทำาให้มองเห็นร่ปทรง
(Form) ชัดขึ้น
4. ทำาหน้ าที่เป็ นนำ้ าหนั กอูอนแกู ของแสดงและเงา หมาย
ถึง การแรเงาด้วยเส้น
5. ให้ความร้่สึกด้วยการเป็ นแกนหรือโครงสร้างของร่ป

• สี (colour)
สี เ ป็ นปรากฏการณ์ ธ รรมชาติ สี มี อ ยู่ ใ นแสงแดดเป็ นคลื่ น
แสงชนิ ดหนึ่ ง จะปรากฏให้เห็นเมื่อแสงแดดผูานละอองไอนำ้ าใน
อากาศ เกิดการหักเหเป็ นสีรุ้งบนท้องฟ้ า 7 สี คือ แดง ส้ม เหลือง
เขียว นำ้ าเงิน มูวงนำ้ าเงิน (คราม) และมูวง หรือให้แสงแดดสูอง
ผูานแทูงแก้วสามเหลี่ยม (prism) ก็จะแยกสีออกมาให้เห็นเป็ นสี
รุ้งเชูนกัน
สีเป็ นองค์ป ระกอบหนึ่ งของงานศิ ล ปะที่ มีค วามหมายมาก
เพราะสีชูวยให้เกิดคุณคูาในองค์ประกอบอื่น ๆ เชู น การใช้สี ให้
เกิดร่ปรูาง การใช้สีให้เกิดจังหวะ หรือการใช้สีแสดงลักษณะของ
พื้นผิว นอกจากนี้ การใช้สียังมีสูวนสูงเสริมให้เกิดความคิด ความ
ร้่สึกและอารมณ์ สีแบูงออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1. สี ที่ เ ป็ นแสง (spectrum) เป็ นสี ที่ เ กิ ด จากการ
หักเหของแสง
2. สีที่เป็ นวัตถุ (pigment) เป็ นสีที่มีอยู่ในธรรมชาติ
ทัว
่ ไป เชูน ในพืช ในสัตว์ เป็ นต้น

สีที่เป็ นวัตถุ (pigment) แบ่งออกเป็ น

1. แมู สี หรื อ สี ขั ้ น ต้ น (primary colours) มี 3 สี คื อ สี


เหลือง สีแดง และสีน้ำ าเงิน แมูสีทัง้ 3 สี เป็ นสีที่ไมูสามารถผสม
ขึ้นมาได้ แตูสามารถผสมเข้าด้วยกันเป็ นสีอ่ ืน ๆ ได้
2. สีขัน
้ ที่สอง (secondary colours) มี 3 สี เกิดจากการนำ า
แมูสีทัง้ 3 มาผสมกันเข้าทีละคู่ก็จะได้สีออกมาดังนี้
สีเหลือง + สีแดง > สีส้ม
สีเหลือง + สีน้ำ าเงิน > สีเขียว
สีแดง + สีน้ำ าเงิน > สีมูวง
3. สี ขั ้น ที่ ส าม (tertiary colours) เป็ นสี ที่ ไ ด้ จ ากการนำ า สี
ขั ้น ที่ 2 ผสมกั บ แมู สี ที ล ะคู่ ก็ จ ะได้ สี เ พิ่ ม ขึ้ นอี ก 6 สี คื อ ส้ ม
เหลือง ส้มแดง เขียวเหลือง เขียวนำ้ าเงิน มูวงแดง มูวงนำ้ าเงิน
4. สีกลาง (neutral colour) เป็ นสีที่เกิดจากการนำ าเอาสีทุก
สีผสมรวมกันเข้า หรือเอาแมูสีทัง้ 3 สี รวมกัน ก็จะได้สีกลาง ซึ่ง
เป็ นสีเทาแกู ๆ เกือบดำา

วงล้อสี (colour wheel)


จากสี 12 สี ในวงล้อจะแบูงออกเป็ น 2 วรรณะ คือ
- วรรณะสีอูุน (warm tone) ได้แกู สีเหลือง (ครึ่งหนึ่ ง) ส้ม
เหลือง ส้ม ส้มแดง แดง มูวงแดง และมูวง (ครึ่งหนึ่ ง)
- วรรณะสี เ ย็ น (cool tone) ได้ แ กู สี เ หลื อ ง (อี ก ครึ่ ง หนึ่ ง)
เขียวเหลือง เขียว เขียวนำ้ าเงินนำ้ าเงิน มูวงนำ้ าเงินและมูวง (อีก
ครึ่งหนึ่ ง)
สำา หรับสีเหลืองและสีมูวงนั ้น เป็ นสีที่อยู่ในวรรณะกลาง ๆ
หากอยู่ใ นกลูุมสีอูุ นก็ จะอูุ น ด้ ว ย แตู ถ้า อยู่ ใ นกลูุ มสี เย็ น ก็ จ ะเย็ น
ด้วย
จิตวิทยาของสี (colour phychology)
คือการที่สีมีอิทธิพลตูอจิตใจของมนุษย์
- สีแดง สีแหูงการโฆษณาชวนเชื่อ ตื่นเต้น เร้าใจ
- สีแดงอูอน ความประณีต ความเยือกเย็น ความหวาน
ความสุข
- สีแดงเข้ม มีอุดมคติส่ง ยิง่ ใหญู สมบ่รณ์
- สีชมพ่ สีแหูงความเป็ นหนู ุมสาว สีแหูงความรัก ความ
มัน
่ ใจ
- สีน้ำ าเงิน สีแหูงความเชื่อมัน
่ หนั กแนู น สุภาพ ถูอมตน
- สีฟ้าอูอน สีที่าบรื่น รูมเย็น
- สีเหลือง สวูางสดใส รูาเริง ร้่สึกมีรสเปรี้ยว
- สีแสด ตื่นตัวเร้าใจ สนุกสนาน
- สีมูวง สีแหูงความผิดหวัง ไมูเชื่อมัน
่ ไมูแนู นอน
เศร้า
- สีเขียวอูอน สดชื่น รูาเริง เบิกบาน
- สีเขียวแกู เศร้า ชรา เบื่อหนู าย
- สีดำา ทุกข์ เสียใจ
- สีน้ำ าตาล อับทึบ
- สีเทา เงียบสงัด ขรึม สุภาพ

• ลักษณะผิว (texture)
ลักษณะผิว หมายถึง ลักษณะของบริเวณพื้นผิวของสิ่งตูาง
ๆ เมื่ อ สั ม ผั ส จั บ ต้ อ งหรื อ มองเห็ น แล้ ว ร้่ สึ ก ได้ วู า หยาบ ละเอี ย ด
เป็ นมั น ด้ า น ขรุ ข ระ เป็ นเส้ น เป็ นจุ ด เป็ นกำา มะหยี่ เป็ นต้ น
ลักษณะผิวของวัสดุที่ใช้ในงานศิลปะีความสำาคัญตูอความงามใน
ด้านสุนทรียภาพ ลักษณะผิวจะมีความหมายทัง้ ในด้านการสัมผัส
โดยตรงและจากการมองเห็น ทำาให้เกิดความสุขทัง้ ทางกายและ
ทางใจ ลั ก ษณะผิ ว ของงานศิ ล ปะ อาจจะเป็ นลั ก ษณะผิ ว ตาม
ธรรมชาติ สามารถจับต้องได้ เชูน ลักษณะผิวของกระดาษทราย
ผิวส้ม หรือลักษณะผิวที่ทำาเทียมขึ้น ซึ่งเมื่อมองด่จะร้่สึกวูาหยาบ
หรือละเอียด แตูเมื่อสัมผัสจับต้อ งกลับ กลายเป็ นพื้ นผิ วเรีย บ ๆ
เชู น วั ส ดุ สั ง เคราะห์ ที่ ทำา ลั ก ษณะพื้ นผิ ว เป็ นลายไม้ ลายหิ น
เป็ นต้น
ความร้่สึกตูอลักษณะผิว ลักษณะผิวที่เรียบและขรุขระจะ
ให้ความร้่สึกที่แตกตูางกัน ลักษณะผิวที่เรียบจะให้ความร้่สึกลื่น
คลูองตัว รวดเร็ว สูวนลักษณะผิวทีข
่ รุขระ หยาบ หรือเน้ นเส้น
ส่งตำ่า จะให้ความร้่สึกมัน
่ คง แข็งแรง
• ชูองวูาง หรือชูวงระยะ (space)
ชูองวูาง หรือชูวงระยะ มีความหมายดังนี้
- ปริมาตรที่ร่ปทรงกินเนื้ อที่อยู่
- อากาศที่โอบรอบร่ปทรง
- ระยะหูางระหวูางร่ปทรง (ชูองไฟ)
ดังนั ้นคำาวูาชูองวูางนี้ หมายถึง ที่ที่ทำาให้เกิดร่ปรูางและที่ที่
เรามองไมูเห็นวูาเป็ นร่ปรูาง ในการเขียนภาพใดภาพหนึ่ ง ภาพที่
เขียนก็คือชูองวูางและบริเวณรอบ ๆ ของภาพก็คือชูองวูา งเชูน
กัน ชูอวูางประเภทแรกเป็ นชูองวูางที่ตัวของวัตถุเอง เรียกชูอง
วู า งนี้ วู า positive space สู ว นชู อ งวู า งรอบ ๆ ตั ว วั ต ถุ เ รี ย กวู า
negative space ในการเขี ย นตั ว หนั งสื อ space ก็ คื อ ชู อ งไฟ
ชู อ ง วู า งทั ้ ง positive space and negative space นี้ จะ ต้ อ ง
สัมพันธ์กันเป็ นอยูางดี ชูองวูางหรือชูวงระยะนี้ จะทำาให้เกิดความ
ร้่สึกหลาย ๆ อยูาง เชูน ความใกล้ ความไกล ความตูอเนื่ อง หรือ
ความขาดตอนกัน
• ลวดลาย (pattern)
ลวดลายในแตูละสิ่งล้วนแตกตูางกันมากมาย มีทัง้ ลวดลาย
ที่เกิดจากธรรมชาติ เชูน ลายไม้ หรือลายที่มนุษย์ประดิษฐ์
ขึ้น เชูน ลวดลายบนผ้าบนกระดาษ หรือลวดลายในการ
ปรุงแตูงจัดลักษณะพื้นผิวให้เกิดความสวยงามบนทางเท้า
เหลูานี้เป็ นต้น ซึ่งการสร้างลวดลายจะสร้างนผิวพื้นให้เป็ น
ร่ปตูาง ๆ ตามความนิ ยม โดยที่การจัดลวดลายนี้ ถ้าหาก
วัสดุนัน
้ มีลวดลายน้ อยเกินไปก็จะด่ไมูนูาสนใจ แตูถ้ามีมาก
เกินไปก็จะด่ยูุงเหยิง วูุนวาย
• มวล (Mass) ได้แกู พื้นที่ภายนอกของวัตถุที่เกิดจากการ
รวมตัวของเนื้ อในวัตถุ เชูน ต้นไม้มวลของหินหรือการ
รวมกลูุมของร่ปยูอย ๆ จำานวนมาก เชูน คนจำานวนมาก
ต้นจำานวนมาก รวมตัวกันเป็ นกลูุมเล็กถึงกลูุมใหญู ๆ
เป็ นกลูุม
• ปริมาตร (Volume) ได้แกู พื้นทีท
่ ี่กินระวางพื้นที่ในอากาศ
หรือบริเวณวูางของวัตถุ กำาหนดให้เห็นเป็ นร่ปทรงคือ มี
สูวนของความกว้าง ความยาว ความลึกหรือหนา มี
ลักษณะเป็ น 3 มิติ

3.2 เสียง
เสี ย งเกิ ด จากการสั ่ น สะเทื อ นของอากาศที่ เ ป็ นไปอยู า ง
สมำ่าเสมอ สูวนเสียงอึกทึกหรือเสียงรบกวน (Noise) เกิดจากการ
สัน
่ สะเทือนของอากาศที่ไมูสมำ่าเสมอ เชูน การได้ยินเสียงกรีด
ปี กของแมลง เสี ย งนำ้ าตก เสี ย งคลื่ น กระทบฝั ่ ง ตลอดจนเสี ย ง
ของมนุษย์ จำาแนกได้ดังนี้
• คลื่ นเสี ย ง (Sound Wave) ได้ แ กู การอั ด ขยายตั ว
ของเสี ย งในอากาศ เรารั บ ฟั งเกิ ด เสี ย ง ได้ ยิ น เสี ย ง
เชูน การสัน
่ สะเทือนของวัตถุ
• ระดั บ เสี ย ง (Pitch) หมายถึ ง ระดั บ ความส่ ง -ตำ่ า ของ
เสี ย ง ซึ่งเกิ ดการจำา นวนความถี่ ข องการสั ่น สะเทื อ น
กลู า วคื อ ถ้ า เสี ย งที่ มี ค วามถี่ ส่ ง ลั ก ษณะการสั ่ น
สะเทื อ นเร็ ว จะสู ง ผลให้ มี ร ะดั บ เสี ย งส่ ง แตู ถ้ า หาก
เสียงมีความถี่ต่ำา ลักษณะการสัน
่ สะเทือนช้าจะสูงผล
ให้มีระดับเสียงตำ่า
• ความเข้ ม ของเสี ย ง (Intensity) ความเข้ ม ของสี ย ง
เกี่ ย วข้ อ งกั บ นำ้ าหนั ก ของความหนั กเบาของเสี ย ง
ความเข้มของเสียงจะเป็ นคุณสมบัติที่กูอประโยชน์ ใน
การเกื้อหนุนเสียงให้มีลีลาจังหวะที่สมบ่รณ์

• ความกว้ า งของเสี ย ง (Amplitude) ได้ แ กู คลื่ น เสี ย ง


เที ย บกั บ คลื่ นที่ เ กิ ด บนผิ ว นำ้ า คื อ หากนำ้ ากระเพื่ อม
มาก คลื่นก็จะใหญูมาก
• สี สั น ของเสี ย ง (Timbre หรื อ Tone Colour) ได้ แ กู
เป็ นลักษณะเฉพาะตัวของเสียงเครื่องดนตรีและเสียง
ขั บ ร้ อ ง คุ ณ ภาพของเสี ย งจากเครื่ องดนตรี จ ะไมู
เหมื อ นกั น เชู น เสี ย งของไวโอลิ น ก็ ตู า ง จากเสี ย ง
ของทรัมเป็ ต เสียงขับร้องเชูนเดียวกัน เสีย งของผ้่
หญิ ง และเสี ย งของผ้่ ช าย คุ ณ ภาพและสี ข องเสี ย งก็
ตูางกัน
• จั ง หวะ (Rhythm) การกำา เนิ ด ของเสี ย งดนตรี ต้ อ ง
อ าศั ย เ วล าเ ป็ น สิ่ ง กำา หน ด ชู วง ระ ย ะ เว ล า อ ยู า ง
สมำ่ า เสมอ ซึ่ งเราเรี ย กวู า เคาะจั ง หวะ (Beat) องค์
ประกอบของจังหวะมี 3 อยูาง คือ
1) กลูุมเคาะ (Meter) เกิดจากการเคาะและการเน้ น
(Accent) อยูาง สมำ่าเสมอ มีอยู่ 3 กลูุม คือ
- กลูุม 2 จังหวะเคาะ
- กลูุม 3 จังหวะเคาะ
- กลูุม 4 จังหวะเคาะ
2) อัตราความเร็ว (Tempo) เป็ นการกำาหนดความช้า-
เร็ ว ของ บทเพลงขึ้ น อยู่ กั บ ผ้่ แ ตู ง เป็ นผ้่ กำา หนดขึ้ น
โดยจะกำาหนดเป็ นทัง้ ศัพท์และตัวเลข อยู่บนและตอน
ต้นของบทเพลง
ศัพท์ ตัวเลข
Largo - ช้ามาก หรือ = 60
Lento - ช้า = 108
Andente - คูอนข้างช้า = 208
Allegre - เร็ว ฯลฯ
Preato - เร็ ว มาก กำา หนดกั บ ความเคาะจั ง หวะ เรี ย กวู า
Metronorne
3) ลีลาจังหวะ (Rhythmic Pattern) เป็ นร่ปแบบของ
จังหวะที่กำาหนดขึ้นสำา หรับบทเพลง แบูงออกเป็ น 3
กลูุม
- กลูุม 2 จังหวะ (2) เป็ นลีลาจังหวะMarch
- กลูุม 3 จังหวะ (3) เป็ นลีลาจังหวะ Waltz, Quick
Waltz
ประเภทของเสียง
เสียงที่เรารับร้่โดยการได้ยินได้ฟังมี 2 ประเภท
1) เ สี ย ง ที่ ไ มู มี ร ะ บ บ แ นู น อ น (Non-Conventional
Sound) เป็ นเสียงที่ อึกทึกไมูมีความหมายหรือความไพเราะ ซึ่ง
เกิดจากมนุษย์ สัตว์ สิ่งของ และปรากฏการณ์ธรรมชาติ เชูน
เสียงรถ เสียงฟ้ าร้องฟ้ าผูา เป็ นต้น
2) เสี ย งที่ มี ร ะบบแนู นอน (Conventional Sound) เป็ น
เสี ย งที่ มี ร ะบบและโครงสร้ า งโดยเฉพาะได้ แ กู เสี ย งภาษาและ
เสี ย งดั งดนตรี ซึ่งมี อ งค์ ป ระกอบที่ สำา คั ญ เป็ นสื่อ ถู า ยทอดความ
หมาย ความไพเราะ อารมณ์ และความร้่สึกได้

3.3 การเคลื่อนไหว (Movement)


คือการเปลี่ยนแปลงกริยาเชื่อมตูอระหวูางของสองสิ่งหรือ
ลีลาพลิ้วไหวในตัวเองของสิ่งใดสิ่งหนึ่ ง เชูน การเคลื่อนไหวของ
ธรรมชาติจำาแนกได้ดังนี้
• การเคลื่อนไหวด้วยกิริยาทางกายภาพ เชูน การเดิน การวิ่ง
การเอียงตัว บิดตัว เป็ นต้น
• การเคลื่อ นไหวเชื่ อมตู อระหวูา งของสองสิ่ ง หรือ หลาย ๆ
สิ่ง ทีม
่ ีลักษณะตูอเนื่ องเกี่ยวข้องเป็ นจังหวะ
• การเคลื่อนไหวตามการเปลี่ยนแปลงของแสงสวูาง มืด สลับ
สั บ เปลี่ ย น ทำา ให้ ส ายตาจั บ ภาพกลั บ ไปกลั บ มาร้่ สึ ก ภาพ
เคลื่อนที่
• การเคลื่ อ นไหวเนื่ องจากตำา แหนู ง เลื่ อ นไหล เชู น สิ่ ง ของ
เคลื่อนตามสายนำ้ าจากจุดหนึ่ งไปสู่จุดหนึ่ ง
• การเคลื่อ นไหวที่วู างสัมพัน ธ์กับเวลา (Space and Time)
เป็ นการเคลื่อนไหวบอกทิศทาง ได้แกู การเรียงลำาคับความ
ช้ า ไปสู่ ค วามเร็ ว การเริ่ ม ต้ น ไปสู่ จุ ด หมายปลายทาง เชู น
นกบิ น ลมพั ด ก้ อ นเมฆ การไหลของนำ้ า ของตกจากที่ ส่ ง
การเคลื่อนไหวของเปลวไฟ ฯลฯ
• การเคลื่ อ นไหวในกฎเกณฑ์ ข องจั ก รวาล เป็ นการเคลื่ อ น
ของสิ่งของที่มีน้ำ าหนั กตกจากที่ส่งลงมาในที่ตำา และเคลื่อน
ในแนวดิ่ง การเคลื่อนไหวของแกนกลาง วิ่งเข้าหาแกน วิ่ง
ออกจากแกน
การมองลี ล าการเคลื่ อนไหว จะต้ อ งมี ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ
ทู ว งทู า ทั ้ง นี้ เ พื่ อ จะนำ า มาซึ่ ง ความร้่ สึ ก กู อ ให้ เ กิ ด ความสนุ ก
เพลิ ด เพลิ น อั น เป็ นที่ ม าของความงามทางนาฏศิ ล ป์ และการ
แสดง

คุณค่าความงามในธรรมชาติ
ความงามของธรรมชาติ เ ป็ นความงามที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง เป็ น
สมบั ติ ข องธรรมชาติ เชู น เนื้ อของธรรมชาติ กิ ริย าอาการของ
ธรรมชาติ ความคล้ า ยคลึ ง และการรวมตั ว เป็ นเอกภาพของ
ธรรมชาติ และความเข้ ม ข้ น ที่ เ กิ ด จากความแตกตู า งของ
ธรรมชาติ เป็ นต้น เราอาจจะเกิดความประทับใจในคุณสมบัติของ
ธรรมชาติ บ างขณะ และเมื่ อกาลเวลาผู า นไป ความประทั บ ใน
คุ ณ สมบั ติ นั้ น อาจจะเปลี่ ย นไป แตู ค วามจริ ง คุ ณ สมบั ติ ข อง
ธรรมชาติ ต รงนั ้ น มิ ไ ด้ เ ปลี่ ย นไป เราควรจะเข้ า ใจวู า เนื้ อของ
ธรรมชาติก็ดีกิ ริยาธรรมชาติก็ดี เป็ นสมบัติสุนทรียะเฉพาะของ
วัตถุ ต้นไม้ และวัตถุทุกชนิ ดที่ปล่กหรือวางในบริเวณสูวนยูอม มี
ผิวพรรณ มีสัดสูวน มีขนาด ร่ปรูาง ร่ปทรง ล้วนแตูนูามอง นั ่น
เพราะวูา คุณสมบัติของธรรมชาติแลวัตถุมีองค์ประกอบด้านตูาง
ๆ ดังนี้
• ความสมบ่ ร ณ์ ได้ แ กู ลั ก ษณะอั ต ราความเจริ ญ เติ บ โต
การเจริญพันธ์ุของพรรณไม้เป็ นอยูางดี ประกอบกับการ
ด่ แ ลบำา รุ ง รั ก ษาให้ ต้ น ไม้ ส มบ่ ร ณ์ ไมู ท รุ ด โทรม หรื อ
คุณคูาของวัตถุที่มีลวดลาย สีสันผิวพื้นที่ปราศจากตำาหนิ
และรักษาด่แลให้คงที่เป็ นเวลายาวนานที่สุด
• กิริยาอาการ จากสูวนประกอบยูอย ด้านร่ปรูาง หน้ าตา
แววตา ที่แ สดงออกโน้ มนาวให้ เกิ ดความสนใจ พูุงตรง
ไปยั ง กิ ริ ย าบางอยู า งของสิ่ ง เป็ นธรรมชาติ นั้ น ได้ แ กู
กิ ริ ย าของธรรมชาติ กำา ลั ง เคลื่ อนไหวด้ ว ยกิ ริ ย าทาง
กายภาพ หรือเคลื่อนไหวด้วยความเปลี่ยนแปลงของสิ่ง
รอบข้างของกายภาพ เชูน แสง เงา ตำา แหนู งที่เป็ นเดูน
ไมูเป็ นเดูน ความหนาแนู นของมวลอากาศ เป็ นต้น
• ความเป็ นระเบี ย บ เรี ย งรายเป็ นลำา ดั บ ลดหลั ่ น เป็ น
จั งหวะ ในลั กษณะถดถอย ก้ า วหน้ า เป็ นแถวเป็ นแนว
ให้ความร้่สึกเรียบร้อย ไมูสะดุดตาตรงสูวนใดสูวนหนึ่ ง
เชู น กลูุ ม ต้ น หมากแดง มี ต้ น แมู อ ยู่ ใ นตำา แหนู ง กลาง
แตกแขนงแผู ข ยายตอรอบต้ น แมู ลดหลั ่ น ความส่ ง
ขนาด เป็ นลำาดับ เป็ นต้น
• ความสดใสสะพรั ่ ง ของชู ว ยระยะอิ่ ม ตั ว ให้ ค วามร้่ สึ ก
สดชื่ น ตื่ น ตา เชู น ดอกไม้ ท อดดอกขยายกลี บ สี ส ดใส
บางสะพรัง่ อยู่ในชูวงระยะหนึ่ ง เป็ นต้น
• ความยิ่งใหญู ความงามของธรรมชาติ เป็ นสิ่งที่ทำาให้เกิด
ความนู า ทึ่ ง มี อำา นาจดึ ง ด่ ด ให้ ค วามร้่ สึ ก เทู ห์ สงู า นู า
เกรงขาม นู ารักนู าชัง อบอูุน หนาวเหน็ บ เชูน ความยิ่ง
ใหญูของภ่เขา ต้นไม้ใหญู ล่กสุนัขพันธ์ุตูาง ๆ เป็ นต้น

คุณค่าความงามในศิลปะ
ความงามของศิลปะ เป็ นสิ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์ข้ ึนจากแรง
บั น ดาลใจที่ ไ ด้ จากธรรมชาติ แ ละสิ่ งแวดล้ อ ม ซึ่ ง มี เ กณฑ์ ค วาม
งามที่ควรพิจารณาด้านตูาง ๆ ดังนี้
• ต้องให้คุณคูาความเพลิดเพลิน ความงามในศิลปะมาจาก
ความเพลิดเพลิน เพราะความงามโดยไมูเอาความจำาเป็ น
อื่นใดเข้าไปตำาหนิ เป็ นเกณฑ์ตัดสิน วิพากษ์วิจารณ์ หรือ
พลังบางชนิ ดเกี่ยวกับความงาม สูงออกมาปะความร้่สึก
ครัง้ แรก เชูน เมื่อเราได้ยินเสียงเพลงทำาให้เราเกิดความ
ว่บวาบและชอบขึ้นในความร้่สึกลึก ๆ แล้วคูอยเอูอล้น
ออกมาแทบทะลักทลายอยูางไร้เหตุผล ประดุจการมอง
ผลงาน ศิลปกรรมแบบไร้เดียงสาของเด็ก เป็ นต้น
• สามารถค้นหาคุณคูาความงามตามระบบเหตุผ ลเชิ งกฏ
เกณฑ์ได้ เชูน ความถ่กต้อง แมูนยำา แจูมชัด กลมกลืน
ของประติ ม ากรรมกรี ก ทู า รำา มาตรฐานของนาฏศิ ล ป์
และการเรียบเรียงเสียงประสานตามกฏเกณฑ์ทางดนตรี
เป็ นต้น
• ต้องร้่จักมองและเลือกเน้ นลักษณะเดูน ซึ่งมีเสนู ห์ดึงด่ด
ใจ ทำาให้เกิดการหยัง่ ร้่ที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น เชูน ร่ปรูางหน้ าตา
ของภาพบุคคลในงานศิลปกรรม สามารถโน้ มน้ าวจิตใจ
ให้คล้อยตาม คือ เพูงมองเค้าเงื่อนของคุณสมบัติตูาง ๆ
ซึ่งแสดงถึงรายละเอียดและลักษณะนิ สย
ั ที่สำาคัญ
• คุ ณ คู า ทางเทคนิ ค เป็ นคุ ณ คู า ของการใช้ วั ส ดุ เ ครื่ อ งมื อ
ตูาง ๆ ที่นำามาใช้สร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรม เชูนความ
งามจากการทอผ้ า ไหมของไทย การใช้ แ สง สี เสี ย งใน
เทคนิ คทางนาฏศิลป์ หรือการใช้อีเลคโทรนิ คทางดนตรี
เข้าชูวยในการบรรเลงดนตรั
• คุ ณ คู า ขององค์ ป ระกอบทางศิ ล ปะที่ มี อ ยู่ ใ นงานศิ ล ปะ
เชูน จังหวะของเส้น ปริมาตรของร่ปทรง ระยะที่เว้นวูาง
แสง เงาและสี หรือลีลา จังหวะและทำานองเพลงเป็ นต้น
• ความละเอี ย ด ประณี ต ผลงานศิ ล ปกรรมจะต้ อ งแสดง
ความละเอี ย ด ประณี ต เชู น ได้ ค วามร้่ สึ ก วู า ใช้ เ ส้ น
ละเอียด พิถีพิถัน แนบเนี ยน เป็ นต้น

จากเกณฑ์ ที่ ก ลู า วมา ความงามทางด้ า นศิ ล ปกรรมเป็ น


ความสำา นึ กในคุณคูาทางความงามที่ศิลปิ นนำ า มาแสดงออก และ
สร้ า งสมสื บ ทอดตู อ เนื่ องเป็ นมรดกทางชาติ ตู อ ๆ มา ฉะนั ้ น
ประสบการณ์ ด้า นความงามที่ ไ ด้ จ ากการสั มผั ส รั บ ร้่ จึงขึ้ น อยู่ กับ
คุ ณ คู า ทางศิ ล ปะที่ ผ้่ ส ร้ า งหรื อ ศิ ล ปิ น ถู า ยทอดโดยสั ม พั น ธ์ กั บ
รสนิ ยมของผ้่รับร้่เป็ นสำาคัญ

You might also like