You are on page 1of 17

1

วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์
(ใช้สอนนั กศึกษาสาขา printing สาขาคหกรรม และนั กศึกษาคณะ
วิทยาศาสตร์บางสาขา ภาค 2/2551)

คงไม่มีใครปฏิเสธว่า คอมพิวเตอร์เข้ามาเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำาวัน
ของทุก ๆ คน ช่วยให้การทำางานเป็ นไปอย่างรวดเร็วและสะดวกขึ้น
คอมพิวเตอร์ท่ีใกล้ชิดกับเรามากที่สุดคือ ไมโครคอมพิวเตอร์ หรือ
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล PC เราจะเรียนร้้เรื่องสถาปั ตยกรรม ซอฟต์แวร์
ความก้าวหน้าของไมโครคอมพิวเตอร์
กล่าวโดยทัว่ ไป คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ท่ีทำางานตาม
ชุดคำาสัง่ อย่างอัตโนมัติ โดยจะทำาการคำานวณข้อม้ล เปรียบเทียบตรรกะของ
ข้อม้ล และให้ผลลัพธ์ออกมาตามที่กำาหนด
2.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ในสมัยโบราณได้มีการคิดค้นเครื่องมือต่าง ๆ เพื่อช่วยให้การคำานวณ
ทำาได้อย่างรวดเร็วและถ้กต้อง เครื่องช่วยคำานวณเครื่องแรก คือล้กคิด
(Abacus) ประดิษฐ์โดยชาวจีน กล่าวกันว่ามีการใช้ล้กคิดมากกว่า 7,000 ปี
ค.ศ. 1614 นั กคณิ ตศาสตร์ ชาวสก็อต ชื่อจอห์น เนเปี ยร์ (John
Napier) ได้คิดอุปกรณ์ท่ีช่วยในการคำานวณ มีลักษณะคล้ายกับตารางส้ตรค้ณ
ในปั จจุบัน เรียกว่า เนเปี ยร์โบน (Napier's bones) อุปกรณ์ช้ ินนี้ ทำามาจาก
กระด้ก แบ่งออกเป็ นแท่งตัวเลขหลาย ๆ แท่ง ดังร้ป
2

ร้ป 2.1 Napier’s bone และ John Napier


ค.ศ. 1642 เบลส์ ปาสคาล (Blaise Pascal) ชาวฝรัง่ เศส ได้
ออกแบบเครื่องคำานวณที่ทำาการทดได้ด้วยตนเอง นั บได้ว่าเป็ นพื้ นฐานใน
เครื่องคิดเลขแบบใช้ฟันเฟื องซึ่งระบบนี้ ถ้กนำา
มาใช้เป็ นหลักในการประดิษฐ์เครื่องคิดเลขรุ่น
ต่อมา

ร้ป 2.2 เครื่องคำานวณ pascaline และ Blaise Pascal


ค.ศ. 1822 ชาร์ล แบบเบจ (Charles Bavvage) นั กคณิ ตศาสตร์ชาว
อังกฤษ จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้ประดิษฐ์เครื่องคำานวณ เรียกว่า
เครื่องหาผลต่าง (Difference Engine) สำาหรับใช้ในการคำานวณ และพิมพ์ค่า
ตารางทางคณิ ตศาสตร์ เพื่อที่จะใช้แก้สมการแบบโพลีโนเมียล (Polynomial)
ต่อมา เขาได้พยายามสร้างเครื่องคำานวณอีกชนิ ดหนึ่ ง เรียกว่า เครื่อง
วิเคราะห์ (Analytic Engine) โดยมีหลักการทำางานแบ่งออกเป็ น 3 ส่วน คือ
ส่วนที่ใช้เก็บข้อม้ล ส่วนที่ทำาหน้าที่ควบคุมการทำางานให้เป็ นอัตโนมัติ และ
ส่วนที่ทำาหน้าที่ในการคำานวณ หลักการและแนวความคิดนี้ นำามาใช้สร้าง
เครื่องคอมพิวเตอร์ในปั จจุบัน ดังนั้ น ชาร์ล แบบเบจ จึงได้รบ
ั ยกย่องว่าเป็ น
บิดาแห่งเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็ นเรื่องที่นา่ เสียดายที่ไม่สามารถสร้างเครื่อง
3

วิเคราะห์ให้สำาเร็จได้ เพราะเทคโนโลยีสมัยนั้ นไม่สามารถสร้างชิ้นส่วนที่เล็ก


และประณี ตขนาดนั้ นได้

ร้ป 2.3 เครื่องหาผลต่าง และ ชาร์ล แบบเบจ

ค.ศ. 1842 สุภาพสตรีชาวอังกฤษซึ่งเป็ นนั กคณิ ตศาสตร์ช่ ือ เอดา


ออกุสตา (Ada Augusta) เป็ นผ้ท
้ ่ีเข้าใจหลักการทำางานของเครื่องที่ ชาร์ล
แบบเบจ สร้างขึ้นเป็ นอย่างดีได้เขียนวิธีการใช้เครื่องนี้ เพื่อแก้ปัญหาทาง
คณิ ตศาสตร์ โดยได้ค้นพบว่าสามารถนำาชุดบัตรเจาะร้ท่ีบรรจุคำาสัง่ มาใช้ซ้ ำาได้
เมื่อเราต้องการกระทำาชุดคำาสัง่ นั้ นซำ้าอีก ซึ่งหลักการดังกล่าวเข้ากับลักษณะ
การวนล้ป (loop) และการใช้ร้ทีนย่อย (subroutine) นั่นเอง ดังนั้ นเอตา ออ
กุสตา จึงได้รบ
ั ยกย่องว่าเป็ น โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คนแรก ของ
โลก มีภาษาคอมพิวเตอร์เก่าแก่ภาษาหนึ่ งชื่อ Ada นำามาจากชื่อของหญิงคน
นี้ นั ่นเอง
ค.ศ. 1854 นั กคณิ ตศาสตร์ชาวอังกฤษชื่อ George Boole ได้
คิดค้นพีชคณิ ตบ้ลลีน (Boolean Algebra) เป็ นคณิ ตศาสตร์ท่ีใช้ “จริง” และ
“เท็จ” ในการอธิบายเหตุผลทางตรรกะเท่านั้ น มีประโยชน์มากต่อการ
ออกแบบวงจรทางอิเล็กทรอนิ กส์และทางตรรกวิทยาของเครื่องคอมพิวเตอร์
ในปั จจุบันด้วย เพราะจะใช้สภาวะทางไฟฟ้ า “เปิ ด” และ “ปิ ด” เป็ นข้อม้ล
4

ต่าง ๆ ที่ใช้ในการประมวลผลคอมพิวเตอร์
ค.ศ. 1880 ดร.เฮอร์แมน ฮอลเลอริช (Dr.Herman Hollerith) ชาว
อเมริกันได้ประดิษฐ์เครื่องประมวลผลทางสถิติ ซึ่งใช้กับบัตรเจาะร้ในการ
เก็บข้อม้ล และต่อมาเครื่องนี้ ก็ได้รบ
ั การพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นและได้นำามาใช้ใน
การประมวลผลข้อม้ลในการสำารวจสำามะโนประชากรของสหรัฐอเมริกา ในปี
ค.ศ 1890 บัตรที่ ดร.เฮอร์แมน ฮอลเลอริช คิดขึ้นนี้ เรียกว่าบัตรฮอลเลอ
ริช หรือบัตรเจาะร้ หรือบัตร 80 คอลัมน์ บางทีเรียกว่า ไอบีเอ็มการ์ด
เพราะบริษัทไอบีเอ็ม เป็ นผ้ผ
้ ลิตการ์ดชนิ ดนี้
ถ้าจะด้จากความก้าวหน้าของชิ้นส่วนที่นำามาสร้างเป็ นคอมพิวเตอร์
เราสามารถแบ่งพัฒนาการของคอมพิวเตอร์ออกเป็ น 5 ยุคดังนี้
ยุคที่ 1 หลอดสูญญากาศ The First Generation) ปี ค.ศ. 1942 -
1958
คอมพิวเตอร์ในยุคแรกนี้ ใช้หลอดส้ญญากาศในวงจรอิเล็กทรอนิ กส์
ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำาให้ต้องการกำาลังไฟฟ้ าเลี้ยงวงจรที่มีปริมาณมาก
และทำาให้มีความร้อนเกิดขึ้นมากจึงต้องติดตั้งเครื่องในห้องปรับอากาศ
ความเร็วในการทำางานเป็ นวินาที เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่ สื่อที่ใช้ใน
การเก็บข้อม้ล คือ บัตรเจาะร้
ภาษาคอมพิวเตอร์ท่ีใช้ในการเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมการทำางาน คือ
ภาษาเครื่องซึ่งเป็ นภาษาที่ใช้รหัสเลขฐานสอง
ค.ศ. 1944 ดร.เฮาเวิร์ด เอเคน (Dr. Howord Aiken) ได้ร่วมกับ
วิศวกรของบริษท
ั ไอบีเอ็ม จำากัด ได้สร้างเครื่องคำานวณตามที่ แบบเบจ ได้
ออกแบบไว้เป็ นผลสำาเร็จให้ช่ ือว่า IBM Automatic Sequence Controlled
Calculator ( ASCC ) หรือ Mark I เป็ นเครื่องขนาดใหญ่มากเป็ นส่วน
ประกอบเครื่องจักรกลผสมกับไฟฟ้ า นำาข้อม้ลเข้าโดยใช้บัตรเจาะร้ Mark I
ยังไม่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่แท้จริง เป็ นเพียงเครื่องคิดเลขไฟฟ้ าหรือ เครื่อง
คำานวณอัตโนมัติเครื่องแรกของโลก
ค.ศ. 1942 -1946 จอห์น มอชลี ( John Mauchy ) และเปรสเปอร์
เอคเคิร์ท ( Presper Eckert) ได้ร่วมกันสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์
5

อิเล็กทรอนิ กส์เครื่องแรกมีช่ ือว่า อีนีแอค ENIAC ( Electronic Numerical


Integer and Calculator ) เป็ นเครื่องคำานวณอิเล็กทรอนิ กส์เครื่องแรกที่ใช้
หลอดสุญญากาศ จำานวน 18,000 หลอด จึงต้องใช้กำาลังไฟฟ้ าค่อนข้างมาก
มีปัญหาเรื่องความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย ๆ ต้องวางไว้ในห้องปรับ
อากาศ
ค.ศ. 1945 ดร.จอห์น ฟอน นิ วแมนน์ (Dr.John Von Neumann)
ได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถเก็บคำาสัง่ และข้อม้ลทั้งหมดไว้ในหน่วย
ความจำาของเครื่องจากแนวความคิดของนิ วแมนน์ เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ได้
รับการพัฒนาเพิ่มขึ้นมีช่ ือว่า EDVAC (Electronic Discrete Variable
Automatic Computer) และต่อมาในปี ค.ศ. 1952 ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์
ประเทศอังกฤษได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์คล้ายกับ EDVAC โดยให้ช่ ือว่า
EDASC (Electronic Delayde Storage Automatic Computer) ซึ่งอาจถือ
ได้ว่าเครื่อง EDVAC และ EDSAC เป็ นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลก

ร้ป 2.4 ซ้ายมือคือ ENIAC ร้ปขวามือคือ UNIVAC

ค.ศ. 1951 มอชลี และ เอคเคิรท์ ได้ออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์ที่


ใช้ในงานธุรกิจเป็ นเครื่องแรกของโลก ชื่อว่า ยูนิแวค 1 UNIVAC I
(Universal Automatic Computer I) เป็ นการผลิตคอมพิวเตอร์เพื่อขายหรือ
เช่าเป็ นเครื่องแรก
ประเทศไทยเริม
่ มีการนำาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้เป็ นครั้งแรกในยุคนี้
ในปี พ.ศ. 2506 คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ IBM 1620 โดยได้รบ
ั มอบจาก
6

ม้ลนิ ธิ เอ ไอ ดี และ บริษัท IBM ซึ่งติดตั้งที่ภาควิชาสถิติ คณะพาณิช


ยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งปั จจุบันหมดอายุการใช้
งานนำาไปเก็บรักษาไว้ที่ศ้นย์บริภัณฑ์การศึกษาท้องฟ้ าจำาลอง กรุงเทพฯ

ยุคที่ 2 ทรานซิสเตอร์ (The Second Generation) ปี ค.ศ. 1959 -


1964
ใช้ทรานซิสเตอร์แทนหลอดสุญญากาศ ทรานซิสเตอร์มีขนาดเล็ก
กว่าหลอดสุญญากาศ 200 เท่า ทำาให้เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง กิน
3
ไฟน้อยลง ราคาถ้กทำางานได้เร็วขึ้น ความเร็วในการทำางานเท่ากับ 1/10
วินาที (มิลลิวินาที) และได้ผลลัพธ์ท่ีถ้กต้องมากกว่าใช้หลอดสุญญากาศ
และได้มีการสร้างวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic core) เป็ นหน่วยความจำา
ภายใน มีการสร้างเทปแม่เหล็กมาใช้งาน ซึ่งใช้ในการเก็บข้อม้ลและชุดคำาสัง่
ภาษาคอมพิวเตอร์ท่ีใช้เขียนโปรแกรมในยุคที่ 2 นี้ คือ ภาษาแอสแซมบลี
(Assembly) ซึ่งเป็ นภาษาที่ใช้สัญลักษณ์แทนคำาสัง่ ต่าง ๆ และภาษาระดับ
ส้ง ได้แก่ FORTRAN (Formula Translator), COBOL (Common
Business Oriented Language) ในยุคนี้ ได้มีการสร้างคอมพิวเตอร์ระดับ
Mainframe computer เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ เช่น IBM 1620,IBM
401, Honeywell

ยุคที่ 3 วงจรรวม (The Third Generation) ปี ค.ศ. 1965 - 1970


ได้มีการนำาวงจรรวม หรือ เรียกว่าไอซี (IC : Integrated Circuit) ซึ่ง
เป็ นวงจรอิเล็กทรอนิ กส์ท่ีถ้กบรรจุลงในแผ่นซิลิคอน (silicon) บาง ๆ ที่
เรียกว่า ซิป (Chip) ในชิปแต่ละตัวจะประกอบด้วยทรานซิสเตอร์หลายพัน
ตัว จึงทำาให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงกว่าเดิมแต่ความเร็วในการทำางานส้ง
ขึ้น ความเร็วในการทำางานเป็ นไมโครวินาที กินไฟน้อยลง ความร้อนลดลง
ประสิทธิภาพในการทำางานเพิ่มขึ้น ตัวอย่างคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ ได้แก่ IBM
360 เป็ นหนึ่ งในคอมพิวเตอร์ท่ีใช้วงจรรวมที่สามารถทำางานได้ท้ ังการ
ประมวลผลแฟ้ มข้อม้ล และวิเคราะห์ค่าทางคณิ ตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ชื่อ
PDP1 เป็ น มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) ของบริษัท DEC (Digital
7

Equipment Corporation) เป็ นที่นิยมใช้กันแพร่หลายโดยเฉพาะในกลุ่มของ


นั กวิทยาศาสตร์ นั กวิศวกร และนั กวิจัยตามมหาวิทยาลัย ภาษาที่เกิดขึ้นใส
ยุคนี้ ได้แก่ PL/1 , RPG , BASIC

ยุคที่ 4 VLSI (The fourth Generation) ปี ค.ศ. 1971 - ปั จจุบัน


ในยุคนี้ ได้มีการพัฒนาเอาวงจรรวมหลาย ๆ วงจรมารวมเป็ นวงจร
ขนาดใหญ่ เรียกว่า VLSI (Very Large Scale Integration) ลงในชิปแต่ละ
อัน ทำาให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง จนตั้งไว้ท่ีโต๊ะได้ เรียกว่า ไมโคร
คอมพิวเตอร์ นำาไปส่้การเป็ นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ที่เรียกว่า PC หรือ
Personal Computer) บริษัทอินเทล (Intel) ได้สร้างชิป VLSI โดยนำาหน่วย
ควบคุม(Control Unit) และ หน่วยคำานวณและตรรก (Arithmetic / Logic
Unit)รวมไว้ในชิปตัวเดียวกัน เรียกว่า ไมโครโปรเซสเซอร์
(Microprocessor) ใช้ในเครื่องพีซี ในยุคนี้ ได้มีการสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์
ทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ได้แก่ ไมโครคอมพิวเตอร์ มินิ
คอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ และซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะ
เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ได้รบ
ั ความนิ ยมมากเพราะมีขนาดเล็ก กระทัดรัด
และราคาถ้กแต่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ทำางานเร็วขึ้น ความเร็วในการทางาน
เป็ น นาโนวินาทีและ พิโควินาที ภาษาคอมพิวเตอร์ท่ีเกิดในยุคนี้ ได้แก่
ภาษา C , Pascal
ยุคที่ 5 (Th Fifth Generation) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 ขึ้นไป
ยุคที่ 5 นี้ มีการใช้คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะไมโครคอมพิวเตอร์ มีขีด
ความสามารถมากขึ้น สามารถทำางานหลายงาน ๆ ได้พร้อมกัน
(Multitasking) นำาคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงเป็ นเครือข่ายในองค์กร และ
ระหว่างประเทศ แล้วนำาเชื่อมต่อกับเครือข่ายสากลที่เรียกว่า Internet มี
การริเริม
่ ที่จะสร้างคอมพิวเตอร์ให้มีสติปัญญาเหมือนมนุ ษย์ ทำาให้เกิด
วิทยาการ สาขาปั ญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) นอกจากนี้ มี
การตื่นตัวในการจัดเก็บข้อม้ลเป็ นระบบฐานข้อม้ล (Database) การนำา
คอมพิวเตอร์มาใช้กับงานทางด้านกราฟิ ก และมีการพัฒนาซอฟต์แวร์
8

(Software) เพื่อใช้กับงานเฉพาะอย่าง เช่น งานบัญชี งานสต็อกสินค้า งาน


บุคลากร มีการพัฒนาอุปกรณ์ส่ ือสาร เช่น เครื่องปาล์ม (Palm) , Pocket
PC, และโทรศัพท์มือถือที่สามารถติดต่อถึงกันได้
จากวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์จะเห็นได้ว่า คอมพิวเตอร์มีท้ ัง
ประเภท Mainframe , supercomputer , minicomputer, ไมโคร
คอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ซึ่งยังแจกแจงเป็ นเครื่องประเภท
ตั้งโต๊ะ(desktop) แบบโน้ตบุค( Notebook), Pocket PC เป็ นคอมพิวเตอร์
แบบพกพาเช่นเดียวกับโน้ต บุค แต่มีขนาดเล็กและ
เบากว่ามาก เหมาะสำาหรับ ผ้ท
้ ่ีเดินทางบ่อย ๆ ,
Palm มีขนาดเล็กนำ้าหนั ก เบา ใช้ในงานเฉพาะ
อย่าง เช่น เป็ น Organizer ที่ใช้เป็ นสมุดจดบันทึก
ประจำาวัน กำาหนดการ พจนานกรม สมุด
โทรศัพท์ รับส่งอีเมล์ หรือ เก็บข้อม้ลเฉพาะอย่าง,
Tablet PC กำาลังทยอยออก ส่้ตลาด ใช้จดบันทึก
ข้อความ ตารางนั ดหมาย โดยใช้หน้าจอเป็ นเสมือนกระดาษจดบันทึก

องค์ประกอบของไมโครคอมพิวเตอร์
เราสามารถแบ่งคอมพิวเตอร์ออกเป็ น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือส่วนที่เป็ น
ฮาร์ดแวร์ ได้แก่ส่วนประกอบของตัวเครื่อง ที่สามารถจับต้องได้ เช่น
จอภาพ เครื่องพิมพ์ เทป แป้ นพิมพ์ ดิสก์ หรือแม้แต่วงจรไฟฟ้ าในตัว
เครื่อง ฯลฯ และส่วนที่เป็ นซอฟต์แวร์ซึ่งเป็ นกลุ่มของคำาสัง่ ซึ่งเรียกว่า
โปรแกรม เพื่อสัง่ ให้คอมพิวเตอร์ทำางาน ทั้งสองส่วนนี้ จะต้องทำางานร่วมกัน
9

จะขาดส่วนใดส่วนหนึ่ งมิได้เลย เนื่ องจากคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทำางาน


โดยลำาพังในบางครั้งเราอาจรวมองค์ประกอบทางด้านบุคลากร (Personnel)
และองค์ประกอบทางด้านข้อม้ล (data) รวมเข้าไปด้วย เพื่อที่จะสะดวก
ในการอธิบายการทำางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ในตอนต่อไป จึงแบ่งองค์
ประกอบของคอมพิวเตอร์ออกเป็ นชั้น ๆ ดังนี้

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์เมื่อแบ่งเป็ น layer

ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึงส่วนประกอบของตัวเครื่องที่เราสามารถ


จับต้องได้ จะสามารถแบ่งส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ออกได้เป็ น 3 หน่วยที่
สำาคัญ ดังนี้
10

ร้ป 2.6 องค์ประกอบในส่วนที่เป็ นฮาร์ดแวร์

1. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU หรือ Central Processing Unit)


หรือเรียกสั้น ๆ ว่า processor มีหน้าที่ควบคุมการทำางานของระบบและ
ปฏิบัติงานตามคำาสัง่ ที่ปรากฏอย่้ในโปรแกรม เปรียบได้กับสมองของมนุ ษย์
ที่ทำาหน้าที่คิด และควบคุมการทำางานของทุกส่วนของร่างกาย เป็ นส่วนที่
สำาคัญที่สุดของเครื่องคอมพิวเตอร์ หน่วยนี้ จะประกอบด้วยหน่วยย่อย ๆ
อีก 2 หน่วย ได้แก่ หน่วยคำานวณเลขคณิ ต และตรรกวิทยา (ALU หรือ
Arithmetic and Logical Unit) และ หน่วยควบคุม (CU หรือ Control
Unit)
2. หน่วยความจำา (Memory Unit) ทำาหน้าที่เก็บโปรแกรมหรือข้อม้ล
ที่รบ
ั มาจากหน่วยรับข้อม้ล เพื่อเตรียมส่งให้หน่วยประมวลผลกลางทำาการ
ประมวลผล และรับผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล เพื่อเตรียมส่งออก
หน่วยแสดงข้อม้ลต่อไป หน่วยความจำาแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
2.1 หน่วยความจำาหลัก (Main memory) ทำาหน้าที่ร่วมกับซีพีย้ จะ
เก็บข้อม้ลที่สำาคัญ มีท้ ังเก็บแบบถาวรและแบบชัว่ คราว ได้แก่
- หน่วยความจำาแรม (RAM : Random Access Memory) จะใช้เก็บ
ข้อม้ลชัว่ คราว เมื่อปิ ดเครื่องข้อม้ลในหน่วยความจำาเหล่านี้ จะหายไป
- หน่วยความจำารอม (ROM : Read Only Memory) จะเก็บข้อม้ล
แบบถาวร จะเก็บข้อม้ลที่สำาคัญและไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ รวมทั้งทำา
หน้าที่เป็ นส่วนของ BIOS ของเครื่องด้วย
- แคช (Cache) เป็ นหน่วยความจำาที่สร้างไว้ใกล้กับซีพีย้ ใช้เก็บ
ข้อม้ลที่ซีพีย้มีการเรียกใช้บ่อยครั้งมาก เพื่อทำาให้เครื่องทำางานอย่างมี
ประสิทธิภาพ
11

- หน่วยความจำาเสมือน (Virtual Memory) เป็ นการนำาพื้ นที่ของ


ฮาร์ดดิสก์มาใช้เก็บข้อม้ลล่วงหน้าในระหว่างการทำางาน เพื่อรอส่งให้ RAM
ได้ทันที่เมื่อต้องการใช้ข้อม้ลนั้ น
2.2 หน่วยความจำาสำารอง (Secondary Storage) ทำาหน้าที่เก็บ
ข้อม้ลที่จะป้ อนเข้าส่้หน่วยความจำาหรือโปรแกรมต่าง ๆแบบถาวร รวมทั้ง
เป็ นแหล่งเก็บผลลัพธ์จากการประมวลผลด้วย เพื่อการใช้งานในภายหลัง
เช่น ฮาร์ดดิสก์ ฟลอปปี้ ดิสก์ แผ่นซีดรี อม ฯ ในกรณี ท่ีเป็ นฟลอปปี้ ดิสก์
หรือ ฮาร์ดดิสก์ เราสามารถแก้ไขและบันทึกลงไปใหม่ได้
3. อุปกรณ์รบ
ั ข้อม้ล /แสดงผล (Input / Output Devices) แบ่งออก
เป็ น 2 ประเภทดังนี้
3.1 อุปกรณ์รบ
ั ข้อม้ล (Input devices) ทำาหน้าที่ในการรับโปรแกรม
และข้อม้ลเข้าส่้คอมพิวเตอร์ ตัวอย่างของอุปกรณ์ท่ีใช้รบ
ั ข้อม้ลเข้าได้แก่
แป้ นพิมพ์หรือคีย์บอร์ด (Keyboard) เครื่องสแกนต่าง ๆ เช่นเครื่องร้ดบัตร
สแกนเนอร์ เมาส์ เครื่องขับจานแม่เหล็ก (floppy diskdrive), Touch
Screen, Trackball, Joystick, Light pen, Digital Camera, Optical
Character Reader(OCR), Bar code reader , Magnetic Stripes เป็ นเครื่อง
อ่านบัตรแม่เหล็กที่ใช้ในการเก็บข้อม้ลลับของบุคคล เช่นบัตร เครดิต บัตร
ATM ฯลฯ
3.2. อุปกรณ์แสดงผล (Output devices) ทำาหน้าที่แสดงผลลัพธ์จาก
การประมวลผล เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ ลำาโพง พล็อตเตอร์
จากบล็อกไดอะแกรมจะเห็นว่ามีเส้นเชื่อมระหว่างหน่วยต่าง ๆ ใช้
เป็ นเส้นทางแลกเปลี่ยนข้อม้ลและสัญญาณต่าง ๆ เรียกว่า Bus ทำาให้
อุปกรณ์ต่าง ๆภายในคอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารติดต่อกันได้ เปรียบ
เสมือนเป็ นเส้นเลือดในร่างกายมนุ ษย์ บัสที่เชื่อมระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ จะ
ตั้งชื่อตามลักษณะการใช้งาน โดยแบ่งเป็ น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ address
bus เป็ นเส้นทางสำาหรับอ้างอิงตำาแหน่งหน่วยความจำา และอุปกรณ์ data
bus เป็ นเส้นทางเชื่อมระหว่างซีพีย้ กับหน่วยความจำา และอุปกรณ์ I/ O
ต่าง ๆ Control bus เป็ นเส้นทางเดินสำาหรับควบคุมการทำางานของส่วน
12

ต่าง ๆ ระหว่างซีพีย้ กับหน่วยความจำา และอุปกรณ์ I/ O เช่น สัญญาณ


นาฬิการในระบบบัส สัญญาณ IRQ- Interrupt Requests ซึ่งเป็ นสัญญาณ
ขัดจังหวะการทำางานของซีพีย้เพื่อเปิ ดโอกาสให้ทำางานพิเศษ กรณี ท่ีมี
อุปกรณ์อ่ ืน ๆ ติดต่อเข้ามา
ส่วนประกอบของเครื่อง PC
เมื่อเปิ ดกล่อง(case) ของเครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทตั้งโต๊ะ ด้ช้ ินส่วน
ภายในเครื่องจะเป็ นดังร้ป 2.7 และเมื่อด้ส่วนประกอบของ เมนบอร์ด
(Main Board) จะเป็ นดังร้ป 2.8
13

ร้ป 2.7 ชิ้นส่วนต่าง ๆ ภายในกล่อง

ร้ป 2.8 ส่วนประกอบของเมนบอร์ด

ROM BIOS
Bios ย่อมาจากคำาว่า Basic Input / Output System เป็ นชุดคำาสัง่
หรือโปรแกรมขนาดเล็กที่ซีพีย้ใช้เมื่อเปิ ดเครื่องให้คอมพิวเตอร์ทำางานจะ
คอยควบคุมหรือจัดการข้อม้ลที่วิ่งระหว่างระบบปฏิบัติการกับอุปกรณ์
ฮาร์ดแวร์ นอกจากนี้ ยังใช้เก็บข้อม้ลพื้ นฐานสำาหรับเครื่องนั้ น ๆ ในสมัย
ก่อนไบออสจะถ้กเก็บไว้ใน ROM ชนิ ด EPROM (Electrical
14

Programmable Read Only Memory) เป็ นรอมที่สามารถบันทึกได้โดยใช้


อุปกรณ์เฉพาะในการบันทึก ที่เรียกว่า Burst Rom และลบข้อม้ลไบออส
โดยใช้แสงอัลตราไวโอเลต ผ้้ใช้โดยทัว่ ไปไม่สามารถเปลี่ยนแปลงไบออสได้
ต่อมาได้มีการพัฒนารอมให้เป็ น EEPROM สามารถเขียนและลบข้อม้ลได้
โดยใช้กระแสไฟฟ้ าผ่านทางซอฟต์แวร์ท่ีเขียนขึ้นเป็ นพิเศษ เราเรียก BIOS
ประเภทนี้ ว่าเป็ น Flash BIOS ดังที่เราใช้กันอย่้ในปั จจุบัน
หน้าที่หลักของไบออสมีดังนี้
1. ตรวจสอบอุปกรณ์ภายในเครื่องว่ามีอะไรบ้าง เช่น การ์ดจอ
คีย์บอร์ด ฮาร์ดดิสก์ เมาส์ เครื่องพิมพ์ ซีดีรอม หากอุปกรณ์เหล่า
นี้ ทำางานผิดพลาด หรือต่อไม่ถ้กต้อง จะรายงานผลทางจอภาพ
หรือส่งเสียงเตือนให้ผ้ใช้ทราบ เพื่อทำาการแก้ไขหรือซ่อมแซม
2. กำาหนดการทำางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้เกิดประสิทธิภาพในการ

ทำางานมากที่สุด เช่นกำาหนด mode การทำางานของฮาร์ดดิสก์ การ


รับส่งข้อม้ลของพอร์ตต่าง ๆ การรับส่งข้อม้ลจากคีย์บอร์ด
ควบคุมวิธีการเขียนและอ่านหน่วยความจำา
3. ทำาหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างระบบปฏิบัติการหรือ application

program กับฮาร์ดแวร์ ทำาให้ระบบปฏิบัติการมีความเป็ นอิสระ ไม่


จำาเป็ นต้องร้้รายละเอียดของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ตัวนั้ น ๆ เมื่อมีการ
เปลี่ยนแปลงรายละเอียดใดเกี่ยวกับอุปกรณ์ ก็เพียงกำาหนดค่าที่
ถ้กต้องให้กับ BIOS เท่านั้ น
จะเห็นว่าไบออสเป็ นโปรแกรมที่ข้ ึนกับฮาร์ดแวร์ ของเครื่องแต่ละเครื่อง
เป็ นโปรแกรมที่อย่้ระดับตำ่าสุดที่ควบคุมด้แลการทำางานของอุปกรณ์ทุกชนิ ด
ภายในเครื่อง สามารถทำางานร่วมกับระบบปฏิบัติการ( Operating System,
OS) หรือทำางานโดยไม่ต้องผ่านระบบปฏิบัติการก็ได้
เนื่ องจากคอมพิวเตอร์มีหลากหลายยี่ห้อ จึงต้องมีการผลิตไบออสให้
เหมาะสมกับเครื่องนั้ น ๆ เมื่อมีฮาร์ดแวร์มาตรฐานใหม่เกิดขึ้น ควรมีการ
update การทำางานของไบออสให้สนั บสนุ นการทำางานอุปกรณ์น้ ั นตามไปด้วย
15

รอมไบออสที่ใช้ในปั จจุบันมีอย่้ 3 ยี่ห้อ คือ AWARD, AMI และ


PHOENIX ต่อมา AWARD และ PHOENIX ได้รวมกิจการเข้าด้วยกัน

การทำางานของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์อย่างคร่าว ๆ ตั้งแต่เปิ ดเครื่อง


จนถึงปิ ดเครื่อง
1. กดป่ ุม Power ที่คอมพิวเตอร์ และที่จอภาพ

2. ไบออสจะทำาการสำารวจและตรวจสอบ เครื่อง เริม


่ ต้นด้วยการตรวจ
การ์ดจอ ตรวจสอบและนั บจำานวนหน่วยความจำาที่มีอย่้ภายใน
เครื่อง ตรวจสอบประเภทและความจุของฮาร์ดดิสก์ และแสดงผล
การตรวจสอบบนจอภาพ จะเห็นเป็ นตาราง ขั้นตอนนี้ เรียกว่า
Power On Self Test หรือเรียกสั้น ๆ ว่า POST
3. ไบออสจะค้นหาอุปกรณ์ (ฮาร์ดดิสก์ ฟลอปปี้ ดิสก์ หรือ ซีดีรอม)

เพื่อทำาหน้าที่เป็ นตัว load ระบบปฏิบัติการ (อาจเป็ นวินโดว์ หรือ


linux หรือ ระบบปฏิบัติการอื่น ๆ ) ถ้าไม่มีแผ่น boot ใส่ไว้
ไบออสจะไปเรียกโปรแกรมที่อย่้บนฮาร์ดดิสก์ เรียกว่า “Bootstrap
Loader” ซึ่งจะอย่้ท่ีแทร็ค 0 เซกเตอร์ 0
4. Bootstrap loader จะโหลดระบบปฏิบัติการเข้าไปไว้ในหน่วย
ความจำา จะมองเห็นระบบปฏิบัติการที่ใช้งานอย่้ปรากฏบนจอภาพ
5. ผ้้ใช้สามารถเลือกใช้งานโปรแกรม เช่น เล่นเกมส์ พิมพ์เอกสาร
เขียนโปรแกรม วาดร้ป ฯ
6. เมื่อเสร็จสิ้นการใช้งานแล้ว ต้องปิ ดโปรแกรมที่ใช้งานอย่้ จากนั้ น

Shutdown ระบบปฏิบัติการ ห้ามกดป่ ุมสวิตช์ท่ีตัวเครื่องหรือถอด


ปลั๊กไฟ เพราะอาจทำาให้ระบบปฏิบัติการเสียหายได้
7. ระบบปฏิบัติการจะปิ ดโปรแกรมทั้งหมด และบันทึกข้อม้ลในกรณี
ที่ยังไม่มีการบันทึก หรือแจ้งให้ผ้ใช้ทราบว่าจะบันทึกหรือไม่ จาก
นั้ นจะเก็บค่าต่าง ๆที่กำาหนดไว้ครั้งล่าสุด เพื่อไว้ใช้ในการเปิ ด
เครื่องครั้งต่อไป
16

8. เครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ ที่เป็ นแบบ ATX ระบบปฏิบัติการ

จะสัง่ ปิ ดคอมพิวเตอร์ได้เลยเมื่อสิ้นสุดกระบวนการ shutdown แต่


ถ้าเป็ นเครื่องรุ่น AT ผ้ใ้ ช้จะต้องปิ ดสวิตช์ท่ีตัวเครื่องและที่จอภาพ
ด้วยตนเอง (ปั จจุบันไม่พบเครื่องรุ่น AT

Bits, Bytes and Words


กระแสไฟฟ้ าหรือสัญญาณไฟฟ้ าที่คอมพิวเตอร์ใช้ทำางานที่เกี่ยวข้อง
กับข้อม้ลจะเป็ นไปได้สองสภาวะเท่านั้ นคือ “เปิ ด” แทนด้วย 0 และ “ปิ ด”
แทนด้วย 1 ข้อม้ลที่คอมพิวเตอร์สามารถรับร้้ได้จึงเป็ นเลขฐานสอง (Binary
number system) แต่มนุ ษย์ใช้ข้อม้ลเกี่ยวกับตัวเลขเป็ นเลขฐานสิบใช้ตัวเลข
10 ตัวตั้งแต่ 0 ถึง 9
การนำาเลขฐานสองตั้งแต่หนึ่ งหลักขึ้นไปเรียกว่า บิต (bit)
4 bit จะเท่ากับ 1 nibble
8 bit จะเท่ากับ 1 byte
2 byte จะเท่ากับ 1 word
2 word จะเท่ากับ 1 double word
รหัสข้อม้ล (Data representation) ได้แก่รหัสที่ใช้แทนตัวเลข ตัว
อักษร สัญลักษณ์ต่าง ๆ โดยนำาเลขฐานสองมาเรียงต่อกันเป็ นกลุ่ม รหัส
ข้อม้ลที่ใช้มีหลายมาตรฐานด้วยกันเช่น รหัส BCD (Binary Code
Decimal) รหัส EBCDIC (Extended Binary Coded Decimal Inerchange
Code) รหัสข้อม้ลที่นิยมใช้ได้แก่ รหัส ASCII (American National
Standard Institute) ประกอบด้วยเลขฐานสองจำานวน 1 byte แทนตัว
อักษร 1 ตัว สามารถสร้างจำานวนตัวอักษรได้ 256 ตัวอักษร ในเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ พีซี จะแบ่งใช้เก็บภาษาอังกฤษ เลขอารบิก สัญลักษณ์
128 ตัวแรก และใช้เก็บภาษาท้องถิ่น เช่นภาษาไทย 128 ตัวหลัง
17

รหัส สมอ. หรือ TIS-620 หรือ มอก. 620 เป็ นรหัสที่กำาหนดโดย


สำานั กงานมาตรฐานอุตสาหกรรม (Thai industrial Standards Institute)
เป็ นการกำาหนดรหัสตัวอักษรไทยต่อเพิ่มจากรหัสตัวอักษรของ ISO-646
ซึ่งมีลักษณะคล้ายรหัส ASCII
ปั จจุบัน รหัส UTF-8 เริม
่ เป็ นที่นิยมใช้กันมากขึ้น ยกตัวอย่างเช่น
ชื่อไฟล์ภาษาไทยที่อย่้บน Windows XP นั้ นก็เป็ น UTF-8 Google ที่เรา
ใช้สบ
ื ค้นข้อม้ล ก็เข้ารหัสตัวอักษรแบบ UTF-8 ไม่ว่า Gmail หรือ
Hotmail ก็ใช้รหัส UTF-8 เช่นกัน บางครั้งการใช้งาน E mail อาจพบว่าไม่
สามารถอ่านภาษาไทยได้ แสดงว่าระบบอีเมล์ท่ีเราใช้อย่้น้ ั นไม่รองรับรหัส
UTF-8 โทรศัพท์มือถือที่ใช้ OS Symbian, หรือใน Pocket PC ต่างก็ใช้
UTF-8 กันถ้วนหน้า
UTF-8 ย่อมาจาก (UCS(Universal Character Set) transformation format)
คือ character ที่สามารถรองรับการทำางานระบบหลายภาษา (Multi
language) หรือที่เรียกว่า Unicode จะใช้เนื้ อที่ในการเก็บตัวอักษร 1 ถึง 4
ไบต์ ต่อตัวอักษร 1 ตัว ตัวอักษรของทุกชาติ ทุกภาษาจะถ้กเก็บรวมไว้ใน
รหัสนี้ ทั้งหมด รหัสนี้ จึงสามารถแสดงผลทั้งภาษาอังกฤษ ไทย จีน ฝรัง่ เศส
ญี่ปุ่น ลาว เขมร ฯลฯ ได้ในหน้าเดียวกัน

You might also like