You are on page 1of 25

รายงานการศึกษา

กลยุทธ์ DIG กับยุทธวิธีส่ ือสาร


ป้ องกันภัย

จัดทำาโดย
นายสุระชัย ชูผกา
เลขทะเบียน 5007300030

เสนอ

ผศ.ดร. ทัศนี ย์ บุนนาค


2

รายงานการศึกษานี เ้ ป็ นส่วนหนึ่ งของวิชาระบบสังคมกับ


ทฤษฎีทางการสื่อสาร
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสื่อสารมวลชน
ภาค 1 ปี การศึกษา 2550
คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์

กลยุทธ์ DIG กับยุทธวิธีส่ ือสารป้ องกันภัย

ความนำ า
ภัยพิบัติทางธรรมชาติ (Natural Disaster) เป็ นสิ่งที่สร้าง
ความสูญเสียทัง้ ชีวิตและทรัพยสินให้กับมนุษย์อย่างมาก และ
ไม่มีใครต้องการให้เกิดขึ้นกับตนแต่ก็เป็ นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้ยาก
เช่นกัน ที่ผ่านมาหลายฝ่ ายพยายามหาทางป้ องกันภัยและวาง
ระบบเตือนภัยกันอย่างขนานใหญ่ ทัง้ ใช้กำาลังคน เจ้าหน้ าที่ภาค
3

รัฐ เทคโนโลยีต่างๆ ตลอดจนการลงทุนต่างๆ เพื่อการป้ องกันภัย


ซึ่งประสบความสำาเร็จบ้าง ไม่ประสบความสำาเร็จบ้าง เพราะดู
เหมือนไม่มีใครคาดเดาได้ว่า ภัยพิบัตท
ิ างธรรมชาตินัน
้ จะเกิดขึ้น
ที่ใด เวลาใด อย่างไร
แม้กระนั น
้ ก็ตามในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ประเทศญี่ปุ่นซึ่งขึ้น
ชื่อว่าเป็ นประเทศที่ต้องเผชิญกับภัยพิบัติทางธรรมชาติทัง้ แผ่น
ดินไหว ดินถล่ม คลื่นยักษ์สึนามิ ได้คิดและพัฒนากลยุทธ์ที่เรียก
ว่า Disaster Imagination Game (DIG) ขึ้นในปี พ.ศ. 2540
เพื่อการป้ องกันและเตรียมรับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ ซึ่งได้
รับความนิ ยมในจังหวัดต่างๆ ของประเทศญี่ปุ่นอย่างกว้างขวาง
ทัง้ ในระดับเจ้าหน้ าที่ภาครัฐบาลท้องถิ่น ระดับชุมชน และ
โรงเรียนต่างๆ ซึ่งต่อมาเทคนิ คนี้ได้ถูกนำ าเสนอและแพร่หลายไป
ยังหลายประเทศ อาทิ ประเทศเนปาล อินโดนี เซีย และประเทศ
แถบทะเลแคริบเบียน รวมถึงประเทศไทยที่ได้เริ่มทดลองใช้ในปี
นี้เอง
กลยุทธ์ที่เรียกว่า DIG นั น
้ หาใช่การใช้เทคโนโลยีข้ ึนสูง
หรือการใช้วิธีการที่แยบยลแต่ประการใด หากแต่เป็ นการย้อน
กลับไปหา พลังแห่งจินตนาการ (The Power of Imagination)
ในมนุษย์เพื่อกระตุ้นความคิดคำานึ งถึงเรื่องภัยพิบัติ และผันแปร
เป็ นพลังในการกระทำาเพื่อการป้ องกันและเตรียมรับมือกับภัย
พิบัติต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ
การศึกษานี้จึงมุ่งวิเคราะห์ DIG ในแงุม่มตุางๆ เพื่อค้นหา
ลักษณะรุวมและคำาอธิบายพลังที่แฝงอยุ่ภายในระหวุางกลย่ทธ์นี้
4

กับความเป็ นมน่ษย์ อันสามารถนำ าไปสุ่การปรับประย่กต์หรือ


พัฒนาร่ปแบบอื่นๆ ที่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพช่มชน
หรือกลุ่มคนตุางๆ ในประเทศไทยได้อยุางเหมาะสมสอดคล้อง
กับสภาพความเป็ นจริงมากยิ่งขึ้น

กลยุทธ์ DIG เพื่อการป้ องกันภัยพิบัติ


1

DIG ย่อมาจาก คำาว่า Disaster Imagination Game ซึ่ง


หมายถึง เกมหรือกลวิธีในการสร้างจินตนาการทางด้านภัยพิบัติ
ทางธรรมชาติเพื่อการวางแผนป้ องกันและเตรียมรับมือกับเหตุ
ภัยพิบัติต่างๆ โดยเจ้าหน้ าที่และคนในชุมชนแห่งจังหวัด Mie ใน
ประเทศญี่ปุ่นร่วมคิดและพัฒนาขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2540 และได้มีการ
แพร่หลายไปใช้เพื่อการเตรียมความพร้อมรับมือกับภาวะภัย
พิบัตท
ิ ัง้ ในระดับโรงเรียน ชุมชน และระดับเจ้าหน้ าที่ของรัฐบาล
ท้องถิ่น ซึ่งต่อมาทาง Japan International Cooperation
Agency (JICA) ได้นำาเอาเทคนิ คนี้แนะนำ าใช้ในประเทศอื่นๆ ที่มี
โอกาสเสี่ยงกับภัยพิบัตท
ิ างธรรมชาติ เช่นประเทศเนปาล
อินโดนี เซีย รวมถึงประเทศไทยที่เพิ่งมีการแนะนำ าไปปฏิบัติใน
1
เนื้ อหาหลักถอดความจาก จากเอกสารประกอบ Symbosium/Janpan and Disaster Management in
Thailand. DIG(Disaster Imagination Game) July 9,2007 Bangkok, Thailand.
5

ระดับโรงเรียน และระดับเจ้าหน้ าที่อาสาสมัครป้ องกันภัยฝ่ าย


พลเรือนใน 3 จังหวัดคือ แม่ฮ่องสอน ชุมพร และจังหวัดภูเก็ต
ตามแผนความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยและ JICA เมื่อเช่วง
กลางปี ที่ผ่านมานี่ เอง
2

DIG เป็ นการจัดการในลักษณะการรวมกลุ่มตัง้ วงสัมมนา


เชิงปฏิบัติการ (workshop) หรือร่วมเล่นเกมจินตการบนแผนที่
ของชุมชน โดยให้ฝ่ายต่างๆ ทีจ
่ ัดแบ่งเป็ นกลุ่มมาพิจารณาแผนที่
ของชุมชนตนเองแล้วจินตนาการถึงกรณีที่เกิดภัยพิบัติจะมีผลก
ระทบอย่างไรและหาทางแก้ไขอย่างไร ทัง้ นี้ในหลักของการ
จัดการกับภาวะภัยพิบัติ (Disaster Management) การสร้าง
ความเข้าใจร่วมและความตระหนั กของภัยพิบัติเป็ นหัวใจสำาคัญ
ที่สุดอันจะนำ าไปสู่การวางแผน เตรียมพร้อมในด้านต่างๆ ซึ่ง
สอดคล้องกับเป้ าหมายหลักของ DIG ที่มุ่งให้มีการระบุถึงความ
เสี่ยงภัย (Risk Identification) ระหว่างฝ่ ายต่างๆ ในชุมชน มิใช่
เพียงบุคคลใดบุคคลหนึ่ ง และต้องการสร้างความตระหนั ก
(Awareness Raising) ในเรื่องของภัยพิบัติและทางแก้ไขปั ญหา
ป้ องกันภัยต่างๆ ทัง้ ในระดับบุคคล และระดับชุมชน เพื่อไม่ให้
เกิดภาวะอลหม่านในยามที่เกิดเหตุการณ์ภัยพิบัติจริง

อุปกรณ์ ในการสร้าง DIG


DIG นอกจากจะมีกลุ่มคนต่างๆ ทีอ
่ ยู่ในชุมชนมาร่วมกัน
ประชุมหารือแล้วต้องมีอุปกรณ์ที่สำาคัญๆ ได้แก่
2
The Project on Capacity Development in Disaster Management In the Kingdom of Thailand.
Inception Report. August 2006 pp.23-24.
6

1. โครงร่างแผนที่ หรือตัวแผนที่ของชุมชนขนาดใหญ่ (Big


Map)
2. แผ่นใสทีส
่ ามารถคลุมแผนที่ใหญ่ดังกล่าวได้
3. กระดาษเขียนข้อความขนาดเล็กที่สามารถติดแผ่นใสได้
4. ปากกาเขียนแผ่นใส
5. ฐานข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะความเสี่ยงต่อภัยพิบัตข
ิ อง
ชุมชน
ขัน
้ ตอนดำาเนิ นการกลยุทธ์DIG
การดำาเนิ นการของ DIG เริ่มจากการให้ผู้ดำาเนิ นการ
สัมมนาเชิญผู้ที่มีความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องภัยพิบัติมาบรรยาย
โดยนำ าเอาประสบการณ์ของชุมชนต่างๆ ทีเ่ คยเผชิญกับภาวะภัย
พิบัติในลักษณะต่างๆ โดยเน้ นถึงภัยพิบัติที่เป็ นความเสี่ยงสูงต่อ
ชุมชนของตนที่อาจเผชิญในช่วงเวลาต่างๆ พร้อมรูปหรือวีดีทัศน์
มาประกอบ แล้วจึงเข้าสู่ขัน
้ ตอนการแบ่งกลุ่มๆ 10 แล้วจึง
ดำาเนิ นการดังต่อไปนี้
1. ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันทำาความเข้าใจแผนที่ของชุมชนว่า
ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง หรือในขัน
้ นี้อาจร่วมกันออกสำารวจ
หรือประชุมกันในกลุ่มเพื่อกำาหนดสร้างความชัดเจนให้กับแผนที่
ในกลุ่มของตนเอง โดยทุกกลุ่มควรมีโครงร่างแผนที่หลักของ
ชุมชนที่คล้ายคลึงกัน
2. ระบุพร้อมเขียนธงชื่อของสถานที่หลักๆ หรือที่มีความ
สำาคัญของชุมชนลงไปให้ชัดเจน อาทิ โรงพยาบาล โรงเรียน
สถานที่ราชการ แหล่งนำ้ า โรงไฟฟ้ า จากนั น
้ ผู้ดำาเนิ นการสัมมนา
7

อาจให้โจทย์ภย
ั พิบัติ หรือผู้เข้าร่วมสัมมนาร่วมกันกำาหนดโจทย์
ว่าหากเกิดภัยพิบัติประเภทต่างๆ จะมีโอกาสเกิดขึ้นที่ใด
ลักษณะใด ตามแผนที่ที่กำาหนด
3. ให้สมาชิกในกลุ่มช่วยกันจินตนาการตามว่า หากเกิด
ภาวะภัยพิบัติลักษณะข้างต้นแล้วจะมีผลกระทบต่อส่วนกลาง ๆ
ไม่ว่าจะเป็ นถนนหนทาง ระบบไฟฟ้ า ประปา อาคารสถานที่หลัก
ต่างๆ อย่างไรบ้าง ทัง้ ขณะเกิดเหตุการณ์ และหลังจากเกิด
เหตุการณ์ เมื่อได้ข้อสรุปจึงเขียนข้อความนั น
้ ๆ แล้วนำ าไปติดกับ
ป้ ายสถานที่สำาคัญเหล่านั น
้ ในแผนที่
4. สมาชิกร่วมกันจินตนาการต่อเนื่ องว่า การแก้ไขปั ญหา
หรือบรรเทาปั ญหาอันเนื่ องมาจากภาวะภัยพิบัติดังกล่าว จะทำาได้
อย่างไรบ้าง มีทางเลือกอะไรบ้าง อาทิ รวมถึงการกำาหนดเส้น
ทางอพยพ เส้นทางหนี ภัย ศูนย์กลางในการรวมตัวของชุมชน ที่
สอดคล้องกับสถานการณ์จำาลองที่ได้ระบุไว้ก่อนหน้ านี้ เช่นหาก
สะพานขาด เส้นทางใดเป็ นเส้นทางสำารอง แล้วระบุไว้ในแผนที่
ให้ชัดเจน
5. เมื่อแต่ละกลุ่มจัดทำาเสร็จแล้วให้นำาเสนอร่วมกันทัง้ หมด
โดยยึดตามแผนที่ของแต่ละกลุ่ม โดยวิทยากรอาจกระตุ้นให้
กลุ่มต่างๆ พยายามเชื่อมร้อยสภาพการณ์และแนวทางแก้ไขร่วม
กันภายใต้กรอบของแผนที่เดียวกัน อันนำ าไปสู่การพัฒนาเป็ น
หลักปฏิบัติหรือข้อพึงระวัง และเป็ นข้อเสนอแนะต่อฝ่ ายต่างๆ
ร่วมกัน
8

ลักษณะดังกล่าวแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่า เป็ นหลัก


ของการเพิ่มและใช้พลังจากการจินตนการ (The power of
Imagination) ทัง้ นี้ยังสามารถเพิ่มเทคนิ คอื่นๆ เข้าไประหว่าง
การสัมมนา อาทิ หากเป็ นนั กเรียน คุณครูสามารถเปิ ดโอกาสให้
ให้แต่ละคนกำาหนดบทบาทสมมติของตนลงไปในกลุ่ม อาทิ เป็ น
ตำารวจ พยาบาล เจ้าหน้ าที่บรรเทาสาธารณภัย หรือหากสัมมนา
กับผู้ใหญ่ก็ให้ยึดตามอาชีพที่ตนเองเป็ นอยู่แล้วจริง แล้วให้แต่ละ
คนในกลุ่มเสนอแนะว่าในฐานะบทบาททางสังคม (social role)
นั น
้ ๆตนเองจะต้องทำาอะไรหรือสามารถดำาเนิ นการอะไรเพื่อช่วย
เหลือชุมชน ซึ่งรูปแบบต่างๆ นั น
้ สามารถปรับประยุกต์ได้ตาม
ความเหมาะสม
ตัวอย่างเช่น โรงเรียน Maiko High School แห่งเมือง
โกเบประเทศญี่ป่น
ุ ได้มีนำาเอา DIG ไปออกแบบเป็ น
วิชา Environment and Disaster Mitigation Course โดย
กำาหนดให้นักเรียนในวิชานี้ได้จัดช่วยกันทำาแผนที่ชุมชน แล้ว
แบ่งเด็ก ๆเป็ นกลุ่มที่สวมบทบาทของแต่ฝ่าย อาทิ ตำารวจ ฝ่ าย
ผจญเพลิง เจ้าหน้ าที่สาธารณสุข จากนั น
้ กำาหนดสร้างเหตุการณ์
สมมติคือเหตุแผ่นดินไหว และมีไฟไหม้ในจุดหนึ่ ง แต่ละฝ่ ายจะ
ทำาอย่างไร โดยคุณครูได้ทำาการบันทึกการสนทนาของแต่ละกลุ่ม
เอาไว้เพื่อนำ าอภิปรายและสรุปบทเรียนร่วมกันภายหลัง ซึ่งจาก
จุดนี้ทำาให้เด็กๆ ได้รับบทเรียนและได้เรียนรู้สภาพชุมชน จุดอ่อน
ไหวต่างๆ ในพื้นที่ ตลอดจนได้เรียนรู้บทบาทของฝ่ ายต่างๆ ที่
9

เหมาะสมเมื่อยามเกิดภัยพิบัติ ซึ่งเด็กๆ เหล่านี้สามารถไปสื่อสาร


กับผู้ปกครองได้อีกด้วย
3

กล่าวโดยสรุป เทคนิ ค DIG เป็ นการรวมคิด ร่วมทำาทัง้ ใน


และระหว่างกลุ่ม ประกอบด้วย
Learn คือ การเรียนรู้ถึงภัยอันตรายจากภัยพิบัตท
ิ ี่มีโอกาส
เกิดขึ้นกับชุมชนของตน
Community watching คือการพิจารณาหรือออกสำารวจ
ชุมชนเพื่อจัดทำาแผนที่จริง
Think and Plan คือการจินตนการถึงผลของภัยพิบัติที่จะ
เกิดต่อชุมชนและหนทางรอด
Action คือร่วมลงมือระบุถึงปั ญหาและทางแก้ไขบรรเทา
สาธารณภัย
Presentation คือการนำ าเสนอแผนที่ที่แสดงสภาพการณ์
และทางแก้ไข
Wrap Up คือการรวบรวมผลของแต่ละกลุ่มสรุปร่วมกัน
เป็ นหนึ่ งเดียว โดยคำานึ งถึง
ความเป็ นไปได้ในทางปฏิบัติมากที่สุด

ชุดคำาถามหลักสำาหรับเทคนิ ค DIG
ผู้ดำาเนิ นการสัมมนากลางสามารถกำาหนดคำาถามร่วมให้กับ
กลุ่มต่างๆ ต้องระดมสมองช่วยกันคิด หาคำาตอบก่อนที่จะนำ ามา
3
http://www.hyogo-c.ed.jp/~maiko-hs เข้าเมื่อ 12 ก.ย. 2550.
10

หาข้อสรุปร่วมกันระหว่างกลุ่มในขัน
้ ตอนสุดท้ายที่สามารถได้เป็ น
แนวปฏิบัติการร่วม หรือข้อเสนอต่อฝ่ ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง อัน
ประกอบคำาถาม 2 ระดับ
1. ช่ดคำาถามสำาหรับการเตรียมพร้อมกุอนเกิดภัยพิบัติ
• อะไรคือปั ญหาใหญ่ที่สุดสำาหรับชุมชนหลังเกิดเหตุภัย
พิบัติ เพราะเหตุใด
• แนวทางการแก้ไขปั ญหาดังกล่าวควรเป็ นอย่างไร
เพราะเหตุใด
• สิ่งจำาเป็ นสำาหรับชุมชนในเวลานั น
้ และหลังจากนั น
้ คือ
อะไร เพราะอะไร
• ใครควรรับผิดชอบในการเตรียมการสิ่งต่างๆ เหล่านั น

ที่ไหนอย่างไร
• ในระดับบุคคลและครอบครัวควรเตรียมพร้อมรับมือ
อย่างไร

2. ช่ดคำาถามสำาหรับการจัดการภายหลังการเกิดภัยพิบัติ
ได้แกุ
• ถนนเส้นไหนควรได้รับการซ่อมแซมอันดับแรก
เพราะเหตุใด
• อาคาร สถานที่ใดควรหลีกให้ห่างมากที่สุด เพราะเหตุ
ใด
11

• พื้นที่โล่งหรือสถานที่ใดเหมาะที่ใช้เป็ นพื้นกลาง
บรรเทาช่วยเหลือ เพราะเหตุใด
• ใครควรทำาหน้ าที่ในการกระจายข่าวสารสู่สาธารณชน
เพราะเหตุใด
• ใครควรทำาหน้ าที่ผู้ประสานงาน และศูนย์ประสานงาน
ควรอยู่ที่ใด เพราะเหตุใด
• รัฐบาลกลางและองค์กรปกครองท้องถิ่นควรให้ความ
ช่วยเหลือเรื่องอะไรบ้าง

กล่าวโดยสรุปแล้ว เทคเนิ ค DIG นับได้ว่าเป็ นประตูสู่


ทางออกเริ่มต้นของการจัดการกับ
ภัยพิบัติโดยเน้ นการใช้จินตนาการของแต่ละบุคคลร่วมกับกลุ่ม
อย่างมีเหตุมีผลภายใต้ข้อมูลพื้นฐานชุมชนประกอบกับข้อมูล
ทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ เกี่ยวกับเรื่องภัยพิบัติ จนนำ าไปสู่การคิด
วางแผน และเตรียมการรับมือกับภัยพิบัติได้ร่วมกัน

บทวิเคราะห์ DIG กับยุทธ์วิธีส่ ือสารป้ องกันภัย


หากพิจารณาลักษณะการดำาเนิ นการและจัดการของกลยุทธ์
Disaster Imagination Game (DIG) แล้วเห็นได้ว่าเป็ นกลยุทธ์
ที่เชื่อมร้อยศาสตร์ต่างๆ เข้ามาไว้ด้วยกันเพื่อเป็ นแนวทางในการ
จัดการป้ องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่ง
แจกแจงได้ดังนี้
12

1. DIG กับยุทธวิธีการสื่อสารนวัตกรรม(Diffusion of
Innovation)
การนำ าเอากลยุทธ์ DIG ไปนำ าเสนอใช้กับคนกลุ่มต่างๆ โดย
เฉพาะกับคนที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัย นั บได้ว่าเป็ นการนำ าเสนอสิ่ง
ใหม่เพื่อการวางแนวปฏิบัติใหม่ให้ประโยชน์ ของชุมชนนั น
้ ๆ อัน
ถือว่าเป็ นการสื่อสารนวัตกรรมประการหนึ่ ง เพราะการสื่อสาร
นวัตกรรมคือการเผยแพร่ความคิดใหม่ การปฏิบัติใหม่ ให้
สมาชิกได้ยอมรับและนำ าไปปฏิบัติ โดยต้องมีการปรับตัวเนื้ อหา
ให้มีความเหมาะสมเพื่อการรับสิ่งใหม่ ซึ่งแนวทาง DIG ก็มีวิธี
4

การที่สอดคล้องกับแนวทางการกำาหนดเนื้ อหาตามหลักการ
สื่อสารนวัตกรรมเช่นกัน กล่าวคือ
1.1 การสื่อสารนวัตกรรมต้องบอกถึงประโยชน์ ที่มีมากขึ้นให้
สมาชิกได้รับรู้ (Relative Advantage) ซึ่ง DIG ได้ชี้จุด
นี้ไว้ในส่วนเริ่มต้นที่ให้มีการนำ าเสนอเกี่ยวกับข้อมูลภัย
พิบัติในพื้นที่ต่างๆ ที่ไม่มีการเตรียมการหรือวางแผน
ป้ องกันภัยมาก่อนทำาให้ผู้เข้าร่วมเห็นประโยชน์ ตรงกัน
ในการยอมรับแนวทางของ DIG

1.2 เนื้ อหาของนวัตกรรมต้องสอดคล้องกับวิถีชีวิตและ


วัฒนธรรมของชุมชน (Compatibility) จุดนี้ DIG ได้ใช้
แนวทางให้ผู้ที่เข้าร่วมซึ่งเป็ นคนในชุมชนนั น
้ ร่วมกัน

4
เสถียร เชยประทับ. การสื่อสารนวกรรม. นิ เทศศาสตร์จุฬา. เอกสารเย็บเล่ม หน้ า. 39-45.
13

กำาหนดทำาแผนที่ชุมชนของตามความเข้าใจของตนอัน
ใช้เป็ นฐานในการสื่อสารตลอดกิจกรรมสัมมนาของ DIG
มิได้นำาเอาแผนที่ภายนอกการบรรยายจากวิทยาการข้าง
นอกเป็ นสำาคัญ แต่ให้คนในพื้นที่ได้มีโอกาสร่วมแลก
เปลี่ยนเป็ นหลักจึงสอดคล้องกับวิถีของชุมชนอย่าง
แท้จริง

1.3 เนื้ อหาและกิจกรรมของนวัตกรรมต้องไม่สลับซับซ้อน


(Less Complexity) ลักษณะเช่นนี้พบได้ในกิจกรรม
หลักของ DIG ที่ใช้แผนที่ใหญ่ของชุมชนเป็ นตัวสื่อสาร
ทำาความเข้าใจผ่านแผนที่มากกว่าคำาบรรยาย จน
สามารถเห็นเป็ นรูปธรรมในการสื่อสารระหว่างกันได้
แม้แต่ช่วงที่ให้โจทย์ถึงภัยพิบัติก็ได้นำาเอาประสบการณ์
พื้นที่อ่ ืนมาอธิบายแล้วกำาหนดเขตพื้นที่ในแผนที่อย่าง
ชัดเจนให้ผู้เข้าร่วมได้คิดตัดสินใจ

1.4 นวัตกรรมต้องเป็ นสิ่งที่สามารถร่วมทดลองทำาได้


(Trailbility) ซึ่ง DIG ยึดหลักนี้ตัง้ แต่การให้ผู้เข้าร่วมได้
ลองออกสำารวจชุมชนเพื่อกำาหนดแผนที่ชุมชนให้มีความ
ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ตลอดจนให้แต่ละคนได้มีโอกาสระบุ
พื้นที่หลัก พื้นที่เสี่ยง โดยการติดป้ ายให้กับพื้นที่ต่างๆ
ในแผนที่ด้วยตนเอง อีกทัง้ ยังให้มีการลองเขียน
สถานการณ์จำาลองผ่านแผ่นใสทับลงบนแผ่นที่กรณีเกิด
14

ภัยพิบัติด้วย มิใช่การรับฟั งคำาบรรบายแต่ได้ลงมือทำาไป


พร้อมๆ กับการเรียนรู้ร่วมกับผู้อ่ ืนด้วย

1.5 นวัตกรรมต้องเป็ นสิ่งที่สามารถเห็นผลหรือสังเกตเห็น


ได้ (observability) ดังเห็นได้ในภาพรวมของกิจกรรม
DIG ทีน
่ อกจากจะดำาเนิ นกิจกรรมแบบที่จับต้องได้จริง
แล้ว เมื่อได้ทำากิจกรรมไปสู่ขัน
้ สุดท้าย DIG ได้เน้ นให้มี
การรวบรวมข้อเสนอของแต่ละกลุ่มเข้าด้วยกันเพื่อจัด
ทำาเป็ นข้อเสนอแนะต่อฝ่ ายต่างๆ ตลอดจนจัดทำาแผน
รับมือกับภาวะภัยพิบัติทอ
ี่ าจเกิดขึ้นได้ในอนาคต อันนั บ
เป็ นรูปธรรมนำ าไปสู่การกำาหนดนโยบายและแผนป้ องกัน
ภัยที่ชัดเจน
นอกจากนั น
้ แล้ว ในหลักของ DIG ยังมีความสอดค้องกับ
ปั จจัยในการยอมรับนวัตกรรม
ที่เน้ นว่าผู้ส่งสารต้องมี่ความน่ าเชื่อถือ และผู้รับสารต้องมีความ
ตื่นตัวในการเปิ ดรับ เพราะ DIG มิได้เปิ ดให้ผู้เข้าร่วมดำาเนิ นการ
เองไปทัง้ หมด หากแต่มีฐานข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องภัยพิบัติทน
ี่ ่ าเชื่อ
ถือจากหน่ วยงานหรือเว็ปไซด์ที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางมี
ความเป็ นวิทยาศาสตร์เป็ นสำาคัญ มิได้ปลุอยให้เป็ นไป
จินตนาการอยุางเลื่อนลอย ขณะเดียวกันก็เน้ นนำ าเสนอภาพ
เหตุการณ์ตลอดจนการคาดการณ์ให้ผู้เข้าร่วมที่ถือเป็ นผู้รับสาร
ได้เห็นถึงประสบการณ์อันเลวร้ายในภัยพิบัตข
ิ องพื้นทีอ
่ ่ ืนๆ ซึ่ง
15

สามารถสร้างความตื่นตัวให้กับผู้รับสารได้เป็ นอย่างมี
ประสิทธิภาพ
2. DIG กับยุทธวิธีการสื่อสารโน้ มน้ าวใจให้เกิดการลู่
เข้า
ลักษณะของ DIG นั น
้ ไม่เพียงเป็ นไปตามแนวทางของการ
สื่อสารนวัตกรรม หาแต่ยังสอดคล้องกับหลักการสื่อสารในอีก
หลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสื่อสารเพื่อการโน้ มน้ าวใจ
(Persuasive communication) กล่าวคือ
5

2.1 กลยุทธ์ DIG ใช้หลักสร้างความสนใจและความตัง้ ใจ


(Attention)แก่ผู้รับสารโดยการชี้ให้เห็นภัยธรรมชาติที่
อันตรายอันอาจเกิดขึ้นได้กับคนในชุมชนเป็ นการดึงเรื่องที่
ยังไม่เกิดขึ้นมาใกล้ตัวผู้รับสารมากยิ่งขึ้น พร้อมไปกับการ
สร้างความเข้าใจจริง (Comprehension) ด้วยการให้ข้อมูล
พื้นฐานและหลักการเกี่ยวกับลักษณะของภัยพิบัติและระบุ
เทียบเคียงกับสิ่งที่อาจเกิดขึ้นจริงกับพื้นที่ชุมชนของตน
ผ่านแผนที่

2.2 ลักษณะดังกล่าวทำาให้มีส่ ือกลางที่ทำาให้คนในกลุ่มและ


ระหว่างกลุ่มได้ถกเถียงเรียนรู้ร่วมกัน และนำ าเอาแผนที่
และแผ่นใสที่เป็ นผลลัพธ์จากการถกเถียงมาสื่อถึงกันอัน
เป็ นการสร้างการยอมรับ (yielding) ระหว่างกันได้โดยง่าย
มิใช่เป็ นการถกเถียงแต่เพียงการใช้วาทะหรือการให้เหตุผล
5
อรวรรณ ปิ ลันธน์โอวาท. การสื่อสารเพื่อการโน้ มน้ าวใจ. พิมพ์ครัง้ ที่ 3 กรุงเทพ 2546 สำานั กพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย น. 12
16

ทางคำาพูดเท่านั น
้ ซึ่งเป็ นการหนุนนำ าให้เกิดการจดจำา
(Retention) ยำ้าเตือนได้ชัดเจนเห็นชัดจนเมื่อเกิดเหตุการณ์
ภัยพิบัติข้ ึนจริงก็สามารถกระทำา (Action) ได้จริง เพราะได้
เคยทดลองศึกษามากับมือตนแล้ว

2.3 ยิ่งไปกว่านั น
้ การที่ DIG เน้ นให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาปฏิบัติ
การนี้ร่วมเรียนรู้ร่วมกันด้วยการถกเถียง แลกเปลี่ยนหารือ
ผ่านสื่อกลางอย่างแผนที่และแผ่นใส่ที่ใช้ซ้อนทับ ตลอดจน
นำ ามาอภิปรายสรุปร่วมกันระหว่างกลุ่มแทนการประกวด
แข่งขันความเหนื อกว่าของแต่ละกลุ่มนั บได้ว่าเป็ นกลยุทธ์
ของการสื่อสารเชิงลู่เข้า (The convergence) ที่ทำาให้
คนในชุมชนได้เข้ามาสามัคคีใกล้ชิดเพื่อเตรียมการป้ องกัน
ภัยภายใต้ความเข้าใจและความตกลงปงใจร่วมกัน
(Mutual Agreement)

จากที่กล่าวมานี้เห็นได้ว่าการสื่อสารด้วยกลวิธีดัง
กล่าวของ DIG ย่อมทำาให้เกิดการยอมรับในกลุ่มของ
ตนเองในการแสวงหาทางออกเพื่อการป้ องกันภัยพิบัติร่วม
กัน อันสามารถกำาหนดออกมาเป็ นนโยบายร่วมหรือการ
ตกลงกระทำาร่วมกัน (Collective Acting) ในยามที่ต้อง
เผชิญหน้ ากับภาวะภัยพิบัติแทนการหาทางเอารอดราย
บุคคล
17

3. DIG กับยุทธวิธีการสื่อสารภายในบุคคล
เมื่อพิจารณาลึกลงไปแล้วพบว่า DIG แท้ที่จริงแล้วนั บว่า
เป็ นการสร้างประสิทธิภาพการสื่อสารภายในตัวบุคคล (Intra-
personnel communication) เพื่อเตรียมพร้อมเผชิญหน้ ากับ
ภาวะภัยพิบัติที่เป็ นสิ่งเร้าภายนอกมาตกกระทบเป็ นสิ่งเร้า
ภายในตัวบุคคล และส่งผลต่อความรู้สึกนึ กคิดในจิตใจของคน
สอดคล้องกับแนวคิดการสื่อสารภายในบุคคลของ Barker-
Wiseman ดังนี้
6

3.1 DIG สร้างสิ่งเร้าภายนอกมากระตุ้นสิ่งเร้าภายใน ผ่าน


วิธีการนำ าเสนอภาพเหตุการณ์และข้อมูลต่างๆ ทีแ
่ สดงความ
อันตรายของภัยพิบัติที่เคยเกิดขึ้นที่อ่ ืนและอาจเกิดขึ้นกับ
ชุมชนของผู้เข้าร่วมกิจกรรมซึ่งทำาให้เกิดความหวาดกลัว
และเป็ นแรงสำาคัญในการกระตุ้นพลังแห่งจินตนาการ(The
power of imagination)ของมนุษย์อันเกิดจากความกลัว
เพื่อผันแปรมาเป็ นพลังสร้างสรรค์ในลำาดับต่อไป

3.2 DIG กับยุทธวิธีจัดระเบียบสารและการถอดรหัส จาก


ขัน
้ ตอนดำาเนิ นการของกิจกรรม DIG จะพบว่า ผู้นำา
6
Barker-Wiseman Model อ้างถึงใน รุ่งเรืองศรี วงศาโรจน์. การสื่อสารภายในบุคคล :กรณี ศึกษา
การบนบานศาลกล่าว. วิทยานิ พนธ์วารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน พ.ศ. 2535 คณะ
วารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
18

กิจกรรมไม่ได้ปล่อยให้ความหวาดกลัวของผู้เข้าร่วมอันเกิด
จากการได้ชมหรือรับทราบข้อมูลภัยพิบัติเป็ นไปอย่างไร้
ทิศทาง เพราะหลังจากนั น
้ ได้กำาหนดให้ผู้เข้าร่วมต้องร่วม
กันกำาหนดแผนที่ของชุมชนตนว่ามีสิ่งใดอยู่แห่งใด และขัน

ต่อไปหากเกิดภัยด้านต่างๆ จะมีผลกระทบต่อส่วนใดโดย
ให้แสดงลงไปในแผ่นใสซ้อนทับ อันเป็ นการจัดระเบียบการ
รับรู้ข่าวสาร และการหนุนให้ค่อยๆ ถอดรหัสอย่างเป็ นขัน

ตอนโดยไม่ให้ความตื่นกลัวสับสน (Panic) มาทำาให้การรับ
สารอลหม่าน

3.3 DIG กับยุทธวิธีลำาดับขัน


้ การเข้ารหัสสารในตัวบุคคล
เทคนิ ค DIG นอกจากให้มีการระดมสมองแลกเปลี่ยนถึง
การระบุภัยอันตรายกันแล้ว ยังจัดลำาดับกระตุ้นให้ผู้เข้าร่วม
คิดถึงวิธีการหาทางออกในลักษณะต่างๆ ร่วมกัน ที่สำาคัญ
คือ DIG ใช้ระบบชุดโจทย์คำาถามที่มีการจัดลำาดับความ
สำาคัญของปั ญหาในด้านต่างๆ ไว้อย่างเป็ นระบบ อาทิ เส้น
ทางใดควรได้รับการซ่อมแซมก่อน เพราะเหตุใด คำาถาม
ลักษณะเช่นนี้สามารถช่วยให้ผู้รับสารสามารถจัดลำาดับ
ความคิดและเข้ารหัส(Encoding) ถึงตัวสารเพื่อการป้ องกัน
ภัยได้อย่างเป็ นระบบไม่สบ
ั สน

3.4 DIG กับย่ทธวิธีสร้างความแนุนอน ภายหลังจากเสร็จ


สิ้นกระบวนการแล้ว สิง่ ที่ผ้่รับสารได้รับไมุใชุเพียงความร้่
19

และการป้ องกันภัยพิบัติ แตุเป็ นสิ่งที่ย้อนกลับเข้าไปพิชิต


ความกลัวภัยพิบัติอันเป็ นสิ่งเร้าภายในที่กระต้่น
จินตนาการให้เกิดการคิดสร้างสารตุางๆ อยุางไร้ทศ
ิ ทางมา
เป็ นจินตนาการใหมุที่ส่ ือสารให้บ่คคลคิดถึงการตื่นกลัว
น้อยลงคำานึงถึงวิธีการจัดการกับภาวะภัยพิบัติมายิ่งขึ้น
4. DIG กับทฤษฎีเกมเพื่อสร้างเงื่อนไขสู่ความแนู นอน
การนำ าเสนอกลยุทธ์ DIG สู่ชุมชน หรือผู้เข้าร่วม
สัมมนานี้จะเห็นได้ว่าสิ่งสำาคัญคือการชี้ให้เห็นถึงภาวะภัย
พิบัตท
ิ ี่อาจเกิดกับชุมชนซึ่งเมื่อมองในเชิงของเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกม (The Economy as a Game) ถือได้ว่า
7

เป็ นการกระตุ้นให้คนที่เข้าร่วมมี
จินตนการถึงผลได้ที่มากกว่าโอกาสแห่งความพ่ายแพ้ (The
Positive sum game) อันแรงจูงใจให้ทุกคนเข้าร่วมอย่าง
จริงจังในการกระทำาการต่างๆ เรื่องนี้ร่วมกัน
ทัง้ นี้เพราะตามหลักการของทฤษฎีเกมนั น
้ หากคน
เรารู้สึกว่าตัวเองมีโอกาสแพ้มากกว่าจะชนะ (The loss
more than the winning)ก็จะไม่เข้าร่วมหรืออาจวางเฉย
หรือเรียกว่าเป็ น Negative sum game แต่หากคิดว่าตนมี
โอกาสชนะมากกว่าก็จะกลายเป็ น The Positive sum
game แต่ถ้าโอกาสชนะกับแพ้มีเท่ากันก็เป็ นเกมที่เรียกว่า
Zero sum game

7
William A. Mc Eachern. Economic : A contemporary Introducation 3rd ed. 1994 Ohio. South-Western
Publishing Co. pp. 763.
20

ในขัน
้ ตอนของ DIG ชี้ตัง้ แต่ต้นว่า หากไม่มีการเตรี
ยมตัวหรือร่วมมือกันวางแผน ทุกฝ่ ายในชุมชนแม้จะไม่
โดนภัยพิบัติโดยตรงก็อาจเป็ นผู้สูญเสียทรัพย์สิน โอกาส
และสูญเสียวิถีชีวิตอันสงบสุข พร้อมต้องเผชิญหน้ ากับ
ภาวะยากลำาบากยุ่งเหยิ่งหลังเหตุการณ์ แต่หากวางระบบไว้
ให้มีประสิทธิภาพไม่เพียงตัวบุคคลสามารถรอดพ้นภัยแต่
ชุมชนยังมีโอกาสเป็ นผู้ชนะในหลายลักษณะ แต่หากไม่
เตรียมการย่อมมีโอกาสเป็ นผู้แพ้หรือผู้สูญเสียทัง้ หมดก็ได้
จากจุดนั น
้ เองจึงทำาให้DIG สามารถใช้หลักการของ
การวางเงื่อนไขเพื่อสร้างการตอบสนองได้อย่างเป็ นจริงเป็ น
จัง ตามแนวทาง Classical Conditioning ของ Ivan P.
Pavlov ซึ่งเน้ นการวางเงื่อนเพื่อสร้างแรงกระตุ้น
8

(Conditioned Stimulus) เพื่อให้เกิดการตอบสนองต่อ


เงื่อนไข (Conditioned Response) ซึ่งเป็ นการนำ าไปสู่การ
เรียนรู้ผ่านเงื่อนไข(Acquisition) เหล่านั น
้ เพื่อสร้างความ
คุ้นชินจนเกิดเป็ นแนวปฏิบัติ
ลักษณะเช่นนี้ใน DIG พบตัง้ แต่ขัน
้ ตอนที่สองที่
กำาหนดให้มีเงื่อนไขแห่งภัยพิบัติมาถึงชุมชนผ่านแผนที่
ของตนอันเป็ นปั จจัยกระตุ้นให้ผู้เข้าร่วมเกิดจินตนาการใน
การแสวงหาทางเอาตัวรอด แต่ไม่ใช่เป็ นการเอาตัวรอดแต่
โดยลำาพังหากแต่ต้องมองหาหนทางรอดแห่งชุมชน เพราะ
ขัน
้ ก่อนหน้ านี้ DIG ได้ผลักทำาให้ทุกคนคิดถึง Positive
8
สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิ ต. ทฤษฎีและเทคนิ คการปรับพฤติกรรม. พิมพ์ครัง้ ที่ 4 พ.ศ. กรุงเทพฯ
2543. สำานั กพิมพ์จุฬาลงกรณื มหาวิทยาลัย. น. 19-24.
21

zum game แล้ว อันเป็ นการหนุนเสริมให้ทุกคนได้เรียนรู้


แสวงหาแนวทางสำาหรับการเผชิญกับปั ญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพไม่ตอบสนองอย่างไร้ทิศทาง อันอาจกลายเป็ น
ความคุ้นชินกับการจัดการกับปั ญหาภัยพิบัติได้อย่างมี
ประสิทธิภาพได้ในอนาคตหากได้มีการฝึ กฝนผ่านการวาง
เงื่อนไขในลักษณะ DIG อย่างบ่อยครัง้
จาก DIG สู่ตว
ั แบบการสื่อสารเพื่อการป้ องกันภัยพิบัติชุมชน
DIG เป็ นรูปแบบกิจกรรมเพื่อการวางแผนป้ องกันภัยอันมี
กำาเนิ ดขึ้นในวิถีและสภาพแวดล้อมของประเทศญี่ปุ่นเป็ นสำาคัญ
อันเป็ นทีท
่ ราบดีว่าเป็ นประเทศที่ผู้คนต้องเผชิญกับภัยพิบัตินา
นั บประการอยู่เป็ นประจำา จึงเป็ นเรื่องที่ไม่ยากนั กในการสร้างการ
รับรู้และยอมรับกับกิจกรรมนี้ แต่หากเมื่อพิจารณาถึงการนำ าไป
ประยุกต์ใช้ในเงื่อนไขสภาพแวดล้อมทางด้านภัยพิบัติในประเท
ศอื่นๆ ที่อาจมีน้อยกว่า รวมถึงจนเงื่อนปมประชาชนในด้านความ
ต่างวัฒนธรรมทัง้ ในเรื่องวินัยและวิถีคิด ย่อมยากที่จะทำาให้การ
ใช้รูปแบบ DIG มีประสิทธิภาพเหมือนดังต้นแบบ จนอาจทำาให้
เหลือเพียงการทำาตามรูปแบบนี้ให้ครบมากกว่าให้ได้ตาม
เป้ าประสงค์
จากลักษณะความสัมพันธ์ของ DIG ทีม
่ ีต่อแนวคิดด้าน
ต่างๆ เมื่อนำ ามาสังเคราะห์จัดเป็ นระบบก็จะพบตัวแบบแห่งระบบ
ควบคู่กับกิจกรรมการสัมมนาเชิงปฏิบัติการของ DIG ที่สามารถ
รนำ าไปปฏิบัติใช้ในหลักการเดียวกันจนเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
22

ข้ามเกณฑ์ทางสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมได้ ซึ่งสามารถ
แสดงความสัมพันธ์ได้ดังรูปแบบต่อไปนี้

Community and Individual


Risk of Disaster

Disaster
Learning
Community
Positive Sum Watching/
Game, cost Mapping
benefit Conditioned
Diffusion of Disaster
Innovation circumstance
Power of
Persuasive Imagination
Communication Disaster
Intra-personnel/ Preparedness
Human
Communication Convergence
Communication
Mutual Benefit

จากแผนภาพดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงหลักการที่เดินไป
ควบคู่กับหลักคิดจากกิจกรรม DIG ที่สามารถทำาให้ชุมชนและ
ปั จเจกบุคคลสามารถเผชิญหน้ ากับความเสี่ยงต่อภัยพิบัติได้อย่าง
มีประสิทธิภาพมากขึ้น อันเริ่มจากการที่คนในชุมชนหนึ่ งๆ เข้า
ร่วมเรียนรู้ถึงปั ญหาภัยพิบัติที่มีโอกาสเกิดขึ้นในชุมชนของตน
23

โดยตระหนั กถึงโอกาสในการมีชัยเหนื อภัยพิบัติกันได้มากกว่า


การสูญสีย (Positive sum game) จากนั น
้ จึงเข้าร่วมกิจกรรม
สำารวจและจัดทำาแผนทีท
่ ี่พึงยึดแนวทางการสื่อสารนวัตกรรมที่ให้
ทุกคนร่วมคิดร่วมทำาจากสิ่งที่ง่ายเป็ นรูปธรรมจนเข้าใจภาพรวม
จากนั น
้ จึงเข้าสู่ขัน
้ ของการสร้างเงื่อนสถานการณ์ภัยพิบัติ
จำาลองลงบนแผนที(่ Conditioned Disaster circumstance) ที่
ช่วยกันสำารวจมากเพื่อร่วมกันคิดค้นหาทางออก โดยต้องมี
เงื่อนไขในแบบอย่างของการสื่อสารเพื่อการโน้ มน้ าวใจเพื่อให้ทุก
คนร่วมกันคิด ค้นหาอย่างจริงจังอันจะเป็ นการไปกระตุ้นเสริม
เพิ่มพลังแห่งจินตนาการ(Power of Imagination) ซึ่งสอดคล้อง
ควบคู่ไปกับหลักการการสื่อสารภายในบุคคลที่มีสิ่งเร้าเข้ามากระ
ทบเพื่อนำ าไปสู่การค้นหาแนวทางรอดพ้นจากภาวะภัยพิบัติอย่าง
จริงจัง สิ่งเหล่านี้ก็จะกลายเป็ นบทเรียนที่นำาไปสู่การเตรียม
พร้อมทัง้ ภายในจิตใจในระดับปั จเจกบุคคลและแผนรับมือกับภัย
พิบัติอย่างรูปธรรมของแต่ละบุคคลและชุมชนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

ความสรุป DIG กับวิถก


ี ารสื่อสารเพื่อการป้ องกันภัยพิบัติ
จากการเรียนรู้ถึงกลยุทธ์ DIG (Disaster Imagination
Game) กับยุทธวิธีการสื่อสารในด้านต่างๆ เพื่อการป้ องกันภัย
พิบัติ พบว่า DIG โดยเนื้ อหาแล้วเป็ นเรื่องของการร่วมกันนิ ยาม
ความเสี่ยง (Risk Identification) ของชุมชนจากภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติ ทีม
่ ีโอกาสเกิดขึ้นกับชุมชนเพื่อหาแนวทางในการเตรี
24

ยมการป้ องกันความเสี่ยงจากภัยพิบัติ (Disaster


Preparedness) และลดผลกระทบในทางลบจากความเสี่ยงเหล่า
นั น
้ อันเป็ นหลักการพื้นฐานอันสำาคัญยิ่งในการจัดการภัยพิบัติ
ต่างๆ (Disaster Management)
ในสังคมสมัยใหม่คนเรามักเลือกที่จะมีชีวิตเป็ นการส่วน
ตัวอย่างปั จเจก (individual) เพราะสังคมสมัยใหม่มักมีระบบหรือ
โครงสร้างต่างๆ รองรับการดำารงวิถีชีวิตส่วนบุคคลสูง ที่
ปั จเจกบุคคลไม่ต้องหันเข้ามาร่วมกันเพื่อวางแนวทางในการ
พึ่งพาอาศัยกัน แต่ในเรื่องที่จะบุคคลต้องเผชิญหน้ ากับความ
เสี่ยง (Risk) อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่ปัจเจกบุคคลก็สามารถที่จะ
แสวงหาแนวทางในการสร้างทางเลือกที่จะเผชิญหน้ ากับมันได้
(individuals have no choice but to make choices) ซึ่งต้อง
9

อาศัยจินตนาการของตนเองในการค้นหาและแสวงหาทางตัวรอด
จากความเสี่ยงเหล่านั น

กลยุทธ์ DIG นั บเป็ นกลวิธีที่ใช้การสื่อสารในลักษณะต่างๆ
เข้าไปกระตุ้นให้ผู้คนมีจินตนการเพื่อแสวงหาทางเลือกในการ
เผชิญหน้ ากับความเสี่ยงอย่างเป็ นระบบภายใต้หลักการวาง
เงื่อนไขตัง้ แต่การเข้าสู่Game อย่าง Positive Sum Game ไป
จนกระทัง่ ได้ทางเลือกเพื่อกำาหนดเป็ นเงื่อนไขสิ่งเร้าใหม่ที่ให้
ความมัน
่ ใจกับปั จเจกบุคคล และต่อชุมชนในการเผชิญหน้ ากับ
ความไม่แน่ นอนของภัยพิบัติต่างๆ ด้วยความแน่ นอน ผ่านพลัง

9
Simon Thompson. Trust, Risk and Identity. Trust Risk and Uncertainty. Edited y Sean Watson and
Anthony Moran. 2005: Great Britain. Palograve Macmillan. Pp.27-29.
25

แห่งการจินตนาการในทางบวก (Positive power of


imagination)

You might also like