You are on page 1of 4

รัฐบาลเถลิงอำานาจ กับอัมพาตประชาสังคม:

การสูญเสียพืน
้ ที่ส่ ือสารทางการเมืองของประชาชน
สุระชัย ชูผกา

เป็ นที่ประจักษ์กันดีว่าการยึดอำานาจเมื่อ 19 กันยายน พ.ศ.


2549 เป็ นต้นมาสงครามแห่งการแย่งชิงพื้นที่ส่ ือเพื่อส่งสารถึง
ประชาชนในประเทศเป็ นสิ่งที่ดำาเนิ นมาโดยตลอด และฝ่ ายอดีต
นายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตรเป็ นฝ่ ายชนะทีส
่ ามารถสื่อสารยึด
ครองความคิดคำานึ ง(salience) ของประชาชนคนไทยได้โดย
ตลอด จนพาพลังประชาชนเข้าจอดป้ ายประเทศไทยยึดอำานาจ
รัฐสภาและรัฐบาลได้อีกคำารบหนึ่ ง
เพราะกระแสโลกาภิวัฒน์ จึงพาทักษิณกลับมาประเทศไทย
ได้อย่างผ้้ชนะ ไม่นับการบินไปบินมารอบเอเชีย เว็ปไซด์ไฮ
ทักษิณดอทคอม ดาวเทียมถ่ายทอดสดยิงลงสนามหลวง การ
เชื่อมต่อสัญญาณการให้สัมภาษณ์ทักษิณไปยังวิทยุชุมชน การให้
สัมภาษณ์ส่ อ
ื ยักษ์ของโลกเดือนเว้นเดือน การเฉือนชนะครองใจ
คนค่อนประเทศผ่านการยึดครองสโมสรฟุตบอลชื่อดังขวัญใจชาว
ไทย เรียกได้ว่าโลกาภิวัตน์ ทัง้ ทางค่านิ ยม อุดมการณ์และระบบ
การสื่อสาร ทำาให้สิ่งทีท
่ ักษิณ กระพือปี กไม่ว่าที่มุมใดมุมหนึ่ งของ
โลกล้วนสะเทือนถึงประเทศไทยแม้หัวไร่ปลายนา
ความสำาคัญของกระแสโลกาภิวัตน์ และระบบการสื่อสาร
รวดเร็วไร้พรมแดนเช่นนี้จึงไม่แปลกเลยที่รัฐมนตรีประจำาสำานั ก
นายกรัฐมนตรีอย่างจักรภพ เพ็ญแข ผ้้ยกทีมนำ าพีทีวี ทะลุ
ทะลวงอำานาจรัฐมาแล้วกำาลังประเดิมอำานาจใหม่ในมือตนเอง
ด้วยการ “จัดระบบสื่อ” อย่างไม่เกรงอกเกรงใจประชาชนเลย
แม้แต่น้อย การกำาหนดแนวทางยกเครื่องสถานี โทรทัศน์ ช่อง 11
พร้อมกับการพ่วงสัญญาณกับพีทีวี ทีวีดาวเทียมของพวกพ้อง
การประกาศเตรียมรื้อทีวีสาธารณะ ไทยพีบีเอส รวมถึงเตรียมจัด
ระเบียบให้กับเคเบิลทีวีและวิทยุชุมชน โดยไม่กล่าวถึงตัวบท
กฎหมายที่ยังคงมีผลบังคับใช้และได้ให้กรอบแนวทางแห่งการ
ปฏิร้ปสื่อตามเจตนารมย์ของภาคประชาสังคม
์ รีใน
ไม่เพียงแต่ไม่เกรงใจ แต่ต้องกล่าวว่า ยังหยามศักดิศ
บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมน้ญฉบับปั จจุบันที่มาจากการเห็นชอบลง
ประชามติของประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ โดยเฉพาะใน
มาตรา 47 ที่ได้ยืนยันอย่างต่อเนื่ องจากรัฐธรรมน้ญฉบับปี พ.ศ.
2540 ทีร่ ะบุให้คลื่นความถี่ต่างในประเทศไทยไม่ว่าจะเป็ นทาง
ด้านวิทยุโทรทัศน์ และวิทยุกระจายเสียงไม่ว่าจะมีสายหรือไร้สาย
ล้วนเป็ นสมบัติของชาติ ทัง้ ประชาชนทัง่ ประเทศไม่ใช่สมบัติของ
รัฐ แบบชนิ ดที่รัฐบาลจะลุกขึ้นมาจัดการอ้างระบบหรือระเบียบใด
เพื่อประโยชน์ หรือความต้องการของรัฐบาลเองไม่ได้
จากมาตราดังกล่าว ที่ผ่านได้มีเคลื่อนไหวของภาคประชา
สังคมที่ประกอบด้วยภาคประชาชน องค์กรพัฒนาเอกชน หน่ วย
งานภาครัฐ ตลอดจนนั กวิชาการต่างๆ ได้ผลักดันจนเกิดเป็ น
แนวทางที่เป็ นร้ปธรรมที่ชัดเจนในนามการปฏิร้ป ทีส
่ ่งผ่านพระ
ราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2543 และร่างพระ
ราชบัญญัติประกอบกิจการวิทยุโทรทัศน์ และวิทยุกระจายเสียง
ฉบับใหม่ที่กำาลังจะมีผลบังคับในอนาคตอันใกล้ ซึ่งกฎหมายดัง
กล่าวล้วนเคารพและยึดมัน
่ ในหลักความเป็ นอิสระ และการมีส่วน
ร่วมของประชาชน ตรงกันข้ามกับเจตนาของรัฐมนตรีประจำา
สำานั กนายกที่กำาลังเข้ามาจัดการระบบสื่อให้ไปในทิศทางของ
ตนเองเป็ นหลัก
ภายใต้การดำาเนิ นการของรัฐมนตรีจักรภพ สามารถทำาได้
เพราะเพียงการหยิบยกหลักชัยชนะของการได้เสียงข้างมากจาก
การเลือกตัง้ ระบบตัวแทนในการเลือกตัง้ ทัว
่ ไปที่ในระบบ
การเมืองที่เป็ นทางการเป็ นสำาคัญซึ่งเป็ นคำากล่าวอ้างของอำานาจ
นิ ยมยุคเก่าโดยแท้ เพราะตลอดห้วงระยะเวลา 1 ทศวรรษที่ผ่าน
มาเป็ นที่ประจักษ์กันดีแล้ว การเมืองไม่ใช่แค่เรื่องการเลือกตัง้
แต่ยังเป็ นเรื่องของการมีส่วนร่วมของประชาชนในมิติต่างๆ
แต่ทว่ารัฐบาลกำาลังเข้าครอบครองสื่อเพื่อควบคุมการรับร้้
และการร้้สึกของประชาชนในทางการเมืองได้อย่างสนุกมือก็
เพราะความอ่อนเปลี้ยเสียกระบวนของพลังในภาคประชาสังคมผ้้
ซึ่งเคยถากทางสร้างกรอบการปฏิร้ปสื่อจนได้รับการบรรจุเป็ น
กฎหมายสำาคัญของชาติ แม้หินก้อนใหญ่หลายก้อนจากรัฐบาลถ้ก
โยนออกมาถามทางเพื่อการยึดกุมสื่อแต่เสียงเงียบของภาค
ประชาสังคมก็ยังคงดำาเนิ นต่อไป
ความชะงักงันไปจนถึงความไม่สามารถขับเคลื่อนพลังใดๆ
ในซีกประชาสังคมหรือกลุ่มสังคมพลเมืองที่เคยมีอย่างเข้มแข็ง
อย่างต่อเนื่ องมาในอดีตได้ถ้กทำาให้อ่อนแอและแตกแยกอย่างสิ้น
เชิงเมื่อรางวัลแห่งอำานาจมาถึงไม่ว่าจะเป็ นวงการสื่อ ภาคนั ก
วิชาการ องค์กรพัฒนาเอกชน ภาคประชาชนด้านต่างๆ แกนนำ า
ในภาคประชาสังคมนี้ได้วิ่งเข้าหา หรือเข้ามานำ าหน้ ารับใช้ช่วย
ชาติในยุคการยึดอำานาจรอบที่ผ่านมา ตัง้ แต่การตัง้ สมาชิกสภา
นิ ติบัญญัติแห่งชาติ การเข้าเป็ นคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ
ต่างๆ มากมาย ทิง้ รอยแตกแยกของเพื่อนพ้องน้ องพี่ไว้ข้างหลัง
หลายคนสำาคัญส้ญหายไปกับความหอมหวนของอำานาจ ขณะที่
อีกหลายคนค่อยๆ เลิกล้มความมุ่งมัน
่ ตัง้ ใจที่จะขับเคลื่อนพลัง
ต่างๆ เข้าต่อกรกับรัฐบาล ทิ้งไว้เพียงบทสัมภาษณ์ หรือการออก
แถลงการณ์แบบไม่ได้ทำาการบ้านนั ก
อำานาจรัฐ อำานาจทุนกำาลังขับเคลื่อนขี่กระแสโลกาภิวัฒน์
เข้าครอบครองระบบการสื่อสารทางการเมืองควบคุมผ้้คน
ท่ามกลางความอับจนของภาคประชาสังคม ความหวังที่เอื้อใช่ว่า
จะมืดมน หนทางแห่ง Citizen Journalism ของปั จเจกบุคคล
ธรรมดาที่ช่วยกันสื่อเพื่อเพิ่มสารทางการเมืองในโลกอินเตอร์ยัง
คงช่องทางการสื่อสารทางการเมืองของประชาชนคนธรรมดาที่ไม่
ต้องมีอุดมการณ์ส้งส่งอย่างภาคประชาสังคมที่เอื้ออำานายให้ช่วย
กันแลกเปลี่ยนข้อม้ล ข่าวสาร ทัศนคติความคิดเห็นและการ
วิพากษ์วิจารณ์ตรวจสอบสำานึ กของผ้้นำาไม่ให้เถลิงอำานาจได้ง่าย

You might also like