You are on page 1of 134

การพัฒนาตูอ้ บและกระบวนการอบแห้งข้าวแต๋ น โดยการใช้หวั เผาแก๊สชนิดอินฟาเรด

THE DEVELOPMENT OF OVEN AND DRYING RICE CAISPS PROCESS USING


INFRARED BURNER GAS

นายณัฐกิตติ7 ณ ลําปาง
นายปิ ยะ ปั ญญา
นายสรายุทธ บุญเลา

ปริ ญญานิพนธ์น@ ี เป็ นส่ วนหนึD งของการศึกษาตามหลักสู ตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต


สาขาวิชาเทคโนโลยีเครืD องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพเชียงใหม่
พ.ศ. 2554
ลิขสิ ทธิ7 ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การพัฒนาตูอ้ บและกระบวนการอบแห้งข้าวแต๋ น โดยการใช้หวั เผาแก๊สชนิดอินฟาเรด
THE DEVELOPMENT OF OVEN AND DRYING RICE CAISPS PROCESS USING
INFRARED BURNER GAS

นายณัฐกิตติ7 ณ ลําปาง
นายปิ ยะ ปั ญญา
นายสรายุทธ บุญเลา

ปริ ญญานิพนธ์น@ ี เป็ นส่ วนหนึD งของการศึกษาตามหลักสู ตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต


สาขาวิชาเทคโนโลยีเครืD องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพเชียงใหม่
พ.ศ. 2554
ลิขสิ ทธิ7 ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
THE DEVELOPMENT OF OVEN AND DRYING RICE CAISPS PROCESS USING
INFRARED BURNER GAS

Mr. Nuttakit Na Lumpamg


Mr. Piya Punya
Mr. Sarayuth Boonlao

This Project Report Submitted in Partial Fulfillment of


The Requirement for the Degree of Bachelor of
Industrial Technology, Program in of Mechanical Technology, Faculty of Engineering
Rajamangala University of Technology Lanna
2011
Copyright Faculty of Engineering Rajamangala University of Technology Lanna

หัวข้อปริ ญญานิพนธ์ : การพัฒนาตูอ้ บและกระบวนการอบแห้งข้าวแต๋ น โดยการใช้หวั เผา


แก๊สชนิดอินฟาเรด
โดย : นายณัฐกิตติ( ณลําปาง นายปิ ยะ ปั ญญา
และนายสรายุทธ บุญเลา
สาขาวิชา : เทคโนโลยีเครื/ องกล
หลักสู ตร : อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต
อาจารย์ที/ปรึ กษา : อาจารย์นิลวรรณ ไชยทนุ

สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื/ องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล


ล้านนาภาคพายัพเชี ยงใหม่ อนุ มตั ิให้ปริ ญญานิ พนธ์ น9 ี เป็ นส่ วนหนึ/ งของการศึ กษาตามหลักสู ตร
ปริ ญญาอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต

................................................... หัวหน้าหลักสู ตรเทคโนโลยีเครื/ องกล


(อาจารย์อนุ วตั ร ศรี นวล)

คณะกรรมการสอบปริ ญญานิพนธ์

................................................. ประธานกรรมการ
(อาจารย์อนุ วตั ร ศรี นวล)

................................................. กรรมการ
(อาจารย์กนก ภูคาม)

................................................. กรรมการ
(อาจารย์เฉลิม ยาวิลาศ)

................................................. กรรมการ
(อาจารย์อิศเรศ ไชยพิสุทธิ พงค์)

................................................. อาจารย์ที/ปรึ กษา


(อาจารย์นิลวรรณ ไชยทนุ)

หัวข้อปริ ญญานิพนธ์ : การพัฒนาตูอ้ บและกระบวนการอบแห้งข้าวแต๋ น โดยการใช้หวั เผา


แก๊สชนิดอินฟาเรด
โดย : นายณัฐกิตติ) ณ ลําปาง นายปิ ยะ ปั ญญา
และนายสรายุทธ บุญเลา
สาขาวิชา : เทคโนโลยีเครื/ องกล
หลักสู ตร : อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต
อาจารย์ที/ปรึ กษา : อาจารย์นิลวรรณ ไชยทนุ
ปี การศึกษา : 2554

บทคัดย่ อ

ปริ ญญานิ พนธ์น: ี เป็ นการสร้ างตูอ้ บและพัฒนากระบวนการอบแห้งข้าวแต๋ น โดยการใช้


หัวเผาแก๊สชนิ ดอินฟาเรด ซึ/ งใช้ก๊าซLPGเป็ นเชื:อเพลิงในการให้ความร้อนแก่อุปกรณ์แลกเปลี/ยน
ความร้ อน และใช้โบลเวอร์ ไหลตามแกนดู ดอากาศจากภายนอกเป่ าไหลผ่านเครื/ องแลกเปลี/ ยน
ความร้อน ลมร้อนนั:นจะเข้าสู่ ภายในตูอ้ บ โดยมีชุดควบคุมอุณหภูมิเป็ นตัวควบคุมอุณหภูมิภายใน
ตูอ้ บและห้องอบสามารถอบข้าวแต๋ นได้ครั:งละ 30 ถาด ซึ/ งสามารถบรรจุขา้ วแต๋ นประมาณ 45
กิโลกรัมนํ:าหนักเปี ยก เพื/อให้ได้ตูอ้ บที/มีประสิ ทธิ ภาพสู งกว่าตูอ้ บเดิมของชาวบ้านโดยศึกษาจาก
ความชื: น อุณหภูมิ สี เวลา ความเร็ วรอบของมอเตอร์ พดั ลมและปริ มาณการใช้เชื:อเพลิงในการอบ
ข้าวแต๋ น
จากการทดลอบสรุ ปได้วา่ ใช้ที/อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยส ที/ความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อ
นาทีซ/ ึ งมีประสิ ทธิ ภาพลดความชื: นสู ง การลดความชื:นเป็ นแบบต่อเนื/ องพบว่า ใช้เวลาในการลด
ความชื: น 330 นาที กําจัดความชื:น 40.13 % มาตรฐานเปี ยก นํ:าหนักที/หายไป 17.9 กิโลกรัม อัตรา
การสิ: นเปลืองพลังงานไฟฟ้ า 4.2 บาทต่อครั:ง และอัตราการสิ: นเปลืองก๊าซ LPG 2.4 กิโลกรัมต่อ
การลดความชื: นหนึ/ งครั: งซึ/ งประหยัดกว่าตูเ้ ดิ ม 19.5 กิ โลกรั มต่อครั: งและเครื/ องอบข้าวแต๋ น
สามารถคืนทุนภายในระยะเวลาประมาณ 2 เดือน

Dissertation : The Development of Oven and Drying Rice Caisps Process Using Infrared
Burner Gas.
By : Mr. Nuttakit Na Lampang Mr. Piya Panya and Mr.Sarayuth Boonlao
Major : Mechanical Technology.
Course : Bachelor of Industrial Technology.
Advisor : Ms. Ninlawan Chitanu
Year : 2011

Abstract

This project constructed oven and developed drying process of Rice Crisps by using
infrared gas burner LPG was fuel for heat exchanger Axial flow blower flowed hot air out of
exchanger into oven within the oven had a temperature controller set this oven can dried 30 trays
or 45 kg.(initialweight) to time. To require has the must efficiency, it was studied from moisture
temperature color time speed of motor blower and fuel consumption.
From the results, the highest effective for decreasing the moisture of Rice Crips was 50
°C with a velocity 1,480 rpm and used 330 min to remove the moisture 40.13% w.b. weight lost
17.9 kg, electricity consumption 4.2 baht/time and LPG consumption 2.4 kg/times. Save fuel
more than 19.5 kg/times. and oven of Rice Crisps can the payback period about 2 Months.

กิตติกรรมประกาศ

ตามทีคณะผูจ้ ดั ทําปริ ญญานิ พนธ์ “การพัฒนาตูอ้ บและกระบวนการอบแห้งข้าวแต๋ น โดย


ใช้หัวเผาแก๊สชนิ ดอิ นฟาเรด” ได้ดาํ เนิ นการสร้ างและทําเอกสารปริ ญญานิ พนธ์ของเรื องดังกล่าว
จนสําเร็ จลุล่วงด้วยดี
ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์นิลวรรณ ไชยทนุ ทีได้กรุ ณาเป็ นทีปรึ กษาให้คาํ ปรึ กษาต่างๆ
ในทุกๆเรื อง ขอบคุณผูช้ ่ วยศาสตราจารย์ ดร.ชูรัตน์ ธารารักษ์ ทีช่วยให้คาํ ปรึ กษาในเรื องรายละเอียด
ต่างๆของตูอ้ บ รวมทั9งคณาจารย์ของสาขาเทคโนโลยีเครื องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิท ยาลัย
เทคโนโลยีร าชมงคลล้า นนา ภาคพายัพเชี ยงใหม่ ทุกท่าน ทีให้ความกรุ ณาถ่ายทอดความรู ้อบรม
สังสอนและสละเวลาให้คาํ ปรึ กษาและให้คาํ แนะนําแก่ผจู ้ ดั ทําปริ ญญานิพนธ์
ขอขอบคุณกลุ่มบริ หารงานจัดการงานวิจยั สภาบันวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลล้า นนา ที สนับ สนุ นวิจยั ภายใต้โครงการพัฒนาศัก ยภาพงานวิจยั ของนัก ศึ ก ษา มทร.
ล้านนาผ่านกระบวนการเรี ยนรู ้เชิงบูรณาการเรี ยนกับการทํางาน
คณะผูจ้ ดั ทํา ปริ ญ ญานิ พ นธ์ น9 ี ต อ้ งขอกราบขอบพระคุ ณ บิ ด า มารดา และญาติ พี น้อ ง
ของคณะผูจ้ ดั ทํา ที ให้ก ารอบรมสั งสอนคอยเป็ นกํา ลัง ใจและให้ก ารสนับ สนุ น ในทุก ๆ ด้า น
ตลอดมา
ขอขอบคุ ณ เพื อนๆ และรุ ่ น พี รุ่ น น้ อ งนัก ศึ ก ษาสาขาเทคโนโลยี เ ครื องกลทุ ก ท่า น
ตลอดจนผูท้ ี ไม่ไ ด้ก ล่ า วนามทีได้ให้ความช่ วยเหลื อแนะนํา และติชมจนทําให้โครงการปริ ญญา
นิพนธ์น9 ี สําเร็ จลุล่วงด้วยดี
ขอขอบคุ ณกลุ่มผูผ้ ลิ ตข้าวแต๋ นโดยเฉพาะกลุ่มข้าวแต๋ นสุ มาลี ทีไห้คาํ ปรึ กษาในเรื องการ
อบข้าวแต๋ นและให้สถานทีในการทําโครงงานวิจยั นี9
ทางผูจ้ ดั ทําหวังเป็ นอย่างยิงว่าปริ ญญานิพนธ์น9 ีจะเป็ นประโยชน์ต่อผูม้ ีความสนใจตลอดจน
สามารถนําไปใช้งานได้จริ ง

คณะผูจ้ ดั ทํา
ณัฐกิตติ> ณ ลําปาง
ปิ ยะ ปั ญญา
สรายุทธ บุญเลา
สารบัญ

หน้า
ใบรับรองโครงการปริ ญญานิ พนธ์ ก
บทคัดย่อ ค
กิตติกรรมประกาศ จ
สารบัญ ฉ
สารบัญรู ป ฌ
สารบัญตาราง ฏ
สารบัญกราฟ ฑ
คําอธิ บายสัญญาลักษณ์ ฒ
บทที 1 บทนํา
1.1 ความสําคัญและที/มาของโครงการ 1
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 2
1.3 ขอบเขตของโครงการ 2
1.4 ประโยชน์ที/คาดว่าจะได้รับ 3
1.5 สถานที/ดาํ เนินโครงการ 3

บทที 2 หลักการและทฤษฎีทีเกียวข้ อง
2.1 ข้าว 4
2.2 การแปรรู ปผลิตภัณฑ์จากข้าว 5
2.3 ทฤษฎีของการอบแห้ง 6
2.4 เทคโนโลยีการอบแห้ง 8
2.5 การแลกเปลี/ยนความร้อน 14
2.6 ฉนวนความร้อน 17
2.7 ลักษณะการทํางานของหัวแก๊สชนิดอินฟาเรด 19
2.8 คุณสมบัติดา้ นสี ของวัสดุอาหาร 20
2.9 ความชืEนวัสดุ 21
2.10 การคํานวณไฟฟ้ า 22
2.11 ความร้อนจาการเผาไหม้เชืEอเพลิง 23

สารบัญ (ต่ อ)
หน้า
2.12 อุปกรณ์แลกเปลี/ยนความร้อน 23
2.13การประเมินผลของการอบแห้ง 26
2.14 อัตราการระเหยนํEาจากการอบแห้ง 27
2.15 ปริ มาณลมที/ตอ้ งใช้ในการอบแห้ง 27
2.16 ขนาดของแหล่ความร้อน 28
2.17 ประสิ ทธิ ภาพรวม 28
2.18 มอเตอร์ 29

บทที 3 การออกแบบ สร้ าง และวิธีดําเนินงานวิจัย


3.1 ลักษณะของตูอ้ บข้าวแต๋ นเดิม 30
3.2 หลักการทํางานของตูอ้ บข้าวแต๋ นโดยใช้หวั เผาแก๊สชนิดอินฟาเรด 31
3.3 เงื/อนไขการออกแบบ 32
3.4 ขัEนตอนการออกแบบ 33
3.5 ขัEนตอนการสร้าง 33

บทที 4 อุปกรณ์ การทดลองและผลการทดลอง


4.1 อุปกรณ์ที/ใช้ในการทดลอง 42
4.2 วิธีการทดลอง 47
4.3 ผลการทดลอง 50

บทที 5 สรุ ปผลการทดลองและข้ อเสนอแนะ


5.1 สรุ ปผลการทดลอง 55
5.2 ข้อเสนอแนะ 55

เอกสารอ้ างอิง 56

สารบัญ (ต่ อ)
หน้า
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก การคํานวณ ก-1
ภาคผนวก ข แบบตูอ้ บข้าวแต๋ น ข-1
ภาคผนวก ค รู ปตูอ้ บข้าวแต๋ น ค-1
ภาคผนวก ง ตารางผลการทดลอง ง-1
ภาคผนวก จ ตารางที/ใช้ประกอบการคํานวณ จ-1
ภาคผนวก ฉ งบประมาณในการดําเนิ นงาน ฉ-1
ภาคผนวก ช คู่มือการใช้งาน ช-1
ภาคผนวก ซ ประวัติผเู ้ ขียน ซ-1

สารบัญรู ป

รู ปที/ หน้า
2.1 การอบแห้งในช่วงอัตราการอบแห้งคงที/และลดลง 7
2.2 เครื/ องอบแห้งแสงอาทิตย์แบบอากาศไหลแบบธรรมชาติ 9
2.3 เครื/ องอบแห้งแสงอาทิตย์แบบการไหลของอากาศเป็ นแบบบังคับ 9
2.4 ตูอ้ บแห้งแบบอุโมงค์ลม 10
2.5 เครื/ องอบแห้งแบบตู ้ 11
2.6 เครื/ องอบแห้งแบบสายพาน 11
2.7 เครื/ องอบแห้งแบบฉี ดพ่นฝอย 12
2.8 เครื/ องอบแห้งแบบฟลูอิไดซ์เบด 13
2.9 เครื/ องอบแห้งแบบโรตารี/ 13
2.10 แสดงหลักการถ่ายเทความร้อน 14
2.11 อุปกรณ์แลกเปลี/ยนความร้อนแบบท่อ 15
2.12 อุปกรณ์แลกเปลี/ยนความร้อนแบบ Shell กับ Tube 16
2.13 อุปกรณ์แลกเปลี/ยนความร้อนแบบ Shell กับ Tube 16
2.14 อุปกรณ์แลกเปลี/ยนความร้อนแบบแผ่น 17
2.15 ฉนวนกันความร้อนชนิดใยแก้ว 19
2.16 การบรรยายสี ในระบบ CIE Lab มองในระนาบ 2 มิติ 21
2.17 อุณหภูมิของไหลแบบไหลขวางในเครื/ องแลกเปลี/ยนความร้อนแบบท่อ 2 ชัEน 23
2.18 สัมประสิ ทธิW การถ่ายรับความร้อนทัEงหมดของเครื/ องแลกเปลี/ยนความร้อน
แบบท่อ 2 ชัEน 24
3.1 ลักษณะตูอ้ บข้าวแต๋ นเดิม 31
3.2 ลักษณะตูอ้ บข้าวแต๋ นเดิม 31
3.3 รู ปตูอ้ บข้าวแต๋ นที/ออกแบบสร้างขึEน 32
3.4 โครงสร้างตูอ้ บ 34
3.5 การบุฉนวนกันความร้อนโครงตูอ้ บ 34
3.6 ชัEนวางสําหรับวางถาดข้าวแต๋ น 35
3.7 โครงสร้างประตูตูอ้ บ 35

สารบัญรู ป (ต่ อ)
รู ปที/ หน้า
3.8 จัว/ สามเหลี/ยมด้านข้าง และด้านบน 36
3.9 ท่อทางไหลของอากาศชิEนที/ 1 37
3.10 ท่อทางไหลของอากาศชิEนที/ 2 37
3.11 ท่อทางไหลของอากาศชิEนที/ 3 38
3.12 ท่อทางไหลของอากาศชิEนที/ 4 38
3.13 โครงสร้างอุปกรณ์แลกเปลี/ยนความร้อน 39
3.14 ชุดอุปกรณ์แลกเปลี/ยนความร้อน 39
3.15 ชุดท่อภายในอุปกรณ์แลกเปลี/ยนความร้อน 40
3.16 หัวเผาแก๊สชนิดอินฟาเรด 40
3.17 ชุดโบเวอร์ ไหลตามแกน 41
4.1 เทมป์ คอนโทรล 42
4.2 เทอร์ โมมิเตอร์ กระเปาะแห้ง 43
4.3 เทอร์ โมมิเตอร์ กระเปาะเปี ยก 43
4.4 เครื/ องชัง/ 44
4.5 ถาดวางข้าวแต๋ น 44
4.6 ข้าวแต๋ นที/ใช้ในการอบ 45
4.7 เครื/ องวัดความเร็ วลม 45
4.8 เครื/ องวัดกระแสไฟฟ้ า 46
4.9 นาฬิกาจับเวลา 46
4.10 ถังแก๊สขนาด 15 กิโลกรัม 47
4.11 ชัEนวางถาดข้าวแต๋ น 47
4.12 การตรวจชัง/ นํEาหนักทุกๆ 15 นาที 48
4.13 แสดงถาดข้าวแต๋ นที/ใช้ในการสุ่ มตรวจนํEาหนัก 49
4.14 ข้าวแต๋ นที/ผา่ นการอบและตรวจวัดจนความชืEนที/เหมาะสม 50
ค.1 ตูอ้ บแห้งข้าวแต๋ นโดยใช้หวั เผาแก๊สชนิดอินฟาเรด ค-1
ค.2 ตูอ้ บแห้งข้าวแต๋ นด้านหน้า ค-1
ค.3 อุปกรณ์แลกเปลี/ยนความร้อน ค-2

สารบัญรู ป (ต่ อ)
รู ปที/ หน้า
ค.4 โบเวอร์ ไหลตามแกน ค-2
ค.5 ถาดชัEนวางภายในตูอ้ บ ค-3
ค.6 หัวเผาแก๊สชนิ ดอินฟาเรด และหัวจุดแก๊ส ค-3
ค.7 ตูค้ อนโทรล ค-4
ค.8 ท่อทางไหลของอากาศชิEนที/1 ค-4
ค.9 ท่อทางไหลของอากาศชิEนที/2 ค-5
ค.10 ท่อทางไหลของอากาศชิEนที/3 ค-5
ค.11 ท่อทางไหลของอากาศชิEนที/4 ค-6

สารบัญตาราง

ตารางที/ หน้า
2.1 การเปรี ยบเทียบหัวเผาแก็ส 2 ชนิด 19
2.2 ค่าประมาณของสัมประสิ ทธิWการถ่ายรับความร้อนทัEงหมด 24
4.1 ตารางแสดงการเปรี ยบเทียบค่าสี ของข้าวแต๋ น 52
ง.1 ผลการทดลองช่วงอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยส ที/ความเร็ วรอบ 986.66
รอบต่อนาที ง-1
ง.2 ผลการทดลองช่วงอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยส ที/ความเร็ วรอบ 1233.33
รอบต่อนาที ง-2
ง.3 3 ผลการทดลองช่วงอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยส ที/ความเร็ วรอบ 1480
รอบต่อนาที ง-3
ง.4 ผลการทดลองช่วงอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยส ที/ความเร็ วรอบ 986.66
รอบต่อนาที ง-4
ง.5 ผลการทดลองช่วงอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยส ที/ความเร็ วรอบ 1233.33
รอบต่อนาที ง-5
ง.6 ผลการทดลองช่วงอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยส ที/ความเร็ วรอบ 1480
รอบต่อนาที ง-6
ง.7 ผลการพล๊อตกราฟไซโครเมตริ กของอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยส
ความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาที ง-7
ง.8 ผลการพล๊อตกราฟไซโครเมตริ กของอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยส
ความเร็ วรอบ 1233.33 รอบต่อนาที ง-8
ง.9 ผลการพล๊อตกราฟไซโครเมตริ กของอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยส
ความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาที ง-9
ง.10 ผลการพล๊อตกราฟไซโครเมตริ กของอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยส
ความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาที ง-10
ง. 11 ผลการพล๊อตกราฟไซโครเมตริ กของอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยส
ความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาที ง-11

สารบัญตาราง (ต่ อ)

ตารางที/ หน้า
ง. 12 ผลการพล๊อตกราฟไซโครเมตริ กของอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยส
ความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาที ง-12
ง. 13 ผลการชัง/ นํEาหนักของข้าวแต๋ นที/อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยส
ความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาที ง-13
ง. 14 ผลการชัง/ นํEาหนักของข้าวแต๋ นที/อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยส
ความเร็ วรอบ 1233.33 รอบต่อนาที ง-14
ง. 15 ผลการชัง/ นํEาหนักของข้าวแต๋ นที/อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยส
ความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาที ง-15
ง. 16 ผลการชัง/ นํEาหนักของข้าวแต๋ นที/อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยส
ความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาที ง-16
ง. 17 ผลการชัง/ นํEาหนักของข้าวแต๋ นที/อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยส
ความเร็ วรอบ 1233.33 รอบต่อนาที ง-18
ง. 18 ผลการชัง/ นํEาหนักของข้าวแต๋ นที/อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยส
ความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาที ง-19

สารบัญกราฟ

กราฟที/ หน้า
4.1 กราฟแสดงความชืEนที/ถูกกําจัดของข้าวแต๋ นมาตรฐานเปี ยกเทียบกับเวลา 51
4.2 กราฟแสดงการเปรี ยบเทียบ ที/อุณหภมิ 50 oC 53
4.3 กราฟแสดงการเปรี ยบเทียบ ที/อุณหภมิ 60 oC 53
4.4 ประสิ ทธิ ภาพรวมของเครื/ องอบข้าวแต๋ น 54

อักษรย่ อและสั ญลักษณ์

A : มูลค่าของเงินรายเดือนหรื อรายปี ที/มีค่าสมํ/าเสมอ (บาท)


: มวลของวัตถุแห้ง (ไม่มีความชืEน) (kg)
: ประสิ ทธิ ภาพของพัดลม (%)
F : มูลค่าหรื อผลรวมของเงินในอนาคต (บาท)
: อากาศแวดล้อมก่อนนํามาเพิ/มความร้อน (kJ/kg)
: เอนธัลปี หลังจากการเพิ/มความร้อน (kJ/kg)
: ค่าเอนธัลปี อากาศที/อุณหภูมิอบแห้ง (kJ/kg)
: ความร้อนแฝงในการระเหยนํEา (kj/kg)
: ค่าเอนธัลปี อากาศแวดล้อมก่อนนํามาเพิ/มอุณหภูมิ (kJ/kg)
i : อัตราดอกเบีEยหรื ออัตราผลตอบแทนต่อช่วงเวลาหน่วยเปอร์ เซ็นต์ต่อปี (%)
K : ประเภทของวัสดุ (ตัวแปรไร้มิติ)
: มวลของวัตถุ (kg)
: ปริ มาณความชืEนมาตรฐานเปี ยกสุ ดท้าย (%)
: มวลของเชืEอเพลิง (kg)
: คือปริ มาณความชืEนมาตรฐานเปี ยกเริ/ มต้น (%)
: นํEาหนักนํEาที/ตอ้ งระเหย (kg)
: ความเร็ วรอบของสกรู ขนถ่ายวัสดุ (rpm)
N : จํานวนช่วงเวลาสําหรับการวิเคราะห์ หน่วย ปี เดือน หรื อวัน (%)
P : มูลค่าหรื อผลรวมของเงินในช่วงเวลาที/กาํ หนดให้เป็ นปั จจุบนั (บาท)
: ขนาดของแหล่งความร้อน (kw)
: ค่าความร้อนรวมของเชืEอเพลิง (kw)
: กําลังของแหล่งความร้อน (kw)
: อุณหภูมิกระเปาะเปี ยก ( )
: เวลาอบแห้ง (hr)
Tdb : อุณหภูมิกระเปาะแห้ง ( )
: นํEาหนักนํEาที/ตอ้ งระเหยออก (kg

อักษรย่ อและสั ญลักษณ์ (ต่ อ)

: อัตราส่ วนความชืEนอากาศหลังอบแห้ง (kg-water/kg-air)


: ส่ วนความชืEนอากาศก่อนอบแห้ง (kg-water/kg-air)
: มวลของนํEาที/ถูกกําจัดออก (kg)
: ความหนาแน่นของวัสดุ (lb/f )
: ความดันตกคร่ อม (Pa)
บทที 1
บทนํา

1.1 ความสํ าคัญและทีมาของโครงการ


บ้านทุ่งม่านเหนือ ตําบลบ้านเป้ า เป็ นส่ วนหนึงของอําเภอเมือง จังหวัดลําปาง เนือที 17,511
ไร่ ใช้ท าํ การเกษตร 13,000 ไร่ จํานวนครั วเรื อน 224 ครั วเรื อน บ้า นทุ่งม่านเหนื อมี ล ักษณะภู มิ
ประเทศ โดยมี ส ภาพพื นที เป็ นที ราบ มี ล ํา นําแม่ ต๋ ุ ย ไหลผ่า น ประชากรส่ ว นใหญ่ จึ ง ทํา อาชี พ
เกษตรกรรมคือปลูกข้าวซึ งเป็ นอาชี พหลัก แต่หลังจากฤดูปลูกข้าวอาชี พรองทีสําคัญอีกหนึ งอย่าง
คือ การแปรรู ปผลผลิ ตทางการเกษตร บ้านทุ่งม่านเหนื อเป็ นหมู่บา้ นดี เด่นระดับจังหวัดในปี 2542
ของสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ และเป็ นหมู่บา้ นชุมชนดีเด่นสู ้ภยั เศรษฐกิจ ระดับจังหวัดในปี 2543
ปั จจุ บนั ชาวบ้านทุ่ งม่า นเหนื อรวมตัวกันเป็ นกลุ่ ม เพือผลิ ตสิ นค้าชุ ม ชน ซึ งมี กลุ่ ม อาชี พ
เด่นๆ เป็ นสิ นค้าหนึ งตําบล หนึ งผลิตภัณฑ์ (OTOP) คือ กลุ่มข้าวแต๋ นนําแตงโม บ้านทุ่งม่านเหนื อ
เป็ นหมู่บา้ นทีมีการรวมกลุ่มกันเพือทําเป็ นอาชี พเสริ มเพิมรายได้ จํานวนหลายกลุ่ม ทีสําคัญคือการ
รวมกลุ่มทําข้าวแต๋ นนําแตงโม โดยมีกลุ่มแม่บา้ นเกษตรกรของหมู่บา้ น 1 กลุ่ม และมีกลุ่มรายย่อย
ในหมู่บา้ นอี ก 20 กลุ่ ม ซึ งมีการนําภูมิปัญญาชาวบ้านมาพัฒนาเป็ นรู ปแบบทันสมัยคื อ สมัยก่อน
ชาวบ้านจะนําข้าวที เหลื อจากการรั บประทาน มาตากแห้งเพือเก็บไว้กินในวันต่อไปซึ งใช้พืนที
จํานวนมากและใช้เวลานาน 2-3 วัน ขึนอยู่กบั สภาพอากาศ จากนันได้มีการพัฒนาขึนเปลี ยนจาก
การตากแห้งซึ งใช้ความร้ อนจากแสงอาทิตย์มาเป็ นการอบแห้งด้วยตูอ้ บอย่างง่ายซึ งใช้ความร้ อน
จากชี วมวล (ฟื น) อีกทังมีการแต่งหน้าข้าวแต๋ นให้มีหน้าตาทีน่ารับประทานยิงขึนด้วยนําตาลอ้อย
และโรยงา หรื อทําเป็ นหน้าธัญพืช หน้าหมูหยอง ฯลฯ ซึ งกลุ่ ม อาชี พดังกล่ าวนี ทําให้ชาวบ้านมี
รายได้เพิมขึนเฉลีย 50,000 บาท/คน/ปี
ในระยะแรกถึ งปั จจุ บนั การแปรรู ปข้าวให้เป็ นผลิ ตภัณฑ์ขา้ วแต๋ นอบแห้งที พร้ อมนําไป
ทอดเพือบรรจุออกไปขายต่อในท้องตลาด ชาวบ้านได้ใช้ภูมิปัญญาท้องถินพัฒนาจากตูอ้ บอย่างง่าย
มาเป็ นการสร้างตูอ้ บ จากการใช้แผ่นยิปซัมต่อเป็ นห้องสี เหลี ยม ภายในมีชนที ั สําหรับวางถาดข้าว
แต๋ นเปี ยกที ผ่านการขึ นรู ปแล้วใช้แก๊สหุ งต้มหรื อแก๊ส LPG เป็ นตัวให้ความร้ อน ซึ งมี เตาแก๊ ส
เพื อให้ความร้ อนอยู่ด้า นล่ า งของตู ้อบ จากลัก ษณะของตูอ้ บแห้งของชาวบ้า นที มี อยู่ในปั จจุ บ นั
พบว่า ความแห้งของแผ่นข้าวแต๋ นจะไม่ทวถึ ั ง จึงต้องมีการสลับถาดในชันวางอยู่บ่อยครังเพือให้
2

ข้าวแต๋ นแห้งได้ทวถึั ง อีกทังหัวแก๊สธรรมดามีเปลวไฟมาก ซึ งเกิดการติดไฟกับข้าวแต๋ นในถาดชัน


ล่างอยูบ่ ่อยครัง มีกลินเหม็นไหม้รวมกับกลินของแก๊สหุ งต้ม ติดค้างอยูใ่ นข้าวแต๋ น ปั ญหาทีเกิดขึน
คือ คุณภาพของข้าวแต๋ นทีอบแห้งมีคุณภาพไม่คงที มีกลินไม่พึงประสงค์ติดมาด้วย ในการอบแต่ละ
ครังจะต้องเปิ ด-ปิ ดตูอ้ บบ่อยครังเพือสลับถาด ทําให้สูญเสี ยความร้อนออกไป ตูม้ ีผนังทีไม่สามารถ
เก็บความร้ อนได้ และใช้เวลาในการอบแต่ละครังนานถึ ง 5 ชัวโมง ทําให้สินเปลื องเชื อเพลิ งใน
ปริ มาณมากซึ งปั จจุบนั ราคาแก๊ส LPG มีราคาทีสู งขึน ซึ งแก๊ส LPG เป็ นเชื อเพลิงทีเป็ นผลพลอยได้
จากการกลันนํามัน ดิ บ ซึ งเป็ นทรั พ ยากรธรรมชาติ ที ใช้แ ล้ว หมดไป อี ก ทังในปั จ จุ บ ัน ปริ ม าณ
นํามันดิ บบนโลกก็ลดน้อยลงไปทุกที โดยในการอบแต่ละครั งมีกาํ ลังการผลิ ตที 32 กิ โลกรั ม
นําหนักเปี ยก จะใช้ถงั แก๊ส LPG ขนาด 15 กิโลกรัม จํานวน 1 ถัง
ดังนันแนวทางการพัฒนาการแปรรู ปข้าวให้เป็ นข้าวแต๋ นโดยการอบแห้งของชาวบ้านทุ่ง
มานเหนื อนี จึงมุ่งเน้นทีจะพัฒนาตูอ้ บและกระบวนการอบแห้งข้าวแต๋ นโดยการใช้แก๊ส LPG ด้วย
หัวเผาแก๊สชนิ ดอินฟราเรดเพือให้เหมาะสมกับสภาพพืนทีจริ ง ซึ งจะทําให้สามารถลดเวลา ใช้งาน
ง่าย เคลือนย้ายสะดวกและลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในกระบวนการอบแห้งนี อันจะส่ งผลให้
เกิ ดการอยู่ร่วมกันระหว่างชุ มชนกับธรรมชาติได้อย่างยังยืน และทําให้ความเป็ นอยู่ของประชากร
อยูด่ ีมีสุข สามารถพึงตนเองได้ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพือออกแบบและสร้างตูอ้ บข้าวแต๋ น โดยใช้พลังงานความร้อนจากแก็สหุ งต้มด้วยหัว
เผาชนิดอินฟาเรด
1.2.2 เพือศึกษาตัวแปรทีส่ งผลต่อกระบวนการอบข้าวแต๋ น
1.2.3 ประเมินประสิ ทธิ ภาพของตูอ้ บข้าวแต๋ นทีสร้างขึน

1.3 ขอบเขตของโครงการ
1.3.1 ทําการออกแบบและสร้างตูอ้ บข้าวแต๋ น โดยใช้พลังงานความร้อนจากแก็สหุ งต้มด้วย
หัวเผาชนิดอินฟาเรด
1.3.2 ศึกษาอุณหภูมิที 50 60 องศาเซลเซี ยล และความเร็ วของอากาศ (โดยปรับเปลียนมูเล่ย ์
ขนาด 2นิว 2.5นิว 3นิว) ทีเหมาะสมของการอบข้าวแต๋ น
3

1.4 ประโยชน์ ทคาดว่


ี าจะได้ รับ
1.4.1 ได้ตูอ้ บข้าวแต๋ นต้นแบบทีมีประสิ ทธิ ภาพสู งขึนคือใช้งานง่ายและข้าวแต๋ นทีผ่านการ
อบมีคุณภาพดี
1.4.2 ลดความสิ นเปลื องของเชื อเพลิ งในการอบข้าวแต๋ นและเพิมผลผลิ ตออกสู่ ตลาดได้
มากขึน
1.4.3 เพือเผยแพร่ เทคโนโลยีให้แก่กลุ่มชาวบ้านทีเป็ นผูป้ ระกอบการ

1.5 สถานทีดําเนินโครงการ
สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ล้านนา ภาคพายัพเชียงใหม่ ถนนห้วยแก้ว ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300
บทที 2
หลักการและทฤษฎีทเกี
ี ยวข้ อง

สําหรับบทนี จะเป็ นเนื อหาหลักการและทฤษฎีต่างๆทีเกียวข้อง ในเรื องของตูอ้ บข้าวแต๋ น


เพือทีจะนํามาเป็ นแนวทางในการออกแบบและสร้าง โดยจะรวบรวมข้อมูลต่างๆไว้ดงั นี

2.1 ข้ าว [1]
ข้าว เป็ นพืชล้มลุ กตระกูลหญ้าทีสามารถกิ นเมล็ดได้ ถื อเป็ นพืชใบเลียงเดี ยวเช่ นเดี ยวกับ
หญ้า ต้นข้าวมีลกั ษณะภายนอกบางอย่าง เช่น ใบ กาบใบ ลําต้น และรากคล้ายต้นหญ้า ในประเทศ
ไทยข้าวหอมมะลิเป็ นสายพันธุ์ทีนิ ยมไปทัวโลก ข้าวทีนิ ยมบริ โภคมีอยู่ 2 สปี ชี ส์ใหญ่ๆ คือ Oryza
glaberrima ปลูกเฉพาะในเขตร้อนของแอฟริ กาเท่านัน และ Oryza sativa ปลูกทัวไปทุกประเทศ
ข้าวชนิด Oryza sativa ยังแยกออกได้เป็ น
Indica มีปลูกมากในเขตร้อน
Japonica มีปลูกมากในเขตอบอุ่น

ข้า วที ปลู ก ในประเทศไทยเป็ นพวก Indica ซึ งแบ่ง ออกเป็ นข้า วเจ้า และข้า วเหนี ย ว
นอกจากนี ข้าวยังได้ถูกมนุ ษย์คดั สรรและปรับปรุ งพันธุ์มาโดยตลอดตังแต่มีประวัติศาสตร์ การ
เพาะปลูกข้าวในปั จจุบนั จึงมีหลายหลายพันธุ์ทวโลกที
ั ให้รสชาติและประโยชน์ใช้สอยต่างกันไป
พันธุ์ขา้ วทีมีชือเสี ยงระดับโลกของไทย คือ ข้าวหอมมะลิ
ข้าวแบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท คือ ข้าวเจ้า และ ข้าวเหนี ยว ซึ งมีลกั ษณะเหมือนกันเกือบ
ทุกอย่างแต่ต่างกันตรงทีเนือแข็งในเมล็ด
2.1.1 ข้าวเจ้า (Oryza sativa)
ข้าวเจ้าประกอบด้วยแป้ ง อมิโลส (Amylose) ประมาณร้ อยละ 15-30 เปอร์ เซ็นต์ จะมี
ลักษณะเนือเมล็ดใส เมือหุ งแล้วเมล็ดจะร่ วนและสวยไม่ใคร่ ติดกัน ใช้รับประทานกันเป็ นประจําใน
ภาคกลาง ภาคใต้ และภาคอีสานตอนใต้ของประเทศไทย
5

2.1.2 ข้าวเหนียว (Oryza sativa var. glutinosa)


ข้าวเหนียวประกอบด้วยแป้ ง อมิโลเพคติน (Amylopectin) เป็ นส่ วนใหญ่และมีแป้ งอมิโลส
(Amylose) ประมาณร้อยละ 5-7 เปอร์ เซ็นต์ จะมีลกั ษณะเนื อเมล็ดขาวขุ่น เมือหุ งแล้วเมล็ดจะติดกัน
เหมือนกาวของเมล็ดข้าวทีสุ กแล้ว ปลูกมากทางภาคอีสาน และภาคเหนือ ของประเทศไทย
หากแบ่งตามนิเวศน์การปลูก จะแบ่งได้ 7 ประเภท คือ
2.1.2.1 ข้าวนาสวน ข้าวทีปลูกในนาทีมีนาขั ํ งหรื อกักเก็บนําได้ระดับนําลึกไม่เกิน
50 เซนติเมตร ข้าวนาสวนมีปลูกทุกภาคของประเทศไทย แบ่งออกเป็ น ข้าวนาสวนนานําฝน และ
ข้าวนาสวนนาชลประทาน
2.1.2.2 ข้าวนาสวนนานําฝน ข้าวทีปลูกในฤดูนาปี และอาศัยนําฝนตามธรรมชาติ
ไม่สามารถควบคุมระดับนําได้ ทังนี ขึนอยูก่ บั การกระจายตัวของฝน ประเทศไทยมีพืนทีปลูกข้าว
นานําฝนประมาณ 70% ของพืนทีปลูกข้าวทังหมด
2.1.2.3 ข้าวนาสวนนาชลประทานข้าวทีปลูกได้ตลอดทังปี ในนาทีสามารถควบคุม
ระดับนําได้ โดยอาศัยนําจากการชลประทาน ประเทศไทยมีพืนทีปลูกข้าวนาชลประทาน 24% ของ
พืนทีปลูกข้าวทังหมด และพืนทีส่ วนใหญ่จะอยูใ่ นภาคกลาง
2.1.2.4 ข้าวขึนนํา ข้าวทีปลูกในนาทีมีนาท่
ํ วมขังในระหว่างการเจริ ญเติบโตของ
ข้าว มีระดับนําลึกตังแต่ 1-5 เมตร เป็ นเวลาไม่นอ้ ยกว่า 1 เดือน ลักษณะพิเศษของข้าวขึนนําคือ มี
ความสามารถในการยืดปล้อง (internode elongation ability) การแตกแขนงและรากทีข้อเหนื อผิว
ดิน (upper nodal tillering and rooting ability) และการชูรวง (kneeing ability)
2.1.2.5 ข้าวนําลึก ข้าวทีปลูกในพืนทีนําลึก ระดับนําในนามากกว่า 50 เซนติเมตร
แต่ไม่เกิน 100 เซนติเมตร
2.1.2.6 ข้าวไร่ ข้าวทีปลูกในทีดอนหรื อในสภาพไร่ บริ เวณไหล่เขาหรื อพืนทีซึ ง
ไม่มีนาขั
ํ ง ไม่มีการทําคันนาเพือกักเก็บนํา
2.1.2.8 ข้าวนาทีสู ง ข้าวทีปลูกในนาทีมี นาขั ํ งบนที สู งตังแต่ 700 เมตรเหนื อ
ระดับนําทะเลขึนไป พันธุ์ขา้ วนาทีสู งต้องมีความสามารถทนทานอากาศหนาวเย็นได้ดี

2.2 การแปรรู ปผลิตภัณฑ์ จากข้ าว [2]


ผลิ ตผลทางการเกษตรที ใช้เป็ นวัตถุ ดิบส่ วนใหญ่มีอายุการเก็ บสัน จึ งต้องมี ก ารแปรรู ป
สาเหตุสาํ คัญทีทําให้อาหารเสื อมเสี ย ได้แก่ การเปลียนแปลงทางเคมีและการเปลียนแปลงทีเกิดจาก
จุลินทรี ย ์ ดังนันหลักการในการยืดอายุการเก็บและการแปรรู ปอาหารคือ การยับยังหรื อชะลอการ
เสื อมเสี ยทีเนื องมาจากการเปลียนแปลงดังกล่าว โดยการปรับเปลียนอุณหภูมิ ปริ มาณนําในอาหาร
6

ความเป็ นกรด-ด่าง ปริ มาณออกซิ เจน ซึ งเป็ นปั จจัยทีต้องควบคุ มในกระบวนการแปรรู ปและการ
เก็บรักษา เพือให้อาหารมีอายุการเก็บหรื อใช้ประโยชน์ได้นานขึน
โดยปกติแล้วอาหารทีผ่านกระบวนการแปรรู ปจะมีคุณภาพแตกต่างจากวัตถุดิบทังทางด้าน
กายภาพ เคมี จุลินทรี ย ์ และประสาทสัมผัส ทางด้านกายภาพ ได้แก่ การเปลียนแปลงขนาด นําหนัก
รู ปร่ าง เนือสัมผัส ทางด้านเคมี เช่น มีคุณค่าทางอาหารลดลง เกิดการเปลียนสี และกลินรส ทางด้าน
จุลินทรี ย ์ เช่น มีจุลินทรี ยท์ ีเป็ นอันตรายต่อผูบ้ ริ โภคลดลง หรื อมีจุลินทรี ยท์ ีมีประโยชน์จาํ นวนมาก
ขึน ทางด้านประสาทสัมผัส เช่น มีความเหนี ยวเพิมขึน มีกลินหอม สี สวย เป็ นต้น การเปลียนแปลง
ของคุณภาพต่างๆเหล่านี อาจเป็ นทีต้องการหรื อไม่ตอ้ งการของผูบ้ ริ โภค การแปรรู ปเพือยืดอายุการ
เก็บของอาหาร หรื อการทําผลิ ตภัณฑ์ใหม่จาํ เป็ นต้องควบคุ มคุ ณภาพตังแต่วตั ถุ ดิบ กระบวนการ
แปรรู ปและบรรจุภณั ฑ์ มีการขนส่ งและจัดจําหน่ายอย่างเหมาะสม เพือให้อาหารทีผ่านกระบวนการ
แปรรู ปแล้วมีคุณภาพเป็ นไปตามความต้องการของผูบ้ ริ โภค
ลักษณะการการแปรรู ปข้าวสามารถแบ่งตามวัตถุ ดิบที ใช้คือ ผลิ ตภัณฑ์จากข้าวเจ้า เช่ น
เส้นก๋ วยเตีc ยว เส้นขนมจีน ข้าวโจ๊กอบแห้ง ข้าวซ้อมมื อ ฯลฯ ผลิ ตภัณฑ์จากข้าวเหนี ยว เช่ น ข้าว
แต๋ นหน้าต่างๆ แป้ งข้าวเหนียว

2.3 ทฤษฎีของการอบแห้ ง [3]


การอบแห้ง คือ กระบวนการลดความชืนซึ งส่ วนใหญ่ใช้การถ่ายเทความร้อนไปยัง วัสดุที
ชื นเพือไล่ ความชื นออกโดยการระเหยโดยการระเหยโดยใช้ความร้ อนทีได้รับเป็ นความร้ อนแฝง
ของการระเหยความชืน ผลผลิตทางการเกษตรส่ วนใหญ่จะมีความชื นค่อนข้างสู ง ขณะทําการเก็บ
เกี ยวทําให้เก็บรั กษาได้ไม่นานการอบแห้งจะช่ วยให้เก็บรั กษาผลผลิ ตได้ยาวนานขึนการอบแห้ง
ผลผลิ ตทาง การเกษตรเป็ นกระบวนการหลัง การเก็ บเกี ยวที มี ค วามสําคัญอย่า งยิงต่ อการรั ก ษา
คุณภาพ ลดความสู ญเสี ยและยืดระยะเวลาการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยีการอบ แห้งเป็ น
สิ งทีไม่ซบั ซ้อนแต่ตอ้ งมีการวางแผนการดําเนิ นการอบแห้ง (Drying strategy) ภายใต้ภาวะอากาศ
และเงื อนไขที กําหนดในกาอบแห้งวัสดุ ทวไปจะใช้
ั อากาศร้ อนเป็ นตัวกลางในการอบแห้ง การ
อบแห้งวัสดุทีมีโครงสร้างเป็ นรู พรุ นสามารถแบ่งออกได้ 2 ช่วง คือ ช่วงอัตราการอบแห้งคงทีและ
ช่วงอัตราการอบแห้งลดลง ช่ วงอัตราการอบแห้งคงทีเป็ นช่ วงแรกในขณะทีมีความชื นสู งอยู่ ช่ วง
อัตราการอบแห้งลดลงเป็ นช่วงทีมีความชืนของวัสดุมีค่าตํากว่าความชื นวิกฤติ การถ่ายเทความร้อน
จะไม่ได้เกิ ดขึนเฉพาะทีผิวของวัสดุเท่านันแต่เกิดภายในเนื อของวัสดุดว้ ย การเคลือนทีของนําจาก
ภายในวัสดุมายังผิวช้ากว่าการพาความชืนจากผิววัสดุไปยังอากาศ ทําให้อตั ราการอบแห้งลดลงและ
อัตราการระเหยนําจะถูกควบคุ มโดยความต้านทานต่อการเคลื อนทีของโมเลกุลของนําในวัสดุ ใน
7

ขณะนันอุณหภูมิของวัสดุมีค่าสู งขึนและสู งกว่าอุณหภูมิกระเปาะเปี ยกของอากาศ วัสดุอาหารส่ วน


ใหญ่จะพบเฉพาะช่วงอัตราการอบแห้งลดลงเท่านัน จากรู ป 2.1 แสดงการอบแห้งในช่วงอัตราการ
อบแห้งคงทีและลดลง

รู ปที 2.1 แสดงการอบแห้งในช่วงอัตราการอบแห้งคงทีและลดลง [3]

2.3.1 ลักษณะการอบแห้งแบ่งเป็ น 2 ช่วง คือ


ช่วงที 1 ช่วงอัตราการอบแห้งคงที
ในการอบแห้งวัสดุ ทีมีความชื นสู งๆในช่ วงแรกของกระบวนการอบแห้ง จะอยู่
ในช่ วงการอบแห้งคงที ซึ งตัวแปรที มรผลต่อการอบแห้งวัสดุ ได้แก่ ความเร็ วลม อุ ณหภูมิ ของ
อากาศและความชืนสัมพัทธ์ของอากาศ ซึ งถ้าสภาวะของสิ งแวดล้อมมีค่าคงทีด้วย ค่าความชื นของ
วัสดุ ในช่วงอัตราการอบแห้งคงทีเปลี ยนเป็ นช่วงอัตราอบแห้งลดลง เรี ยกว่า ความชื นวิกฤต ช่วง
อัตราการอบแห้งคงทีนีเกิ ดจาก พืนทีผิวของวัสดุ ซึงจะมีการระเหยของ ไอนําบริ เวณผิว อัตราการ
ระเหยของวัสดุรอบข้างและจุดท้ายของอัตราการอบแห้งคงที จะเกิดขึนเมืออัตราการแพร่ ความชื น
ภายในวัส ดุ ล ดตํากว่า สภาวะภายนอก ทํา ให้ค วามชื นภายนอกกลับ เข้า สู่ วสั ดุ อีก ช่ วงอัตราการ
อบแห้งจะขึนอยูก่ บั
- พืนทีสัมผัสกับอากาศภายนอก
- ความแตกต่างของความชืนระหว่างอากาศกับพืนทีผิวทีมีความชืน
- สัมประสิ ทธิiการถ่ายเทมวล
- ความเร็ วของอากาศ
8

ช่วงที 2 ช่วงอัตราการอบแห้งลดลง
ช่ วงอัตราการอบแห้งลดลง ความชื นของวัสดุ มีค่าตํากว่าความชื นวิกฤต การเคลื อนทีของนําจาก
ภายในของวัสดุ สู่ ผิวมี ค่า น้อยกว่าอัตราการระเหยนําที ผิววัส ดุ ม าสู่ อากาศ ดังนัน การอบแห้ง
ทังหมดจะเกิดขึนในช่วงอัตราการอบแห้ง

2.4 เทคโนโลยีการอบแห้ ง [3]


ปั จจุบนั เทคโนโลยีการอบแห้งมีการพัฒนาอย่างต่อเนื อง เพือให้เหมาะสมกับวัตถุ ดิบ ทัง
การรักษาสภาพของวัตถุดิบคุณสมบัติดา้ นสี ตลอดจนคุณค่าทางอาหารให้คงอยูม่ ากทีสุ ด อีกทังการ
อบแห้งยังช่วยการเพิมเวลาในการจัดเก็บหรื อการขนส่ งให้มีความ สะดวกมากขึน การอบแห้ง เป็ น
กระบวนการลดนําออกจากวัตถุ ดิบหรื ออาหาร ปั จจุบนั มีการพัฒนาเทคโนโลยีการอบแห้งขึนมา
มากมายเพือตอบสนองต่อกระบวนการ ผลิตในอุตสาหกรรม เพือลดต้นทุนและลดเวลาการผลิตลง
จากเทคโนโลยีการอบแห้งทีถูกพัฒนาขึนมากมายเพือลดต้นทุนและเพิมประสิ ทธิ ภาพการอบแห้ง
ดังนันการเลื อกเครื องอบหรื อวิธีการอบแห้งจึงเป็ นต่อผูท้ ีเกี ยวข้องต้องเรี ยนรู ้ เพือให้กระบวนการ
อบแห้งมีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดในอุตสาหกรรม
2.4.1 เครื องอบแห้งแสงอาทิตย์ (Solar dryer)
การอบแห้ง แสงอาทิ ต ย์มี ข ้อ ดี คื อ ต้นทุ นด้า นพลัง งานตํา ซึ งการใช้ง านอาจไม่ ส ะดวก
เนื องจากต้องพึงพาธรรมชาติ ในแต่ละครังในการอบไม่มีแสงแดด หรื อฝนตก ทําให้การใช้งานไม่
สะดวก นอกจากนันแล้วยังไม่สามารถทีจะเริ มหรื อลดอุณหภูมิได้ตามต้องการ แต่ดา้ นการควบคุ ม
อุณหภูมิอาจแก้ไขได้โดยเลือกใช้พลังงานแสงอาทิตย์เป็ นพลังงานเสริ ม โดยจําเป็ นต้องใช้ควบคู่กบั
พลังงานจากแหล่งอืนเช่น ฮีตเตอร์ ไฟฟ้ า แก๊ส LPG เป็ นต้น ซึ งเครื องอบแห้งแสงอาทิตย์ทีใช้งาน
แบ่งออกได้ 3 ประเภท
- การตากแดดธรรมชาติ เป็ นวิธีทีเก่าแก่ แต่ยงั เป็ นทีนิ ยมใช้กนั อยู่ สามารถแบ่ง
ออกเป็ น 3 ลักษณะ คือ การตากในแปลง การตากบนราวแขวน การตากบนลาน
- เครื องอบแห้งแสงอาทิตย์แบบไหลอากาศแบบธรรมชาติ การทํางานอาศัยความ
แตกต่างของอุ ณหภูมิท าํ ให้ความดันอากาศแตกต่างกัน เกิ ดการเคลื อนที ของอากาศผ่านชันของ
ผลผลิต
9

รู ปที 2.2 เครื องอบแห้งแสงอาทิตย์แบบอากาศไหลแบบธรรมชาติ [3]

- เครื องอบแห้ง แสงอาทิ ต ย์แบบการไหลของอากาศเป็ นแบบบัง คับ สามารถ


กําหนดอัตราการไหลของอากาศให้เหมาะสมได้

รู ปที 2.3 เครื องอบแห้งแสงอาทิตย์แบบการไหลของอากาศเป็ นแบบบังคับ [3]

2.4.2 เครื องอบแห้งแบบถาดอยูก่ บั ที


- เครื องอบแห้งแบบอุโมงค์ (Tunnel dryer) เป็ นเครื องอบแห้งแบบใช้ถาดวางอยู่
ในอุโมงค์ลมร้อน ซึ งเป็ นเครื องอบทีใช้พลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับพลังงานชี วมวลหรื ออาจใช้วสั ดุ
วางอยู่บนถาดซึ งวางอยู่บนรถบรรทุ กที จัดทําให้เคลื อนที ผ่านอุ โมงค์ลมร้ อน ซึ งข้อดี ของเครื อง
อบแห้งแบบนี คื อมีอตั ราการอบแห้งทีค่อนข้างสู ง การไหลของอากาศมีทงแบบไหลทางเดี
ั ยวกับ
10

วัสดุและไหลสวนทางกัน การใช้พลังงานเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และคุณภาพวัสดุอบแห้งทีดี


เนืองจากวัสดุวางอยูใ่ นถาดไม่มีการเคลือนทีของวัสดุในถาด

รู ปที 2.4 ตูอ้ บแห้งแบบอุโมงค์ลม [3]

- เครื องอบแห้ ง แบบตู ้ (Cabinet dryer) เป็ นเครื องอบแห้ง ที นิ ย มใช้เนื องจาก
ตัวเครื องมีขนาดกะทัดรัดในการอบแห้งมีการจัดการทีง่ายมีทงแบบใช้ั พลังงานชี วมวล และแบบ
พลังงานแสงอาทิตย์และแก๊ส LPG เป็ นเชื อเพลิง เครื องอบแห้งแบบตูท้ ีมีการใช้งานแพร่ หลายใน
เขตพืนทีภาคเหนื อได้แก่ เครื องอบลําไย โดยมีการปรับปรุ งเตาบ่มใบยาสู บโดยการใส่ ชนวางวั ั สดุ
เข้าไป ใช้ไม้ฟืนในพืชไร่ สวน เป็ นเชือเพลิงโดยการสร้างเป็ นเตาเผาอย่างง่ายๆ สามารถอบลําไยได้
ทังลําไยลูกและลําไยเนือ
11

รู ปที 2.5 เครื องอบแห้งแบบตู ้ [3]

2.4.3 เครื องอบแห้งแบบชันอบแห้งเคลือนที


- เครื องอบแห้งแบบสายพาน (Belt dryer) เครื องอบแห้งแบบสายพานเป็ นตูย้ าว
คล้ายกับเตาอบแบบอุ โมงค์ แต่ ใช้สายพานหรื อกระเช้าแขวน โดยที สายพานหรื อกระเช้าแขวน
เคลือนไปตามความยาวของตูห้ รื ออุโมงค์หลายชันจากด้านบนสู่ ดา้ นล่าง เตาอบแบบสายพานจะใช้
อุณหภูมิหลายระดับตามชันหรื อตําแหน่ งของสายพานการเคลื อนทีของลมร้ อนภายในจะมีทงการ ั
ไหลตังฉากกับวัสดุ ไหลตามวัสดุ และไหลส่ วนทางกับวัสดุซึงปกติเมือวัสดุจะออกจากสายพานจะ
ใช้ล มเย็น เป่ าก่ อนที จะนํา วัส ดุ ออกจากสายพาน ซึ งก็ จะตังเวลาให้วสั ดุ แห้ ง พอดี ก ัน ซึ งเครื อง
อบแห้งแบบนีจะใช้เวลาทีสันกว่าเมือเปรี ยบเทียบกับเครื องอบแห้งแบบอุโมงค์

รู ปที 2.6 เครื องอบแห้งแบบสายพาน [3]


12

2.4.4 เครื องอบแห้งแบบวัสดุแขวนลอยในอากาศ


- เครื องอบแห้งแบบฉี ดพ่นฝอย (Spray dryer) ใช้กบั วัสดุอบทีเป็ นของเหลว โดย
การพ่นวัสดุเหลวเป็ นละอองเข้ามาสัมผัสกับลมร้ อนภายในห้องแห้งซึ งเป็ นไซโคลน วัสดุ อบเกิ ด
การแลกเปลียนความร้ อนกับอากาศร้อนจะแห้งกลายเป็ นผง โดยความร้อนทีจ่ายในห้องอบจะจ่าย
มาเป็ นไอนําหรื อไฟฟ้ า ความร้ อนทีใช้ในการอบแห้งประมาณ 150-300 oC เครื องอบแบบนี จะมี
ราคาสู ง แต่ประสิ ทธิ ภาพการใช้พลังงานก็จะสู งด้วย แต่ระบบนี อาจมีปัญหาเรื องการอุดตันของ
หัวฉี ดพ่น

รู ปที 2.7 เครื องอบแห้งแบบฉี ดพ่นฝอย [3]

- เครื องอบแห้งแบบฟลู อิไดซ์ เบด (Fluidized bed dryer) เหมาะสําหรั บวัสดุ


อบแห้งทีมีขนาดเล็กและมีนาหนัํ กไม่มากนัก หลักการทํางานจะใช้ลมร้อนเป่ าในอัตราทีทําให้วสั ดุ
เปี ยกสามารถแขวนลอยอยู่ในอากาศได้ ซึ งเมื อวัสดุ ลอยอยู่ในอากาศจะมีคุณลักษณะเหมือนของ
ไหล ซึ งความเร็ วทีเหมาะสมจะขึนอยูค่ ุณสมบัติของวัสดุอบเช่น ความหนาแน่น ขนาด และรู ปทรง
ของวัสดุ การอบแห้งแบบนีทําให้วสั ดุแห้งอย่างรวดเร็ ว
13

รู ปที 2.8 เครื องอบแห้งแบบฟลูอิไดซ์เบด [3]

- เครื องอบแห้งแบบโรตารี (Rotary drum dryer) จะประกอบด้วยถังหมุนทําจาก


เหล็กหรื อสแตนเลส ภายในอาจบรรจุ ซี กวน เพือป้ องกันการติ ดกันของวัสดุ และเพิมพืนที ของ
อากาศกับวัสดุให้มากขึน ทําให้วสั ดุมีอตั ราการอบแห้งทีสู งขึนและแห้งอย่างสมําเสมอ

รู ปที 2.9 เครื องอบแห้งแบบโรตารี [3]

2.4.5 เครื องอบแห้งแบบถังทรงกระบอกหมุน (Drum dryer) เหมาะสมสําหรับวัสดุอบที


เป็ นของเหลว หรื อเป็ นชิ นบางๆ วัสดุจะถูกพ่นหรื อแผ่เป็ นชิ นบางๆ บนลูกกลิง วัสดุจะแห้งติดกับ
ผิวของลูกกลิงโดยการแลกเปลียนความร้อนจากผิวของลูกกลิง แหล่งความร้อนทีนิ ยมใช้คือไอนําที
ความดันสู งทีอุณหภูมิ 120-170 oC วัสดุจะถูกขูดออกจากผิวทรงกระบอกโดยใช้ใบมีดทรงกระบอก
ทีใช้อาจจะมีใบเดียวหรื อทรงกระบอกคู่ก็ได้
14

2.4.6 เครื องอบแห้งแบบฮีตปัv ม (Heat pump dryer) หรื อแบบปัv มความร้อนเหมาะสําหรับ


อุตสาหกรรมเนื องจากมีการใช้อุณหภูมิตาและการใช้
ํ พลังงานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ในการอบแห้ง
ความชื นในอากาศจะถูกกําจัดออกก่อนแล้วค่อยเพิมอุณหภูมิก่อนนําไปอบแห้งทําให้สามารถใช้
อุณหภูมิตาได้

2.5 การแลกเปลียนความร้ อน [4]


2.5.1 หลักการถ่ายเทความร้ อน คือ การถ่ายเทพลังงานความร้ อนระหว่าง 2 บริ เวณที มี
อุณหภูมิแตกต่างกันโดยแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ดังนี
- การนําความร้อน (Heat Conduction) เป็ นการถ่ายเทความร้ อนภายในวัตถุทีเป็ น
ของแข็งภายในวัตถุหนึ งๆ หรื อระหว่างวัตถุสองชิ นทีสัมผัสกัน โดยมีทิศทางของการเคลือนทีของ
พลังงานความร้อนจากบริ เวณทีมีอุณหภูมิสูงไปยังบริ เวณทีมีอุณหภูมิตากว่ ํ า โดยทีตัวกลางไม่มีการ
เคลื อนที ซึ งวัตถุ แต่ละชนิ ดจะมีประสิ ทธิ ภาพการนําความร้ อนแตกต่างกัน โดยโลหะจะนําความ
ร้อนได้ดีสุด
- การพาความร้อน (Heat Convection) เป็ นการถ่ายเทความร้อนในสภาวะก๊าซหรื อ
ของเหลว โดยเมือได้รับความร้อนจากแหล่งกําเนิ ดจะมีอุณหภูมิสูงและลอยตัวขึน ตัวกลางจึงไหล
เข้าไปแทนที เช่น เมือนํา กาต้มนําไปวางบนเตา ความร้อนจากไฟจะค่อยๆ เคลือนทีจากนําด้านล่าง
ขึนมายังบริ เวณผิวนําด้านบน
- การแผ่รัง สี (Radiation) เป็ นการถ่ ายเทความร้ อนโดยไม่ อาศัยตัวกลาง เช่ น
พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์เดินทางผ่านสุ ญญากาศมายังโลก

รู ปที 2.10 แสดงหลักการถ่ายเทความร้อน [4]


15

2.5.2 ชนิดของเครื องแลกเปลียนความร้อน (Heat Exchanger)


เครื องแลกเปลียนความร้อนมีจุดประสงค์เพือทีจะให้ความร้อนแก่ของไหลตัวหนึ ง ในขณะ
ทีระบายความร้อนกับของไหลอีกชนิดหนึง ซึ งมีหลายลักษณะดังนี
- อุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนแบบท่อ (Tubular heat exchanger)
เป็ นอุ ปกรณ์ แลกเปลี ยนความร้ อนทีง่ ายที สุ ด ใช้ท่อทีมี ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง
ต่างกันสองใบประกอบเข้าด้วยกัน โดยของไหลสองชนิดจะไม่ปะปนกัน ในการออกแบบความยาว
ทีเหมาะสมทีจะทําให้การถ่ายเทความร้อนของตัวกลางเป็ นไปตามทีต้องการ ซึ งก็มีปัจจัยอืนร่ วมใน
การออกแบบอีกด้วย คือ ลักษณะการไหลของตัวกลางทังสองชนิ ด ซึ งจะมีแบบไหลทางเดียว (Co-
current) และไหลสวนทางกัน (Counter current)

รู ปที 2.11 อุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนแบบท่อ (Tubular heat exchanger) [4]

- อุปกรณ์ แลกเปลี ยนความร้ อนแบบ Shell กับ Tube (Shell and Tube heat
exchanger)
เพื อให้ก ารถ่ า ยเทความร้ อนเป็ นไปได้อย่างมี ป ระสิ ท ธิ ภาพมากยิงขึ น จึ ง มี ก าร
พัฒนาอุปกรณ์แลกเปลียนตัวนีขึน ซึ งของไหลตัวหนึ งจะไหลในท่อใหญ่ (Shell) ส่ วนของไหลอีก
ตัวจะไหลในท่อย่อย (Tube) ถ้ามี ของไหลสองประเภทที ต้องการจะแลกเปลี ยนความร้ อนด้วย
อุปกรณ์ชนิ ดนี หลักการทีจะเลือกของไหลตัวไหนไหลในท่อใหญ่ หรื อ ท่อย่อย นัน ให้พิจารณา
ความหนืดเป็ นหลัก โดยของไหลทีไหลในท่อย่อยควรจะเป็ นของไหลทีมีความหนื ดมากกว่าอีกท่อ
16

หนึ ง เนื องจากการไหลในท่


องจากการไหลใน อใหญ่ จะมีปัญหาของไหลติดตามขอบตามมุม ซึ งทําความสะอาดได้
ยาก และเป็ นสาเหตุของการปนเปื อนได้

รู ปที 2.12 อุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนแบบ Shell กับ Tube (Shell and Tube heat exchanger) [4]

รู ปที 2.13 อุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนแบบ Shell กับ Tube (Shell and Tube heat exchanger) [4]

- อุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนแบบแผ่น (Plate
Plate heat exchanger)
คุณลักษณะพิเศษของอุ
ศษของ ปกรณ์แลกเปลี
แลกเปลียนความร้อนแบบแผ่น คือ การเอาแผ่นการ
ถ่ า ยเทความร้ อนหลายๆแผ่นมาวางเรี ยงกันในที ห่ า งคงที แล้วให้ของเหลวแต่ ละชนิ ดไหลผ่า น
17

ช่องว่างระหว่างแผ่นในลักษณะทีสลับกันช่ องเว้นช่อง เครื องแบบนี มักใช้กบั การเพิมอุณหภูมิของ


อากาศ ก่อนเข้าหม้อไอนํา โดยตัวเครื องมักทําด้วยแผ่นเหล็กสแตนเลส (Stainless Steel) บางๆ หรื อ
แผ่นไทเทเนียม (Titanium) ซึ งทนต่อสนิ มได้อย่างดี เอามามัดให้เกิดส่ วนนูน และส่ วนเว้าประกอบ
กันหลายๆแผ่น ของไหลแต่ ล ะชนิ ดจะไหลสลับกันไปตามช่ องว่า งที เกิ ดจากการประกอบเพื อ
แลกเปลี ยนความร้ อน เพือเพิมความแข็งแกร่ งป้ องกันการรัวและให้มีช่องว่างสําหรับการไหล ผิว
ของแผ่นถ่ายเทความร้ อนมีทงส่ ั วนนูนและส่ วนเว้า (Gasket) ถูกติดตังไว้ในตําแหน่งทีเหมาะสม
เพือป้ องกันไม่ให้ของไหลรัว และรักษาระยะห่างระหว่างแผ่นตามทีต้องการสัมประสิ ทธิi การถ่ายเท
ความร้อนรวมของเครื องแลกเปลี ยนความร้อนแบบปรับปรุ งใหม่ให้ค่าสู ง ส่ วนคุณลักษณะดี อย่าง
อืนคือ สามารถถอดออกเป็ นแผ่นๆออกมาทําความสะอาดได้ทวถึ ั ง บํารุ งรักษาง่ าย และสามารถ
ปรับปริ มาณการถ่ายเทความร้อนได้ โดยการเพิมหรื อลดจํานวนแผ่น การถ่ายเทความร้อน เนื องจาก
ปะเก็ นที ใช้ทาํ ปกติ ทาํ จากยางหรื อยางสัง เคราะห์ จึ งไม่เหมาะสมในการนําไปใช้งานที สภาวะ
อุณหภูมิสูงและความดันสู ง

รู ปที 2.14 อุปกรณ์แลกเปลียนความร้อนแบบแผ่น (Plate heat exchanger) [4]

2.6 ฉนวนความร้ อน [5]


ฉนวนกันความร้ อน หมายถึ ง วัตถุ หรื อวัสดุ ทีมีความสามารถในการสกัดกันความร้ อน
ไม่ให้ส่งผ่านจากด้านใด ด้านหนึ งไปยังอี กด้านหนึ งได้ง่ายฉนวนกันความร้ อนทีดี จะทําหน้าที
ต้านทาน หรื อป้ องกันมิให้พลังงานความร้อนส่ งผ่านจากด้านหนึงไปยังอีกด้านหนึ งได้ สะดวก และ
ฉนวนกันความร้อนทีดีจะต้องเป็ นวัสดุทีมีนาหนั
ํ กเบาซึ งในตัวฉนวนประกอบ ไปด้วยฟองอากาศ
18

เล็กๆ จํานวนมากลักษณะฟองอากาศดังกล่าวมีคุณสมบัติในการต้านทานความร้อนโดยวิธีสกัด กัน


ความร้อนจึงเป็ นผลให้ไม่เกิดการพาความร้อนการแผ่รังสี ความร้อนด้วย การ ส่ งผ่านความร้อนจาก
ด้านหนึ งไปยังอีกด้านหนึ งของวัสดุ ใดๆ หรื อการถ่ายเทความร้ อน (Heat Transfer) ระหว่างวัตถุ
สามารถเกิดขึนได้ก็ต่อเมืออุณหภูมิของวัตถุทงสองมี ั ความแตกต่างกัน
ต่อไปจะกล่าวถึ งฉนวนกับความร้ อนบางชนิ ดทีสําคัญๆ และนิ ยมใช้กนั อย่างแพร่ หลายมี
ดังนี
- ใยแก้ว (Glass Fiber)
- ใยแร่ (Mineral fiber)
- ใยเซลลูโลส (Cellulose)
- แคลเซี ยมซิ ลิเกต (Calcium Silicate)
- โฟม (Foam)
- ฟอยล์ (Foil) หรื อฉนวนรี เฟลคตีฟ
- เวอร์ มิคูไลท์ (Vermiculite)
- ยาง (Elastomer)
คุณสมบัติของฉนวนทีเลือกใช้ในการสร้างตูอ้ บข้าวแต๋ น คือ ฉนวนชนิดใยแก้ว
- ใย แก้ว ทํามาจากแก้วหรื อเศษแก้วมาหลอมและปั นจนเป็ นเส้นใยละเอียด แล้วนํามาขึน
รู ปเป็ นฉนวนความร้อนในรู ปแบบต่าง ๆ เช่น ฉนวนแบบคลุมท่อ ฉนวนแบบแผ่น และฉนวนแบบ
หุ ม้ ท่อ ฉนวนประเภทนี เป็ นฉนวนเส้นใยแบบเซลล์เปิ ด มีโครงสร้างภายในเป็ นเส้นใยและช่องว่าง
อากาศ จัดเป็ นวัสดุประเภทไม่ลามไฟ มีทงชนิ ั ดทีมีวสั ดุปิดผิว และไม่มีวสั ดุปิดผิวขึนอยูก่ บั การใช้
งาน วัสดุ ปิดผิวส่ วนใหญ่จะเป็ นแผ่นอลูมิเนี ยมฟอยล์ เพือใช้ป้องกันไอน้าและความชืน (Vapor
Barrier) ฉนวนชนิ ดนีโดยทัวไปจะกันไฟไม่ได้มีอุณหภูมิใช้งานไม่เกิน 700 องศาเซลเซี ยส แต่ไม่
ทนต่อความเปี ยกชืน และการควบแน่นเป็ นหยดน้าโดยจะสู ญเสี ยคุณสมบัติในการกันความร้อนไป
เมือเปี ยกชืน
19

รู ปที 2.15 ฉนวนกันความร้อนชนิดใยแก้ว [5]

2.7 ลักษณะการทํางานของหัวเตาแก๊ สชนิดอินฟาเรด [6]


หัว เตาแก๊ ส ชนิ ดอิ นฟาเรดจะมี ล ัก ษณะเป็ นรู พ รุ น ผลิ ต จากแผ่นเซรามิ ค ทนความร้ อ น
สามารถทนความร้อนได้ในระดับดี แต่ดว้ ยลักษณะ ทีเป็ นรู พรุ นอายุการใช้งานจะสันกว่าหัวเตา
ก๊าซชนิดธรรมดา โดยปกติอายุการใช้งานอยูท่ ี 5 - 6 ปี ในกรณี ทีใช้เป็ นประจํา พลังงานความร้อนที
ให้ จะให้น้อยกว่าหัวเตาก๊าซชนิ ดธรรมดา เนื องจากหัวเตาแก๊สชนิ ดอินฟาเรดจะมีการทํางานแบบ
ซึ มก๊าซ คือในการใช้งานแต่ละครังก๊าซจะถูกกักเก็บในหัวเตาก่อนแล้วค่อยๆ ปล่อยซึ มก๊าซออกมา
ตามรู พรุ นมากมายและด้วยลักษณะการซึ มก๊าซนันจะช่วยทําให้ สามารถประหยัดปริ มาณก๊าซทีใช้
ประมาณ 30%

คุณสมบัติ หัวเผาแก๊ สชนิดธรรมดา หัวเผาแก๊ สชนิดอินฟาเรด


การสิ นเปลืองเชื อเพลิง สิ นเปลืองเชื อเพลิง ประหยัดเชื อเพลิง
ค่าความร้อน ความร้อนสู ง ความร้อนสู ง
กลิน มีกลินของแก๊ส ไม่มีกลิน
การเผาไหม้ เผาไหม้ไม่สมบรู ณ์ เผาไหม้สมบรู ณ์
คราบเขม่า เกิดคราบเขม่าดํา ไม่เกิดคราบเขม่าดํา
ควัน มีควัน ไม่มีควัน

ตารางที 2.1 การเปรี ยบเทียบหัวเผาแก็ส 2 ชนิด [6]


20

2.8 คุณสมบัติด้านสี ของวัสดุอาหาร [9]


สี หมายถึง คุณสมบัติของแสงซึ งมนุ ษย์สามารถรับและเกิ ดความรู ้ สึกได้ดว้ ยการเห็น อัน
เป็ นผลจากการทีแสงนันไปเร้าความรู ้สึกของประสาทตา ลําของคลืนแสงเมือผ่านออกมาจาก Prism
แล้วจะต้องอยู่ระหว่าง 380 – 770 นาโนเมตร ซึ งเป็ นระยะคลื นทีตาสามารถรับความรู ้ สึกในเรื อง
ของสี ได้ ซึ งเราเรี ยกช่ วงความถี ของคลื นแสงนี ว่า Visible region และถ้าเอาคลื นแสงที มี ขนาด
ความถี ต่างๆ กันใน Visible region ผสมเข้าด้วยกันจะให้แสงสี ขาวคลื นที ความถี หนึ งๆ จะให้สี
ต่างๆ กัน ได้แก่

สี ความยาวคลืนของแสง (nm)
อุลต้าไวโอเลต < 400
ม่วง 400 – 450
นําเงิน 450 – 500
เขียว 500 – 570
เหลือง 570 – 590
ส้ม 590 – 620
แดง 620 – 760
อินฟราเรด > 760

ในการวัดค่าสี นนเราอาจวั
ั ดค่าได้โดยการเปรี ยบเทียบสี ของอาหารทีกําหนดมาตรฐานไว้
ตามความต้องการกับสี ของตัวอย่างทีนํามาวัดค่า หรื ออาจวัดค่าจากจํานวนแสงทีผ่านตัวอย่างไป
หรื อสะท้อนออกมา โดยใช้ความถีของคลืนแสงต่างๆ กัน เครื องมือทีใช้วดั ได้แก่ เครื องมือวัดแผ่น
เทียบสี จานสี (color and color difference) เป็ นต้น
ระบบค่าสี แนวแกน L*-a*-b* ซึ งเป็ นระบบการบรรยายสี แบบ 3 มิติ โดยทีแกน L* จะ
บรรยายถึงความสว่าง (lightness) จากค่า+L* แสดงถึงสี ขาว จนไปถึง –L* แสดงถึงสี ดาํ แกน a*จะ
บรรยายถึงแกนสี จากเขียว (-a*) ไปจนถึงแดง (+a*) ส่ วนแกน b* จะบรรยายถึงแกนสี จากน้าเงิ „ น (-
b*) ไปเหลือง (+b*) ลักษณะการบรรยายสี
21

รู ปที 2.16 การบรรยายสี ในระบบ CIE Lab มองในระนาบ 2 มิติ [10]

สมการการคํานวณค่า color difference (∆E)


1
2 2 2 2
∆E = L-L0 + a-a0 + b-b0 (2.1)
L ,a ,b คือ ค่าสี หลักทีนํามาเปรี ยบเทียบ
L,a.b คือ ค่าสี ทีนํามาเปรี ยบเทียบ

2.9 ความชื<นวัสดุ [3]


2.9.1 ความชืนของวัสดุ
ความชื นเป็ นตัวบอกปริ มาณนําทีมีอยู่ในวัสดุ เมือเทียบกับมวลวัสดุ ชืนหรื อแห้ง ความชื น
ในวัสดุสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 แบบ คือ
- ความชืนมาตรฐานเปี ยก (Wet basis), MCwb
จะใช้มวลของวัสดุชืน (ก่อนทําการไล่ความชืนออก) เป็ นมาตรฐานของการคํานวณ
22

m-d
MCwb = ×100 (2.2)
m

โดยที MCwb คือความชืนมาตรฐานเปี ยก (%)


m คือมวลของวัตถุ (kg)
d คือมวลของวัตถุแห้ง (ไม่มีความชืน) (kg)

จากสมการ (2.2) และ (2.3) ทําให้ทราบว่าความชื นมาตรฐานเปี ยกนัน จะมีค่าไม่เกิน 100 g


เปอร์ เ ซ็ น ต์ ส่ ว นลดความชื นมาตรฐานแห้ ง นั นอาจมี ค่ า เกิ น 100 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ก็ ไ ด้ สํ า หรั บ
ความสัมพันธ์ระหว่างความชืนทัง 2 มาตรฐาน มีดงั นี
ในการลดปริ มาณความชื นออกจากผลิ ตผล ก็คือการกําจัดนําออกจากผลิ ตผลซึ งสามารถ
คํานวณได้ดงั นี

m× 100-Mi
d= (2.3)
100-Mf

โดยที Mi คือปริ มาณความชืนมาตรฐานเปี ยกเริ มต้น (%)


Mf คือปริ มาณความชืนมาตรฐานเปี ยกสุ ดท้าย (%)

จะได้วา่ ปริ มาณนําทีต้องกําจัดออกไป มีค่าดังสมการ

Ww = m-d (2.4)

โดยที Ww คือมวลของนําทีถูกกําจัดออก (kg)


m คือนําหนักก่อนการอบแห้ง (kg)
d คือนําหนักหลังการอบแห้ง (kg)

2.10 การคํานวณไฟฟ้า [7]


เครื องใช้ไ ฟฟ้ าแต่ ล ะชนิ ด จะใช้พ ลัง งานไฟฟ้ าที ต่ า งกัน ขึ นอยู่ก ับ ชนิ ด และขนาดของ
เครื องใช้ไฟฟ้ าซึ งทราบได้จากตัวเลขที กํากับไว้บนเครื องใช้ไฟฟ้ าที ระบุไว้ทงความต่ ั างศักย์ (V)
23

และกําลังไฟฟ้ า (W) สําหรับการใช้ไฟฟ้ าของเครื องใช้ไฟฟ้ าใน 1 วันสามารถใช้สูตรการคํานวณ


ดังนี

กําลังไฟฟ้ า(วัตต์)×จํานวนเครื องใช้ไฟฟ้ า


จํานวนหน่วย(ยูยูนิต)ในหนึ งวัน = ×ชัชัวโมงทีใช้งาน (2.5)
1000

2.11 ความร้ อนจากการเผาไหม้ เชื<อเพลิง [3]

Qfuel = mfuel ×HHV (2.6)

โดย Qfuel คือความร้อนทีได้จากการเผาไหม้ (kw)


HHV คือค่าความร้อนของเชือเพลิง (kJ/kg)
mfuel คืออัตราการใช้เชือเพลิง (kg/s)

2.12 อุปกรณ์ แลกเปลียนความร้ อน [3]


เครื องแลกเปลี ยนความร้ อนเป็ นอุ ปกรณ์ ที สําคัญในการนําพลังงานชี วมวลไปใช้ใ นรู ป
ความร้ อนทีนิ ยมใช้ในการอบแห้งซึ งมีหลายแบบในทีนีจะแนะนําแบบแบบท่อ 2 ชันอากาศไหล
ขวางโดยทีอากาศร้อนจากการเผาไหม้จะไหม้จะไหลภายในท่อส่ วนอากาศทังสองจะไม่ผสมกันซึ ง
รู ปร่ างของอุณหภูมิ (Temperature
Temperature Profile)
Profile ของของไหลแสดงดังรู ปที 2.11

รู ปที 2.17 อุณหภูมิของไหลแบบไหลขวางในเครื องแลกเปลียนความร้อนแบบท่อ 2 ชัน [3]


24

การคํานวณหาการถ่ายเทความร้อนในกรณี
นในกรณี ทีเป็ นเครื องแลกเปลียนแบบท่อ 2 ชัน หาได้จาก

Q = UA∆Tm (2.7)

โดยที U คือสัมประสิ ทธิiการถ่ายเทความร้อนรวม (w/m2k)


A คือพืนทีผิวสําหรับการถ่ายเทความร้อน (m2)
∆Tm างเฉลียของไหลทังสองเชิงลอก (oC)
คืออุณหภูมิแตกต่างเฉลี

ทธิi การถ่ายรับความร้อนทังหมด (Overall Heat Transfer Coefficient)


ค่าสัมประสิ ทธิ Coefficient กรณี ที
วัสดุเป็ นท่อกลมดังรู ปที 2.12 สามารถได้จาก
เมือคิดได้จากพืนทีภายใน

1
Ui = (2.8)
1/hi +Ao ln ro/ri /2πkL+Ai /Ao ho

เมือคิดจากพืนทีภายนอก

1
Uo = (2.9)
1/ho +Ao ln ro/ri /2πkL+Ao /Ai hi

รู ปที2.18 สัมประสิ ทธิiการถ่ายรับความร้อนทังหมดของเครื องแลกเปลียนความร้อนแบบท่อ2ชัน[3]


25

โดยที Uo คือสัมประสิ ทธิiการถ่ายเทความร้อนทังหมดเมือจากพื


อจาก น
ทีภายนอก (w/m2k)
Ui คือสัมประสิ ทธิiการถ่ายเทความร้อนทังหมดเมือจากพืน
ทีภายใน (w/m2k)
Ai คือพืนทีภายในท่อรู ปทรงกระบอก (m2)
Ao คือพืนทีภายนอกท่อรู ปทรงกระบอก (m2)
Ri คือรัศมีภายในของท่อ (m)
Ro คือรัศมีภายนอกของท่อ (m)
hi คือสัมประสิ ทธิiการพาความร้อนภายในท่อ (w/m2k)
ho นภายน อ(w/m2k)
คือสัมประสิ ทธิiการพาความร้อนภายนอกท่
k คือค่าการนําความร้อนของท่อ (w/m2k)

ค่า สัม ประสิ ท ธิi การถ่ า ยรั บ ความร้ อนทังหมดของเครื องแลกเปลี ยนความร้ อนแบบต่ า ง
แสดงใน ตารางที 2.2

ตารางที 2.2 ค่าประมาณของสัมประสิ ทธิiการถ่ายรับความร้อนทังหมด [3]


26

2.13 การประเมินผลของเครืองอบแห้ ง [3]

โดยที T1 คืออุณหภูมิเฉลียของอากาศร้อนก่อนการแห้ง (oC)


T2 คืออุณหภูมิเฉลียของอากาศร้อนหลังการแห้ง (oC)
Tamb คืออุณหภูมิเฉลียของอากาศภายนอก (oC)
mdryair คืออัตราการไหลของอากาศร้อนก่อนการอบแห้ง (kgdryair/hr)
m1 คือปริ มาณของอากาศร้อนทีใช้อบแห้ง (kgdryair)
mfuel คืออัตราการใช้เชือเพลิง (m3/hr)
HHV คือค่าความร้อนของเชือเพลิง (kJ/kg)
Cp คือค่าความร้อนจําเพาะของอากาศร้อนก่อนการอบแห้ง(kJ/kgoC)
Wm คือนําหนักของข้าวแต๋ นทีลดลงเนืองจากการระเหยนํา (kgwater)
Hfg คือค่าความร้อนแฝงของการระเหยของนําทีอยูอ่ ย่างอิสระ(kJ/kg)

ประสิ ทธิ ภาพของเครื องอบแห้ง


ค่าประสิ ทธิ , ε คืออัตราส่ วนระหว่างความชื นทีอากาศร้ อนสามารถดูดเอาไว้ได้
จริ งต่อความชืนทีอากาศร้อนสามารถเก็บไว้ได้ทงหมดั ดังสมการ

T1 -T2
ε= (2.10)
T1 -T
amp

ประสิ ทธิ ภาพของการอบแห้ง


ประสิ ทธิ ภาพของการอบแห้ง η1 คืออัตราส่ วนระหว่างพลังงานความร้อนทีเมล็ด
ข้าวโพด ได้รับในการลดปริ มาณความชืนต่อพลังงานทีอากาศร้อนรับไว้ทงหมด
ั ดังสมการ

Wv hfg ×100
η1 = (2.11)
mcp T1 -Tamp
ประสิ ทธิ ภาพของเครื องอุ่นอากาศ η2 คืออัตราส่ วนระหว่างความร้ อนทีอากาศ
ได้รับต่อความร้อนทีได้จากการเผาไหม้เชือเพลิง ซึ งสามารถเขียนได้เป็ นสมการได้ดงั นี
27

mcp T1 -Tamp ×100


η2 = (2.12)
mfuel ×HHV

2.14 อัตราการระเหยนํา< จากการอบแห้ ง [3]


เมื อทราบปริ มาณนําที ต้องระเหยแล้ว ขันตอนต่ อมาต้องกํา หนดระยะเวลาที ต้องการ
อบแห้ง ซึ งจะนําไปประเมิ นอัตราการระเหยนําออกจากวัสดุ อบแห้ง ซึ งสามารถประเมิ นได้จาก
ประเมินได้จากสมการดังนี

mw
mw = (2.13)
t

โดยที mw คืออัตราการระเหยนํา (kgwater/h)


mw คือนําหนักนําทีต้องระเหย (kg)
t คือเวลาอบแห้ง (h)

2.15 ปริมาณลมทีต้ องใช้ ในการอบแห้ ง [3]


ปริ มาณลมทีต้องใช้ในการพาความชื นออกจากวัสดุ อบแห้งมีค่าเท่ากับปริ มาณนําทีต้อง
ระเหยต่อชัวโมงหารต่อปริ มาตรนําทีเพิมขึนในอากาศ ซึ งปริ มาณลมทีคํานวณได้สามารถนําไป
เลือกขนาดของพัดลม ปริ มาณลมทีต้องใช้ในการอบแห้งสามารถคํานวณได้จาก

mw
ma = (2.14)
wf -wi

โดยที ma คือปริ มาณลมทีต้องใช้ในการอบแห้ง (kgair/h)


wf คืออัตราส่ วนความชืนอากาศหลังอบแห้ง (kgwater/kgair)
wi คือส่ วนความชืนอากาศก่อนอบแห้ง (kgwater/kgair)
mw คืออัตราการระเหยนํา (kgwater/h)

ปริ มาณลมทีใช้นิยมบอกในหน่ วยของปริ มาตรต่อเวลา ดังนันสามารถเปลี ยนปริ มาณลม


ในหน่ วยมวลต่อเวลาไปเป็ นปริ มาตรต่อเวลาได้โดยการใช้ความหนาแน่ นของอากาศที อุณหภูมิ
28

อบแห้งไปหาร ซึ งคําตอบทีได้จะอยูใ่ นหน่วย m3/h แต่ในการเลือกขนาดของพัดลมนิ ยมบอกหน่วย


CFM ซึ งก็สามารถเปลียนได้

2.16 ขนาดของแหล่ งความร้ อน [3]


ในการอบแห้งจําเป็ นต้องใช้ความร้อนในการทําให้นาระเหยออกจากผลผลิ
ํ ต ซึ งกําลังของ
แหล่งกําเนิ ดความร้อนสามารถหาได้จากผลคูณของผลต่างเอนทาลปี ของอากาศก่อนและหลังการ
อบแห้งและอัตราการไหลเชิงมวลของอากาศอบแห้งดังนี

(hf -hi )
Q= ×ma (2.15)
3600

โดยที hf คือค่าเอนทาลปี อากาศทีอุณหภูมิอบแห้ง (kJ/kg)


hi คือค่าเอนทาลปี อากาศแวดล้อมก่อนนํามาเพิมอุณหภูมิ
(kJ/kg)
ma คือปริ มาณอากาศทีใช้อบแห้ง (kg/h)
Q คือขนาดของแหล่งความร้อน (kw)

ขนาดของแหล่ งกําเนิ ดความร้ อนในทางปฏิ บตั ิ จะต้องออกแบบให้มากกว่าทีคํานวณได้


เนืองจากการสู ญเสี ยขณะเปลียนเป็ นพลังงานความร้อนของแหล่งพลังงานต่างๆ

2.17 ประสิ ทธิภาพรวม [3]


ประสิ ทธิ ภาพรวม Eff คือพลังงานความร้อนทีข้าวแต๋ นได้รับในการลดปริ มาณความชืนต่อ
ปริ มาณความร้อนทีได้รับจากการเผาไหม้ ซึ งสมการเขียนเป็ นสมการได้ดงั นี

Eff = η1 ×η2 (2.16)


wv ×hfg ×100 mcp T1 -Tamp ×100
= ×
mcp T1 -Tamp mfuel ×HHV

Wv ×hfg ×100
= (%)
mfuel ×HHV
29

2.18 มอเตอร์ (Motor) [3]


จากส่ วนประกอบของตูอ้ บข้าวแต๋ นพบว่ามี ชินส่ วนสําคัญและจําเป็ นต้องนํามาคํานวณ
ออกแบบ โดยเฉพาะการคํานวณหาขนาดของมอเตอร์ ต้นกํา ลัง ลัก ษณะการส่ ง ผ่า นกํา ลัง และ
ความเร็ วอบทีเหมาะสมในการอบแห้งข้าวแต๋ น
การคํานวณกําลังขับมอเตอร์

P = Fo -Fu +ghGg (2.17)

โดยที P คือแรงดึงในสายพานลําเลียง (N)


Fo คือแรงเสี ยดทานด้านขนถ่ายวัตถุ (N)
Fu คือแรงเสี ยดทานด้านย้อนกลับ (N)
g คือความเร่ งเนืองจากแรงดึงดูดของโลก (mm/s2)
h คือระยะห่างตามแนวดิงระหว่างล้อด้านขับและล้อตาม
(mm)
Gg คือนําหนักของวัสดุขนถ่ายทีอยูบ่ นสายพานลําเลียงต่อ
ความยาว (kg/mm)

2.18.1 กําลังของพัดลม
การหากําลังของพัดลมสามารถคํา นวณได้เมื อทราบอัตราการไหลอากาศและความดัน
ลดเมือเคลือนผ่านชันวัสดุอบดังนี

Q∆P
PB = (2.18)
Ef

โดยที Q คืออัตราการไหลอากาศ (m3/s)


∆P คือความดันตกคร่ อม (Pa)
Ef คือประสิ ทธิ ภาพของพัดลม
บทที 3
การออกแบบและสร้ าง

การออกแบบและสร้างตูอ้ บข้าวแต๋ น โดยใช้ความร้อนจากหัวเผาแก๊สชนิ ดอินฟาเรด ความ


ร้อนจากหัวเผาแก๊สชนิ ดอินฟาเรดจะถูกส่ งผ่านไปยังอุปกรณ์แลกเปลี*ยนความร้อนแบบท่อ อากาศ
จะดึ ง ความร้ อนที* ออกจากอุ ป กรณ์ แลกเปลี* ย นความร้ อนโดยชุ ดพัดลม เพื* อพาความร้ อนไปยัง
ห้องอบ ความร้อนและความเร็ วลมต้องเหมาะสม เพื*อให้มีประสิ ทธิ ภาพที*ดีในการอบ

3.1 ลักษณะของตู้อบข้ าวแต๋ นเดิม


ชาวบ้านได้ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ*นพัฒนาตูอ้ บอย่างง่ายมาเป็ นแบบตูเ้ หล็กสี* เหลี*ยมจากการใช้
แผ่นยิปซัม* มาเป็ นผนัง สู งประมาณ 2 เมตรกว้างประมาณ 3 เมตรภายในมีช8 นั วางถาดข้าวแต๋ น ใช้
แก๊สหุ งต้มหรื อแก๊ส LPG เป็ นเชื8อเพลิงให้ความร้อนและใช้ในการอบครั8งละ 22.5 กิโลกรัมโดยการ
อบแต่ละครั8งมีกาํ ลังการผลิตอยูท่ ี* 32 กิโลกรัมนํ8าหนักเปี ยกโดยที*มีอุณหภูมิในการอบอยูท่ ี* 55C-60C
โดยประมาณจากลักษณะตูอ้ บแห้งของชาวบ้านที*มีอยูใ่ นปั จจุบนั มีปัญหาที*เกิดขึ8น พบว่า ความแห้ง
ของข้าวแต๋ นจะไม่ทว*ั ถึงกันจึงต้องมีการสลับถาดในชั8นวางอยูบ่ ่อยครั8งเพื*อให้ขา้ วแต๋ นแห้งได้ทว*ั ถึง
อีกทั8งหัวแก๊สธรรมดามีเปลวไฟมาก จึงมีการติดไฟกับข้าวแต๋ นในถาดชั8นล่างอยู่บ่อยครั8ง มีกลิ* น
เหม็นไหม้รวมกับกลิ*นแก๊สหุ งต้มติดค้างอยูใ่ นข้าวแต๋ นทําให้คุณภาพของข้าวแต๋ นไม่คงที* มีกลิ*นไม่
พึ ง ประสงค์ติดมาด้วย ในการอบแต่ ล ะครั8 งจะต้องเปิ ด-ปิ ดตู ้อ บอยู่บ่ อยครั8 งเพื* อสลับ ถาดทํา ให้
สู ญเสี ยความร้ อนออกไป ตูม้ ีผนังที*ไม่สามารถเก็บความร้ อนได้ และใช้เวลาในการอบแต่ละครั8 ง
นานถึง 5 ชัว* โมง ทําให้สิ8นเปลืองเชื8 อเพลิงปริ มาณมากซึ* งปั จจุบนั แก๊สมีราคาสู งขึ8น ซึ* งแก๊สเป็ นผล
พลอยได้จากการกลั*นนํ8า มันดิ บ ซึ* ง เป็ นทรั พ ยากรธรรมชาติ ที* ใ ช้แล้วหมดไป อี ก ทั8ง ในปั จจุ บ ัน
ปริ มาณนํ8ามันดิบบนโลกก็ลดน้อยลงทุกที
31

รู ปที* 3.1 ลักษณะตูอ้ บข้าวแต๋ นเดิม

รู ปที* 3.2 ลักษณะตูอ้ บข้าวแต๋ นเดิม

3.2 หลักการทํางานของตู้อบข้ าวแต๋ นโดยใช้ หัวเผาแก๊ สชนิดอินฟาเรด


การทํางานของตูอ้ บข้าวแต๋ น ทํางานโดยการใช้ความร้อนจากหัวเผาแก๊สชนิ ดอินฟาเรดโดย
ผ่านท่อเหล็กในอุปกรณ์แลกเปลี*ยนความร้อน เมื*อเปิ ดสวิตซ์มอเตอร์ โบเวอร์ ทาํ งาน อากาศจะไหล
ผ่านท่อเหล็กนําความร้อนที*ได้เข้าไปยังตูอ้ บทางด้านข้างทั8ง 2 ด้าน นําถาดใส่ ขา้ วแต๋ นที*เตรี ยมจะ
อบเข้าในตูอ้ บจํานวน 30 ถาด แต่ละถาดจะวางเรี ยงซ้อนกันเป็ นชั8นๆ ความร้อนที*เข้าไปในตูอ้ บจะ
ถูกแยกแบบกลับมาใช้อีกครั8ง โดยอากาศจะถูกปล่อยทิ8งและดูดกลับทางด้านบนของตูอ้ บ โบเวอร์
จะดูดอากาศร้อนจากด้านบนของตูอ้ บผ่านทางท่อ กลับมาเพื*อนําอากาศไปผ่านท่อเหล็กในอุปกรณ์
32

แลกเปลี* ย นความร้ อนและนํา กลับไปใช้ใ นตู ้อบอี ก ครั8ง อุ ณหภู มิ ที* ใช้ใ นตูอ้ บจะควบคุ มโดยตัว
ควบคุ มอุ ณหภูมิหรื อ โดยใช้หลักการตัดต่อโซลิ นอยวาล์วเปิ ดปิ ดการจ่ายแก๊สให้กบั หัวเผา เมื* อ
ต้องการอุณหภูมิตวั ควบคุมอุณหภูมิจะสั*งให้โซลิ นอยวาล์วเปิ ดเพื*อจ่ายแก๊สไปยังหัวเผา พร้ อมกัน
นั8นจะสั*งให้หัวจุดแก๊ส จุดแก๊สที*หัวเผา เมื*อได้อุณหภูมิที*ตอ้ งการตัวควบคุ มอุณหภูมิจะสั*งตัดการ
ทํางานของโซลินอยวาล์วเพื*อตัดการทํางานของหัวเผาแก๊ส ตัวควบคุมอุณหภูมิจะควบคุมอุณหภูมิ
และความร้ อนที* ตอ้ งการในการอบแต่ล ะครั8 ง อุ ณ หภู มิ ที*ใ ช้ใ นการอบจะอยู่ที* 50oC และ 60oC
ความเร็ วลมที* ใช้ในการอบใช้โบเวอร์ ไหลตามแกนเป็ นตัวดู ดและเป่ าความร้ อน โดยกําหนดให้
ขนาดเส้นผ่านศูนย์ของมูเล่ยท์ ี*ใช้มี 3 ขนาดคือ 50.8 มิลลิเมตร 63.5 มิลลิเมตร 76.2 มิลลิเมตร เป็ น
ตัวขับโบเวอร์ ข้าวแต๋ นที*อบจะต้องนําออกมาวัดหาความชื8นทุกๆ 15 นาที อบทิ8งไว้จนได้ความชื8นที*
ต้องการ ซึ* งดูได้จากรู ป 3.3

รู ปที* 3.3 รู ปตูอ้ บข้าวแต๋ นที*ได้ออกแบบสร้างขึ8น

3.3 เงือนไขของการออกแบบ
3.3.1 การอบข้าวแต๋ นด้วยอากาศร้อนจะใช้เวลาในการอบไม่เกิน 5 ชัว* โมง (เพื*อต้องการลด
เวลาจากตูอ้ บเดิม) การสร้างให้อากาศร้อนเพื*อใช้ในการอบข้าวแต๋ นจึงใช้ความร้อนจากหัวเผาแก๊ส
ชนิดอินฟาเรด โดยผ่านท่อเหล็กในอุปกรณ์แลกเปลี*ยนความร้อน ใช้โบเวอร์ เป่ าอากาศผ่านอุปกรณ์
33

แลกเปลี*ยนความร้อน เพื*อนําความร้อนที*ได้ไปยังตูอ้ บ อุณหภูมิที*ใช้ในการอบอยูท่ ี* 50oC และ 60oC


ควบคุมอุณหภูมิในการอบแบบอัตโนมัติ
3.3.2 ข้าวแต๋ นที*ใช้ในการอบจะถูกวางเรี ยงอยู่ในถาดจํานวน 30 ถาด หรื อประมาณ 45
กิ โลกรัมซึ* งมากกว่าเดิ ม แต่ละถาดจะวางเรี ยงกันเป็ นชั8นๆภายในตูอ้ บ นําข้าวแต๋ นมาชั*งนํ8าหนัก
ทุกๆ 15 นาที เพื*อหาความชื8 น ทําการอบและตรวจวัดจนได้ความชื8นที*ตอ้ งการหรื อยอมรับได้ตาม
ท้องตลาดคือ ประมาณ 34-40 % (ค่าเปอร์ เซ็นต์ความชื8นที*คงเหลือ)

3.4 ขั-นตอนการออกแบบ
3.4.1 ออกแบบตูอ้ บข้าวแต๋ น
3.4.2 ออกแบบท่อทางไหลของอากาศ
3.4.3 ออกแบบชุดอุปกรณ์แลกเปลี*ยนความร้อน และติดตั8งหัวเผาแก๊สชนิดอินฟาเรด
3.4.4 ออกแบบชุดติดตั8งโบเวอร์ ดูดและเป่ าอากาศร้อน

3.5 ขั-นตอนการสร้ าง
ตูอ้ บข้าวแต๋ นโดยใช้หวั เผาชนิดอินฟาเรดที*สร้างขึ8นมานี8 มีส่วนประกอบหลักอยู่ 3 ส่ วน คือ
ส่ วนของตูอ้ บ ส่ วนของท่อทางไหลของอากาศ และส่ วนของอุปกรณ์ให้ความร้อนและโบเวอร์
3.5.1 โครงสร้างตูอ้ บ
(1) ตูอ้ บ โครงสร้างของตูอ้ บใช้เหล็กกล่องขนาด 50.8x25.4 มิลลิเมตร หนา 1.6 มิลลิเมตร
ประกอบขึ8นให้มีความกว้าง 1410 มิลลิเมตร ยาว 1330 มิลลิเมตร สู ง 1690 มิลลิเมตร ด้านหลังจะใช้
เหล็กกล่องขนาด 25.4x25.4 มิลลิเมตร หนา 1.6 มิลลิเมตร ประกอบยึดติดกับโครงสร้างของตูอ้ บ บุ
ฉนวนกันความร้ อนหนา 25.4 มิลลิ เมตร หุ ้มปิ ดด้วยเหล็กชุ บสังกะสี หนา 0.22 มิลลิ เมตร ส่ วน
ด้านล่างใช้เหล็กกล่องขนาด 50.8x25.4 มิลลิ เมตร ประกอบยึดติดกับโครงสร้ างตูอ้ บ บุฉนวนกัน
ความร้อนหนา 50.8 มิลลิเมตร หุ ้มปิ ดด้วยเหล็กชุ บสังกะสี หนา 0.22 มิลลิเมตร และประกอบลูกล้อ
ยาง ขนาด 101.6 มิลลิเมตร ยึดติดกับฐานด้านล่างของตูอ้ บ ซึ* งมีลกั ษณะดังรู ปที* 3.4 และ3.5
34

รู ปที* 3.4โครงสร้างตูอ้ บ

รู ปที* 3.5 การบุฉนวนกันความร้อนโครงตูอ้ บ

(2) ชั8นวางสําหรับวางถาดใส่ ขา้ วแต๋ น จะประกอบยึดติดกับโครงสร้ างของตูอ้ บโดยใช้


เหล็ ก ฉากขนาด 25.4 มิ ล ลิ เมตร วางเรี ย งกันเป็ นชั8นๆในแต่ ล ะชั8นจะยึดเหล็ ก ฉากห่ า งกัน 60
มิลลิเมตร ภายในตูอ้ บจะแบ่งห้องสําหรับใส่ ถาดวางข้าวแต๋ นเป็ น 2 ห้อง ในแต่ละห้องจะใส่ ถาดวาง
ข้าวแต๋ น15 ถาด ทั8ง 2 ห้อง ดังรู ปที* 3.6
35

รู ปที* 3.6 ชั8นวางสําหรับวางถาดข้าวแต๋ น

(3) โครงสร้างประตูตูอ้ บใช้เหล็กกล่องขนาด 50.8x25.4 มิลลิเมตร หนา 1.6 มิลลิเมตร ขึ8น


รู ปขนาดความกว้าง 705 มิลลิเมตร สู ง 1690 มิลลิเมตร หนา 25.4 มิลลิเมตร บุฉนวนกันความร้อน
หนา 25.4 มิลลิ เมตร หุ ้มปิ ดด้วยเหล็กอาบสังกะสี หนา 0.28 มิลลิเมตร ด้านหน้าประตูมีช่องเปิ ด
ขนาด 160x160 มิลลิเมตร สําหรับเปิ ดดูดา้ นในของตูอ้ บ ดังรู ปที* 3.7

รู ปที* 3.7 โครงสร้างประตูตูอ้ บ


36

(4) จัว* สามเหลี* ยม ประกอบขึ8นโดยใช้เหล็กกล่องขนาด 25.4x25.4 มิลลิ เมตร หนา 1.2


มิลลิ เมตร ขึ8นรู ปจัว* สามเหลี* ยม ด้านข้างทั8งสองด้าน มีขนาดความกว้าง 1330 มิลลิ เมตร ยาว 500
มิลลิเมตร สู ง 1690 มิลลิเมตร และด้านบนมีขนาดความกว้าง 1410 มิลลิเมตร ยาว 1330 มิลลิเมตร
สู ง 600 มิลลิ เมตร ทุกด้านบุฉนวนกันความร้ อนหนา 25.4 มิลลิเมตร หุ ้มปิ ดด้วยเหล็กอาบสังกะสี
หนา 0.22 มิลลิเมตร ดังรู ปที* 3.8

รู ปที* 3.8 จัว* สามเหลี*ยมด้านข้าง และด้านบน

3.5.2 ท่อทางไหลของอากาศ
(1) ท่อทางไหลของอากาศชิ8นที* 1 ประกอบขึ8นโดยใช้เหล็กชุ บสังกะสี หนา 0.28 มิลลิเมตร
ขึ8นรู ป ขนาดของท่อด้านหน้า 500x500 มิลลิเมตร ด้านหลังขนาด 300x300 มิลลิเมตร โค้งตามรู ป
หุ ม้ ฉนวนกันความร้อนหนา 50.8 มิลลิเมตร
37

รู ปที* 3.9 ท่อทางไหลของอากาศชิ8นที* 1

(2) ท่อทางไหลของอากาศชิ8นที* 2 ประกอบขึ8นโดยใช้เหล็กชุ บสังกะสี หนา 0.28 มิลลิเมตร


ขึ8นรู ป ขนาดของท่อด้านหน้า 300x300 มิลลิเมตร ด้านหลังขนาด 300x300 มิลลิเมตร โค้งตามรู ป
หุ ม้ ฉนวนกันความร้อนหนา 50.8 มิลลิเมตร

รู ปที* 3.10 ท่อทางไหลของอากาศชิ8นที* 2

(3) ท่อทางไหลของอากาศชิ8นที* 3 ประกอบขึ8นโดยใช้เหล็กชุ บสังกะสี หนา 0.28 มิลลิเมตร


ขึ8นรู ป ขนาดของท่อด้านหน้า 650x650 มิลลิเมตร ท่อด้านหลังแยกออก 2 ด้าน ทั8ง 2 ด้านมีขนาด
300x300 มิลลิเมตร โค้งแยกออกตามรู ป หุ ม้ ฉนวนกันความร้อนหนา 50.8 มิลลิเมตร
38

รู ปที* 3.11 ท่อทางไหลของอากาศชิ8นที* 3

(4) ท่อทางไหลของอากาศชิ8นที* 4 ประกอบขึ8นโดยใช้เหล็กชุ บสังกะสี หนา 0.28 มิลลิเมตร


ขึ8นรู ป ขนาดของท่อ 300x300 มิลลิเมตร

รู ปที* 3.12 ท่อทางไหลของอากาศชิ8นที* 4

3.5.3 อุปกรณ์ให้ความร้อนและโบเวอร์
(1) โครงสร้างของอุปกรณ์และเปลี*ยนความร้อนใช้เหล็กกล่องขนาด 38.1x38.1 มิลลิเมตร
หนา 1.6 มิลลิเมตร ประกอบขึ8นให้มีขนาดความกว้าง 730 มิลลิเมตร ยาว 670 มิลลิเมตร สู ง 980
39

มิลลิเมตร ด้านข้างและด้านบนใช้เหล็กกล่องขนาด 25.4 มิลลิ เมตร ยึดติดประกอบกับโครงสร้ าง


และบุฉนวนกันความร้อนหนา 25.4 มิลลิเมตร หุ ม้ ปิ ดด้วยเหล็กชุบสังกะสี หนา 0.28 มิลลิเมตร

รู ปที* 3.13 โครงสร้างอุปกรณ์แลกเปลี*ยนความร้อน

รู ปที* 3.14 ชุดอุปกรณ์แลกเปลี*ยนความร้อน

(2) ชุดท่ออุปกรณ์แลกเปลี*ยนความร้อนใช้ท่อเหล็กขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 50.8 มิลลิเมตร


หนา 2 มิลลิเมตร ยาว 60 มิลลิเมตร จํานวน 30 ท่อ ด้านบนและด้านล่างใช้เหล็กแผ่นขนาดความ
กว้าง 676 มิลลิเมตร ยาว 726 มิลลิเมตร หนา 5 มิลลิเมตร
40

รู ปที* 3.15 ชุดท่อภายในอุปกรณ์แลกเปลี*ยนความร้อน

(3) ชุ ดหัวเผาแก๊สชนิ ดอินฟาเรด มีขนาดความกว้าง 135 มิลลิเมตร ยาว 570 มิลลิเมตร ใช้
แก๊สหุ งต้ม (LPG) เป็ นเชื8อเพลิง รุ่ น A-1602 อัตราการสิ8 นเปลืองเชื8อเพลิง 0.45 กิโลกรัมต่อชัว* โมง

รู ปที* 3.16 หัวเผาแก๊สชนิดอินฟาเรด

(4) ชุ ดโบเวอร์ ใช้โบเวอร์ ไหลตามแกนเป็ นตัวดูดและเป่ าอากาศร้ อน มี ขนาดเส้ นผ่าน


ศูนย์กลาง 475 มิลลิเมตร มอเตอร์ ที*ใช้ในการขับโบเวอร์ มีกาํ ลังขนาด 0.5 แรงม้า และมูเล่ยท์ ี*ใช้ใน
การทดลองมีขนาด 50.8 มิลลิเมตร 63.5 มิลลิเมตร และ 76.2 มิลลิเมตร
41

รู ปที* 3.17 ชุดโบเวอร์ ไหลตามแกน


บทที 4
อุปกรณ์ การทดลองและผลการทดลอง

ในการทดลองตูอ้ บข้าวแต๋ นโดยการใช้หัวเผาแก๊สชนิ ดอินฟาเรดครังนี ได้ใช้ขา้ วแต๋ นจาก


กลุ่มผูผ้ ลิต กลุ่มสุ มาลี บ้านทุ่งม่านเหนื อ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง ผ่านการกดลงพิมพ์วางบนถาด
วางข้าวแต๋ นเพื.อนํามาทําการอบ โดยการทดลองมีดงั นี

4.1 อุปกรณ์ ทใช้


ี ในการทดลอง
4.1.1 เทมป์ คอนโทรล Sigma Temperature Controller รุ่ น sf 42 สามารถตังอุณหภูมิได้
ตังแต่ -50 oC ถึง 400 oC Supply voltage DC 220 VAC 50/60 Hz.

รู ปที. 4.1 เทมป์ คอนโทรล


43

ั -50 oC ถึง 300 oC


4.1.2 เทอร์ โมมิเตอร์ วัดอุณหภูมิกระเปาะแห้ง ใช้วดั อุณหภูมิได้ตงแต่

รู ปที. 4.2 เทอร์ โมมิเตอร์ กระเปาะแห้ง

ั -50 oC ถึง 70 oC
4.1.3 เทอร์ โมมิเตอร์ วัดอุณหภูมิกระเปาะเปี ยก ใช้วดั อุณหภูมิได้ตงแต่

รู ปที. 4.3 เทอร์ โมมิเตอร์ กระเปาะเปี ยก


44

4.1.4 เครื. องชัง. ตราสามเพชร ชัง. นําหนักได้ถึง 60 กิโลกรัม

รู ปที. 4.4 เครื. องชัง.

4.1.5 ถาดวางข้าวแต๋ น

รู ปที. 4.5 ถาดวางข้าวแต๋ น


45

4.1.6 ข้าวแต๋ นที.ใช้ในการอบ

รู ปที. 4.6 ข้าวแต๋ นที.ใช้ในการอบ

4.1.7 เครื. องวัดความเร็ วลม Anemometer รุ่ น DA-43 ย่านการวัด 0.4 ~ 30.0 m/s, 1.4 ~ 108
km/h, 80 ~ 5910 f/min, 0.8 ~ 58.3 knots

รู ปที. 4.7 เครื. องวัดความเร็ วลม


46

4.1.8 เครื. องวัดกระแสไฟฟ้ า Kyoritsu รุ่ น 2017 สามารถวัด ACA ได้ถึง 600A และ ACV
ได้ 600V

รู ปที. 4.8 เครื. องวัดกระแสไฟฟ้ า

4.1.9 นาฬิกาจับเวลา Casio รุ่ น HS-3 สามารถวัดได้นานถึง 9 ชัว. โมง 59 นาที 59 วินาที

รู ปที. 4.9 นาฬิกาจับเวลา


47

4.1.10 แก็สหุ งต้ม ขนาด 15 กิโลกรัม

รู ปที. 4.10 ถังแก๊สขนาด 15 กิโลกรัม

4.2 วิธีการทดลอง
4.2.1 เตรี ยมความพร้ อมต่างๆ ของตูอ้ บก่อนการทดลอง ติดตังอุปกรณ์ ตรวจวัดอุณหภูมิ
ต่างๆตามแต่ละจุด ตรวจวัดปริ มาณเชือเพลิงก่อนอบและบันทึกค่า
4.2.2 ตรวจชัง. บันทึกค่านําหนักของข้าวแต๋ นก่อนอบ
4.2.3 นําถาดวางข้าวแต๋ นที.ตรวจชัง. แล้ว ใส่ ในตูอ้ บวางเรี ยงกันเป็ นชันๆทังหมด 30 ถาด

รู ปที. 4.11 ชันวางถาดข้าวแต๋ น


4.2.4 เปิ ดการทํางานชุดหัวเผาแก๊สอินฟาเรด พร้อมเปิ ดการทํางานของโบเวอร์
48

4.2.5 เริ. มทําการตังจับเวลาในการอบ และทําการบันทึกอุณหภูมิต่างๆในแต่ละจุด พร้อมสุ่ ม


ตรวจวัดนําหนักของข้าวแต๋ นทุกๆ 15 นาที

รู ปที. 4.12 การตรวจชัง. นําหนักทุกๆ 15 นาที

4.2.6 ทําการอบข้าวแต๋ นและตรวจวัด จนได้ความชื นที. ตอ้ งการโดยทําการสุ่ มถาดชิ นที.


3,4,9,10,15,16,21,22,27 และ28 มาชัง. นําหนัก
49

9
10

5
6

3 4

1 2

รู ปที. 4.13 แสดงถาดข้าวแต๋ นที.ใช้ในการสุ่ มตรวจนําหนัก


1 คือ ถาดข้าวแต๋ นถาดที. 3
2 คือ ถาดข้าวแต๋ นถาดที. 4
3 คือ ถาดข้าวแต๋ นถาดที. 9
4 คือ ถาดข้าวแต๋ นถาดที. 10
5 คือ ถาดข้าวแต๋ นถาดที. 15
6 คือ ถาดข้าวแต๋ นถาดที. 16
7 คือ ถาดข้าวแต๋ นถาดที. 21
8 คือ ถาดข้าวแต๋ นถาดที. 22
9 คือ ถาดข้าวแต๋ นถาดที. 27
10 คือ ถาดข้าวแต๋ นถาดที. 28
50

รู ปที. 4.14 ข้าวแต๋ นที.ผา่ นการอบและตรวจวัดจนความชืนที.เหมาะสม

4.2.7 ในการทดลองนี ทําการทดลองที.อุณหภูมิ 50oC และ 60oC ความเร็ วรอบของโบเวอร์


ในการทดลองที. 986.66, 1233.33 และ 1480 รอบต่อนาที
4.2.8 ทําการทดลองตามขันตอนต่างๆ และบันทึกผลการทดลอง
4.2.9 หลังจากการอบในแต่ล่ะการทดลองจะสุ่ มตัวอย่างข้าวแต๋ นมาวัดค่าสี เพื.อให้ทราบว่า
การทดลองใหนมีค่าสี ใกล้เคียงข้าวแต๋ นที.ผา่ นการอบจากตูเ้ ดิมมากที.สุด

4.3 ผลการทดลอง
4.3.1 กราฟแสดงถึงความชืนที.ถูกกําจัดของข้าวแต๋ นมาตรฐานเปี ยกเทียบกับเวลา
จากการทดลองการอบแห้งการอบข้าวแต๋ นด้วยเครื. องอบข้าวแต๋ นได้แบ่งเป็ น 6 ครังคืออบ
ที.อุณหภูมิ 50 oC ที.ความเร็ วรอบ 986.66, 1233.33 และ 1480 รอบต่อนาที และ 60 oC ที.ความเร็ ว
รอบ 986.66, 1233.33 และ 1480 รอบต่อนาที จากการทดลองแบ่งเป็ นทุกๆ 15 นาที แสดงความชืน
ที.ถูกกําจัด
51
52

จากกราฟแสดงที.อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยสที.ความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาที กําจัด


ความชื นได้ 36.77 % ในเวลา 360 นาที อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยสที.ความเร็ วรอบ 1233.33 รอบต่อ
นาทีกาํ จัดความชืนได้ 33.83 % ในเวลา 300 นาที อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยส ที.ความเร็ วรอบ 1480
รอบต่อนาทีกาํ จัดความชืนได้ 40.13 % ในเวลา 330 นาทีอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยส ที.ความเร็ วรอบ
986.66 รอบต่อนาที กําจัดความชืนได้ 36.24 % ในเวลา 390 นาที.อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยสที.
ความเร็ วรอบ 1233.33 รอบต่อนาทีกาํ จัดความชืนได้ 39.07 % ในเวลา 360 นาทีและอุณหภูมิ 60
องศาเซลเซี ยส ที.ความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาทีกาํ จัดความชืนได้ 35.57 % ในเวลา420 นาที
จากการทแลองพบว่าที.อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยส ที.ความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาทีกาํ จัด
ความชืนได้ 40.13 % ในเวลา 330 นาที มีประสิ ทธิ ภาพสู งเนื.องจากมีการกําจัดความชืนได้สูง

4.3.2 แสดงถึงค่าของกําลังความร้อน
ในกระบวนการลดความชืนจําเป็ นต้องมีแหล่งความร้อนโดยแหล่งความร้อนของเครื. องอบ
ข้าวแต๋ นจะเป็ นในลักษณะการแลกเปลี. ยนความร้อนในลักษณะการพาความร้ อนด้วยอากาศ โดย
การใช้ก๊าซ LPG เผาด้วยหัวเผาชนิ ดอินฟาเรดส่ งผ่านความร้อนด้วยโบเวอร์ จากการทดลองทําให้
ทราบว่ามีการใช้ความร้อนที.อุณหภูมิ 50 oC และอุณหภูมิ 60 oC เท่ากับ 12.91 kw และ 15.08 kw
ตามลําดับ

4.3.3 ค่าสี ของข้าวแต๋ น

50 oC ที. 50 oC ที. 50 oC ที. 60 oC ที. 60 oC ที. 60 oC ที.


แดด ตูอ้ บ ความเร็ ว ความเร็ ว ความเร็ ว ความเร็ ว ความเร็ ว ความเร็ ว
แกน ธรรมชา ของ รอบ รอบ รอบ รอบ รอบ รอบ
ติ ชาวบ้าน 986.66 1233.33 1480 986.66 1233.33 1480
rpm rpm rpm rpm rpm rpm
L 43.53 43.11 41.24 38.62 40.57 39.02 39.34 39.24
a 8.03 9.43 11 8.31 10.95 10.46 10.65 11.15
b 22.93 21.18 24.09 21.88 24.78 23.75 23.49 24.11
∆E 0 2.33 2.21 5.02 4.34 5.18 4.97 5.43

ตารางที. 4.1 ตารางแสดงการเปรี ยบเทียบค่าสี ของข้าวแต๋ น


53

5.5
5.02
5
4.5 4.34

4
3.5
3
∆E 2.33 2.21 2.33 2.33 ตู้อบของชาวบ้ าน
2.5
ตู้อบทีได้ จากการทดลอง
2
1.5
1
0.5
0
ทีความเร็ ว 986.66 rpm ทีความเร็ ว 1233.33 rpm ทีความเร็ ว 1480 rpm

กราฟที. 4.2 กราฟแสดงการเปรี ยบเทียบ ∆E ที.อุณหภมิ 50 oC

5.5 5.18 5.43


4.97
5
4.5
4
3.5
3
∆E 2.33 2.33 2.33 ตู้อบของชาวบ้ าน
2.5
ตู้อบทีได้ จาการทดลอง
2
1.5
1
0.5
0
ทีความเร็ ว 986.66 rpm ทีความเร็ ว 1233.33 rpm ทีความเร็ ว 1480 rpm

กราฟที. 4.3 กราฟแสดงการเปรี ยบเทียบ ∆E ที.อุณหภมิ 60 oC


54

จากกราฟที. 4.2 และ 4.3 แสดงการเปรี ยบเทียบ ∆E ที.อุณหภูมิ 50 oC และ 60oC คุณสมบัติ
สี ของข้าวแต๋ นที.ผา่ นการอบจากตูอ้ บเดิมกับตูอ้ บที.ออกแบบขึน มีผลต่างกันได้วา่ ที.อุณหภูมิ 50 oC
ความเร็ วรอบ 986.66 rpm มีค่า ∆E ต่างกัน = 0.12 ที.อุณหภูมิ 50 oC ความเร็ วรอบ 1233.33 rpm มี
ค่า ∆E ต่างกัน = 2.69 ที.อุณหภูมิ 50 oC ความเร็ วรอบ 1480 rpm มีค่า ∆E ต่างกัน = 0.12 และที.
อุณหภูมิ 60 oC ความเร็ วรอบ 986.66 rpm มีค่า ∆E ต่างกัน = 0.12 ที.อุณหภูมิ 60 oC ความเร็ วรอบ
1233.33 rpm มีค่า ∆E ต่างกัน = 0.12 ที.อุณหภูมิ 60 oC ความเร็ วรอบ 1480 rpm มีค่า ∆E ต่างกัน =
0.12
จาการทดลองพบว่าที.อุณหภูมิ 50 oC ความเร็ วรอบ 986.66 rpm มีคุณสมบัติสีของข้าวแต๋ น
ที.ใกล้เคียงกับตูอ้ บแบบเดิม

4.3.4 กราฟแสดงถึงประสิ ทธิ ภาพรวมของเครื. องอบข้าวแต๋ น

50
45
40
35
29.47
30 27.504
24.84 24.51 50 c
η (%)

25 23.27 22.61
20
15 60 c
10
5
0
986.66 rpm 1233.33 rpm 1480 rpm

กราฟที. 4.4 ประสิ ทธิ ภาพรวมของเครื. องอบข้าวแต๋ น


จากการทดลองพบว่า ที.อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยสที.ความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาที ได้
ประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดเมื.อเทียบกับการทดลองทัง6วิธีโดยพิจารณาจากสมการการหาประสิ ทธิ ภาพของ
เครื. องจะเห็นได้วา่ อัตราการใช้เชื อเพลิง ค่าความร้อนของเชือเพลิง และปริ มาณนําที.ระเหยออกนัน
มีผลต่อประสิ ทธิ ภาพของเครื. องลดความชืน
บทที 5
สรุปผลการทดลองและข้ อเสนอแนะ

5.1 สรุ ปผลการทดลอง


จากการทดลองเครื องอบข้าวแต๋ นได้แบ่งเป็ น 6 ครัง คือ อบทีอุณหภูมิ 50 oC ทีความเร็ ว
รอบ 986.66, 1233.33 และ 1480 รอบต่อนาที และ 60 oC ทีความเร็ วรอบ 986.66, 1233.33 และ
1480 รอบต่อนาที จากการทดลองแบ่งเป็ นทุกๆ 15 นาที เมือพิจารณาจากค่าความชื นข้าวแต๋ นมาตร
ฐานเปี ยกเทียบกับเวลาพบว่า ทีอุณหภูมิ 50 oC ทีความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาที มีประสิ ทธิ ภาพสู ง
โดยสามารถที กําจัดความชื นได้ 40.13% ในเวลา 330 นาที และพิจารณาประสิ ทธิ ภาพรวมของ
เครื องโดยคิดจากอัตราการใช้เชื อเพลิ ง ค่าความร้ อนของเชื อเพลิ ง และปริ มาณนําทีระเหยออกจะ
เห็นได้วา่ ทีอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยสทีความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาที มีประสิ ทธิ ภาพสู งโดยมี
ค่าประสิ ทธิ ภาพอยูท่ ี 29.47% เมือพิจารณาค่าสี ของเครื องอบโดยวัดจากเครื องวัดสี พบว่า ทีอุณหภูมิ
50 องศาเซลเซี ยสทีความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาที มีค่าใกล้เคียงแบบธรรมชาติมากทีสุ ด เมือ
พิจารณาค่าทังสามพบว่าที อุ ณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยสทีความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาที มี ค่า
ประสิ ทธิ ภาพลดความชืนและประสิ ทธิ ภาพรวมของเครื องอบมากทีสุ ด ดังนันจึงเหมาะสมกับตูอ้ บ
ข้าวแต๋ น
จากการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ ตน้ ทุนในการผลิตครังละ 2133 บาทขายได้ครังละ 4000
บาทคิดเป็ นกําไรครังละ 1867 บาทต่อครัง และตูอ้ บข้าวต๋ นสามารถคืนทุนได้ในระยะเวลาประมาณ
2 เดือน

5.2 ข้ อเสนอแนะ
5.2.1 ข้าวแต๋ นทีนํามาอบควรนําทีมี ขนาด รู ปทรง และนําหนัก ทีใกล้เคียงกันเนื องจากจะ
ทําให้มีผลต่อระยะเวลาในการอบ
5.2.2 ชุดพัดลมของตูอ้ บข้าวแต๋ นมีเสี ยงดังซึ งอาจจะรบกวนถ้าหากอบในเวลากลางคืนควร
ปรับเปลียนระบบชุดพัดลมใหม่
5.2.3 ตูอ้ บมีขนาดใหญ่และมีชินส่ วนมาก ทําให้การขนย้ายค่อนข้างลําบาก ควรปรับปรุ ง
ให้มีขนาดทีพอเหมาะและขนย้ายสะดวกหรื อติดล้อเลือนทังตูอ้ บโดยติดตังทีชุ ดพัดลมและชุ ดแลก
เปลืยนความร้อน
56

บรรณานุกรม

[1] วิกพิ เี ดีย สารานุกรมเสรี ข้ าวเหนียว. (สื บค้นออนไลน์).เข้าถึงได้จาก:http://th.wikipedia.org/


(วันที/สืบค้นข้อมูล : 6 มีนาคม 2555)
[2] การปฏิบัติหลังการเก็บเกียวเมล็ดและเมล็ดพันธุ์ การเก็บรักษาข้ าว. (สื บค้นออนไลน์).เข้าถึงได้
จาก : http://ricethailand.go.th (วันที/สืบค้นข้อมูล : 9 มีนาคม 2555)
[3] ณัฐวุฒิ ดุษฎี. ( 2546 ). เอกสารประกอบการสอน พร.409 การอบแห้ งผลิตภัณฑ์ เกษตรด้ วย
พลังงานทดแทน. มหาวิทยาลัยแม่โจ้. เชียงใหม่
[4] ณัฐกานต์ กันยาประสานกิจ “เครืองแลกเปลียนความร้ อน” (สื บค้นออนไลน์).เข้าถึงได้จาก :
http://www.npc-se.co.th (วันที/สืบค้นข้อมูล : 11 กรกฏาคม 2554)
[5] ฉนวนกันความร้ อน (สื บค้นออนไลน์).เข้าถึงได้จาก : http://www.jssteelroof.com/
(วันที/สืบค้นข้อมูล : 10 มีนาคม 2555)
[6] หัวเตาแก๊ สแบบอินฟาเรด (สื บค้นออนไลน์).เข้าถึงได้จาก : http://weloveshopping.com (วันที/
สื บค้นข้อมูล : 11 กรกฏาคม 2554)
[7] สุ รเมศวร์ พิริยะวัฒน์. เศรษฐศาสตร์ วศิ วกรรม (Engineering Economics) , ภาควิชาวิศวกรรม
โยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. พิมพ์ครัYงที/ 2 กรุ งเทพ 2549
[8] ข้ าวแต๋ น (สื บค้นออนไลน์).เข้าถึงได้จาก : http://www.otoptoday.com/(วันที/สืบค้นข้อมูล : 8
มีนาคม 2555)
[8] ข้ าวแต๋ นขนมพืน> บ้ าน (สื บค้นออนไลน์).เข้าถึงได้จาก : http://www.manager.co.th/ (วันที/
สื บค้นข้อมูล : 8 มีนาคม 2555)
[9] อัมพวัน ตัน\ สกุล. สมบัติทางวิศวกรรมของอาหารและวัสดุชีวภาพ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ
จอมเกล้าธนบุรี
[10] สี ( color ) (สื บค้นออนไลน์).เข้าถึงได้จาก : https://docs.google.com/ (วันที/สืบค้นข้อมูล : 8
มีนาคม 2555)
ภาคผนวก ก
การคํานวณ
ก-1

1. การคํานวณเกียวกับความชื น

การทดลองที 1
นําข้าวแต๋ น47 กิโลกรัม ไปอบทีอุณหภูมิ 50 ˚c ความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาทีเป็ นเวลา
360 นาทีแล้วนําไปตรวจสอบนํ3าหนักสุ ดท้ายพบว่าเหลือ 29.1 กิโลกรัม
จากสมการที 2.1 (หน้า 20)
ความชื3นมาตรฐานเปี ยก ( wet basis )
M cwb = [ m - d ] × 100
m
.
=
= 0.3908
= 39.08 %

ดังนั3น ข้าวแต๋ นมีความชื3น 39.08 % (wb)


ความชื3นมาตรฐานแห้ง ( dry basis )
wd = w - d
d
.
=
.
= 0.6151
= 61.51 %( d.b )

การทดลองที 2
นําข้าวแต๋ น40.4 กิโลกรัม ไปอบทีอุณหภูมิ 50 ˚c ความเร็ วรอบ 1233.33 รอบต่อนาทีเป็ น
เวลา 315 นาทีแล้วนําไปตรวจสอบนํ3าหนักสุ ดท้ายพบว่าเหลือ 26.5 กิโลกรัม
จากสมการที 2.1 (หน้า 20)
ความชื3นมาตรฐานเปี ยก ( wet basis )
M cwb = [ m - d ] × 100
m
. .
=
.
= 0.344
= 34.4 %

ดังนั3น ข้าวแต๋ นมีความชื3น 34.4 % (wb)


ก-2

ความชื3นมาตรฐานแห้ง ( dry basis )


wd = w - d
d
. .
=
.
= 0.5245
= 52.45 %( d.b )

การทดลองที 3
นําข้าวแต๋ น45.8 กิโลกรัม ไปอบทีอุณหภูมิ 50 ˚c ความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาทีเป็ นเวลา
330 นาทีแล้วนําไปตรวจสอบนํ3าหนักสุ ดท้ายพบว่าเหลือ 28.3 กิโลกรัม
จากสมการที 2.1 (หน้า 20)
ความชื3นมาตรฐานเปี ยก ( wet basis )
M cwb = [ m - d ] × 100
m
. .
=
.
= 0.382
= 38.2 %

ดังนั3น ข้าวแต๋ นมีความชื3น 38.2 % (wb)


ความชื3นมาตรฐานแห้ง ( dry basis )
wd = w - d
d
. .
=
.
= 0.6183
= 61.83 %( d.b )

การทดลองที 4
นําข้าวแต๋ น45.1 กิโลกรัม ไปอบทีอุณหภูมิ 60 ˚c ความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาทีเป็ น
เวลา 390 นาทีแล้วนําไปตรวจสอบนํ3าหนักสุ ดท้ายพบว่าเหลือ 28.4 กิโลกรัม
จากสมการที 2.1 (หน้า 20)
ก-3

ความชื3นมาตรฐานเปี ยก ( wet basis )


M cwb = [ m - d ] × 100
m
. .
=
.
= 0.3702
= 37.02 %

ดังนั3น ข้าวแต๋ นมีความชื3น 37.02 % (wb)


ความชื3นมาตรฐานแห้ง ( dry basis )
wd = w - d
d
. .
=
.
= 0.588
= 58.8 %( d.b )

การทดลองที 5
นําข้าวแต๋ น44.8 กิโลกรัม ไปอบทีอุณหภูมิ 60 ˚c ความเร็ วรอบ 1233.33 รอบต่อนาทีเป็ น
เวลา 360 นาทีแล้วนําไปตรวจสอบนํ3าหนักสุ ดท้ายพบว่าเหลือ 29.2 กิโลกรัม
จากสมการที 2.1 (หน้า 20)
ความชื3นมาตรฐานเปี ยก ( wet basis )
M cwb = [ m - d ] × 100
m
. .
=
.
= 0.3482
= 34.82 %

ดังนั3น ข้าวแต๋ นมีความชื3น 34.82 % (wb)


ความชื3นมาตรฐานแห้ง ( dry basis )
wd = w - d
d
. .
=
.
= 0.5342
= 53.42 %( d.b )
ก-4

การทดลองที 6
นําข้าวแต๋ น44.6 กิโลกรัม ไปอบทีอุณหภูมิ 60 ˚c ความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาทีเป็ นเวลา
420 นาทีแล้วนําไปตรวจสอบนํ3าหนักสุ ดท้ายพบว่าเหลือ 28.6 กิโลกรัม
จากสมการที 2.1 (หน้า 20)
ความชื3นมาตรฐานเปี ยก ( wet basis )
M cwb = [ m - d ] × 100
m
. .
=
.
= 0.3587
= 35.87 %

ดังนั3น ข้าวแต๋ นมีความชื3น 35.87 % (wb)


ความชื3นมาตรฐานแห้ง ( dry basis )
wd = w - d
d
. .
=
.
= 0.5594
= 55.94 %( d.b )

2.การวิเคราะห์ เชิ งเศรษฐศาสตร์


วิเคราะห์โดยเปรี ยบเทียบจํานวนข้าวแต๋ นทีอบแห้งต่อชัวโมง ระหว่างการใช้เครื องอบข้าวแต๋ นกับ
การนํามาตากแดด ซึ งมีดงั นี3
1.ต้นทุนค่าไฟฟ้ า
เครื องทํางานใช้ไฟฟ้ า 0.4 หน่วย/ชัวโมง
ค่าไฟฟ้ า 3 บาท/หน่วย
ค่าไฟฟ้ าทีใช้ =3x0.4
=1.2 บาท/ชัวโมง
2.คิดต้นทุนในการผลิตข้าวแต๋ น
ค่าจ้างคนงานกดขึ3นรู ปข้าวแต๋ น 16 บาท/ถาด
=16x30
=480 บาท/ครั3ง
ก-5

ค่าวัตถุดิบ 1400
ค่าวัตถุดิบต่อ1กิโลกรัม 1400/30
=46.66 บาท/กิโลกรัม
ค่าจ้างคนอบข้าวแต๋ น 200 บาท/วัน
ค่าไฟฟ้ าครั3งละ3.5ชัวโมง =1.2x3.5
=4.2 บาท/ครั3ง
ใช้แก๊สครั3งล่ะ 2.4 กิโลกรัม
แก๊สราคากิโลกรัมละ20บาท =2.4x20
=48 บาท
เครื องสามารถอบข้าวแต๋ นได้ประมาณ 50 กิโลกรัม/ครั3ง
รวมรายจ่ายในการอบ1ครั3ง =480+1400+200+4.2+48
=2133 บาท
ขายข้าวแต๋ นกิโลกรัมละ 80 บาท/กิโลกรัม
=80x50
=4000 บาท
ฉะนั3นจะได้กาํ ไรจากการอบข้าวแต๋ น1ครั3ง =4000-2133
=1867 บาท/ครั3ง
ทํางานวันละ1ครั3ง =1867 บาท/วัน
ทํางาน20วันต่อ1เดือน =1867x20
=37340 บาท/เดือน
สมมุติ1ปี ทํางานเป็ นเวลา11เดือน =37340x11
=410740 บาท/ปี
ต้นทุนสร้างเครื อง =54680
ค่าบํารุ งรักษา 10000 บาท
หาค่าคืนทุนของเครื อง
64680
=
410740

= 0.2
ดั3งนั3น เครื องอบข้าวแต๋ นคืนทุนในระยะเวลาประมาณ 2 เดือน
ก-6

3. ความคํานวณหาประสิ ทธิภาพเครือง
นําข้าวแต๋ น45.8 กิโลกรัม ไปอบทีอุณหภูมิ 50 ˚c เป็ นเวลา 330 นาทีแล้วนําไปตรวจสอบ
นํ3าหนักสุ ดท้ายพบว่าเหลือ 28.3 กิโลกรัม
จากสมการที 2.1 (หน้า 20)
ความชื3นมาตรฐานเปี ยก ( wet basis )
M cwb = [ m - d ] × 100
m
. .
=
.
= 0.382
= 38.2 %

ดังนั3น ข้าวแต๋ นมีความชื3น 38.2 % (wb)


ความชื3นมาตรฐานแห้ง ( dry basis )
wd = w - d
d
. .
=
.
= 0.6183
= 61.83 %( d.b )

การหาค่าดําเนินการอบแห้งต่อหนึงครั3งมีดงั นี3
ค่าไฟฟ้ า 4.2 บาท/ครั3ง
ค่าแก๊ส 48 บาท/ครั3ง
ค่าแรงงานในการควบคุมเครื องอบ1คน 200 บาท
ค่าซื3 อวัตถุดิบข้าวแต๋ นกิโลกรัมละ28 บาท50 กิโลกรัม/ครั3ง เป็ นจํานวนเงิน 1400 บาท
ค่านํ3าทีระเหยออกจากข้าวแต๋ น 28 บาท 11.5 กิโลกรัม เป็ นจํานวนเงิน 322บาท

.
หาค่าดําเนิ นการอบแห้ง/นํ3าทีระเหย =
. ×

= 5.1 บาท/กิโลกรัมนํ3าทีระเหย

อบข้าวแต๋ น45.8 กิโลกรัม ใช้เวลา 3.5 ชัวโมง ต้องการความชื3น 5.26 %wb. เสี ยค่า
ดําเนินการในการอบแห้ง5.1บาท/kg นํ3าทีระเหย หานํ3าหนักสุ ดท้ายหลังอบแห้ง
ก-7

จากสมการที 2.2 (หน้า 20 )


{m × (100 - Mi )}
d=
(100 - Mf )
. ( . %)
=
( . %)
= 26.22 kg

ดังนั3น จะเหลือนํ3าหนักสุ ดท้ายทีความชื3น 5.26 % wb ที 26.22 กิโลกรัม แสดงว่าระเหยนํ3า


ออกไป 19.58 กิโลกรัม

ค่าใช้จ่ายในการดําเนิ นการทั3งหมด
ในการลดความชื3นข้าวแต๋ นต้องการความชื3นที 5.26 % (wb)
ค่าเชื3อเพลิง (แก๊ส) =แก๊สราคากิโลกรัมละ 20 บาท
ใช้แก๊สในการลดความชื3นทั3งหมด 2.4กิโลกรัม ในระยะเวลาการอบแห้ง 3.5ชัวโมง และเสี ยค่า
ไฟฟ้ าในการเดินเครื องลดความชื3น4.2บาท ดั3งนั3นเสี ยค่าดําเนินการในการลดความชื3น

=(20 x 2.4) + 4.2


= 52.2
.
=
= 1.004 บาท / กิโลกรัม

การคํานวณเกียวกับการหาขนาดของพัดลมทีเหมาะสม
คํานวณปริ มาณนํ3าทีต้องการระเหยออกจากข้าวแต๋ น

( )
W =w ×
( !)
( . %)
= 45.8
( . %)
= 26.22 kg
ดังนั3นปริ มาณนํ3าทีต้องการระเหยเท่ากับM w = 45.8 – 26.22 = 19.58 kg ในการลดวามชื3นต้อง
ระเหยนํ3าออก19.58 kg ในเวลา 3.5ชัวโมง ดังนั3นอัตราการระเหยนํ3ามีค่า
จากสมการที 2.12 (หน้า25)

mw = mw
t
ก-8
.
=
. "#
= 5.59 kg - water
hr
จากสมการที 2.13 (หน้า 26)

ma = m w
wf - wi

$%&'()*+
.
= ,+
( . . )

$%&'()*+
.
= ,+
$%&'()*+
.
$%&(-+

./ 012
=621.11
32

4567#
จะต้องระเหยนํ3าออกในอัตรา 24.345
"#

จุด 1. อากาศแวดล้อม Tdb = 37˚C, RH 94.284 %


h1 = 136.77kj/kg
w1 = 0.0387

คํานวณปริ มาณลมทีใช้ในการอบแห้ง
ที T9: 37˚C ,T4: 24.7℃อากาศมีความชั3นสัมพันธ์ = 94.284 %
นํามาผ่านกระบวนการทําความร้อนจนอุณหภูมิ = 50˚C
จะมีอตั ราส่ วนความชื3น(ω) = 0.081 9#@5=> ?
#
เมือผ่านกระบวนการอบแห้งอุณหภูมิเหลือ = T9: 48.5℃,T4:34.3℃
จะมีอตั ราส่ วนความชื3น(ω) = 0.074 9#@5
=> ?
#
ดังนั3นปริ มาณนํ3าทีดึงออกมาได้ต่ออากาศ = 1 kg
= 0.081-0.074
= 0.007 9#@5=> ?
#
ก-9

ดังนั3นปริ มาณนํ3า 19.58 kg จะต้องใช้ปริ มาณอากาศแห้ง


.
=
.
= 2797.14 kg-dyair

อากาศทีอุณหภูมิ T9: 50˚C มีความหนาแน่น 1.078 kg/m 3

.
ดังนั3นปริ มาณลมทีใช้ =
.

= 2594.74 m
จุด 2 อากาศแห้ง
T9: = 50˚C
w = 0.081
h = 260.485 kj/kg
จุด 3
T9: = 48.5˚C
w = 0.029
C
h = 124.01

คํานวณขนาดของแหล่งความร้อน
จากสมการที 2.14 ( หน้า 26 )
"! "
QE = mE5

. .
= × 621.11
= 23.54 kw

เวลาใช้อบแห้ง 3.5ชัวโมงดังนั3นจะต้องใช้ปริ มาณอากาศ


.
p: =
( . × )

GH
= 12.355
GI
ก - 10

คํานวณขนาดของพัดลม
จากสมการที 2.17 ( หน้า 28)
J∆L
p: =
M!
. ×
=
NH
= 20.591
O
กําหนดประสิ ทธิ ภาพพัดลม
E = 60 %
. × .
ดังนั3น p: =
.
.
= watt
= 8.998267 watt
.
=
= 0.012 HP

การคํานวณหาค่ าความร้ อนรวมของเชื อเพลิง

Q Q7R = m Q7R × HHV

เมือ Q Q7R = ค่าความร้อนรวมของเชื3อเพลิง kw


m Q7R = มวลของเชื3อเพลิง kg/s
HHV = ค่าความร้อนของเชื3อเพลิง kJ/kg

กําหนดให้
m Q7R ของอุณหภูมิ 50 ℃ ทีความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาที =0.00015 kg/s
m Q7R ของอุณหภูมิ 50 ℃ ทีความเร็ วรอบ 1233.33 รอบต่อนาที =0.00015 kg/s
m Q7R ของอุณหภูมิ 50 ℃ ทีความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาที = 0.00015 kg/s
m Q7R ของอุณหภูมิ 60 ℃ ทีความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาที = 0.00015 kg/s
m Q7R ของอุณหภูมิ 60 ℃ ทีความเร็ วรอบ 1233.33 รอบต่อนาที = 0.00015 kg/s
m Q7R ของอุณหภูมิ 60 ℃ ทีความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาที = 0.00015 kg/s

HHV = 50220 MJ/kg


ก - 11

เนืองจากการทดลองแต่ล่ะครั3งใช้ปริ มาณเชื3อเพลิงในปริ มาณเท่ากัน


แทนค่าในสมการจะได้

Q Q7R = 0.00015 x 50220


= 7.533 kw

ประสิ ทธิภาพรวมของการอบแห้ งด้ วยพลังงานก๊ าซ LPG

Whfg × 100
η =
mfuel HHV+Pรวม

เมือ
W = นํ3าหนักทีต้องระเหยออก (kg)
hfg = ความร้อนแฝงในการระเหยนํ3า (kj⁄kg)
mfuel = มวลของเชื3อเพลิง (kg)
HHV = ค่าความร้อนของเชื3อเพลิง (kj⁄kg)
Pรวม = กําลังไฟฟ้ ารวม (kw)

กําหนดให้
w ℃ ความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาที = 17.5 kg
w ℃ ความเร็ วรอบ 1233.33 รอบต่อนาที = 13.9 kg
w ℃ ความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาที = 17.9 kg
w ℃ ความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาที = 16 kg
w ℃ ความเร็ วรอบ 1233.33 รอบต่อนาที = 15.6 kg
w ℃ ความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาที = 16.7 kg

C
ℎ[/ = 2257.09

\[]^_ ℃ ความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาที = 2.5 kg


\[]^_ ℃ ความเร็ วรอบ 1233.33 รอบต่อนาที = 2.2 kg
\[]^_ ℃ ความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาที = 2.4 kg
ก - 12

\[]^_ ℃ ความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาที = 2.7 kg


\[]^_ ℃ ความเร็ วรอบ 1233.33 รอบต่อนาที = 2.5 kg
\[]^_ ℃ ความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาที = 2.9 kg

หาค่ากําลังไฟฟ้ ารวม

P ℃ ความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาที = 18057.6 kg


P ℃ ความเร็ วรอบ 1233.33 รอบต่อนาที = 15800.4 kg
P ℃ ความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาที = 16552.8 kg
P ℃ ความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาที = 19562.4 kg
P ℃ ความเร็ วรอบ 1233.33 รอบต่อนาที = 18057.6 kg
P ℃ ความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาที = 21067.2 kg

หา
. × . ×
η50 . #LG =
( . × ) .

η50 . #LG = 27.504%

. × . ×
η50 . #LG =
( . × )

η50 . #LG = 24.84%

. × . ×
η50 #LG =
( . × ) .

η50 #LG = 29.47%

× . ×
η60 . #LG =
( . × ) .

η60 . #LG = 23.27 %


ก - 13
. × . ×
η60 . #LG =
( . × ) .

η60 . #LG = 24.51%

. × . ×
η60 #LG =
( . × ) .

η60 #LG = 22.61%


ภาคผนวก ค
รู ปตู้อบข้ าวแต๋ น โดยการใช้ หัวเผาแก๊สชนิดอินฟาเรด
ค-1

รู ปที ค.1 ตูอ้ บแห้งข้าวแต๋ นโดยใช้หวั เผาแก๊สชนิดอินฟาเรด

รู ปที ค.2 ตูอ้ บแห้งข้าวแต๋ นด้านหน้า


ค-2

รู ปที ค.3 อุปกรณ์แลกเปลียนความร้อน

รู ปที ค.4 โบเวอร์ ไหลตามแกน


ค-3

รู ปที ค.5 ถาดชั0นวางภายในตูอ้ บ

รู ปที ค.6 หัวเผาแก๊สชนิดอินฟาเรด และหัวจุดแก๊ส


ค-4

รู ปที ค.7 ตูค้ อนโทรล

รู ปที ค.8 ท่อทางไหลของอากาศชิ0นที1


ค-5

รู ปที ค.9 ท่อทางไหลของอากาศชิ0นที2

รู ปที ค.10 ท่อทางไหลของอากาศชิ0นที3


ค-6

รู ปที ค.11 ท่อทางไหลของอากาศชิ0นที4


ง-0

ภาคผนวก ง
ตารางผลการทดลอง
ง-1

ตารางผลการทดลอง
ตารางที ง. 1 ผลการทดลองช่วงอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยส ทีความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาที

อุณหภูมิก่อนเข้าอุปกรณ์
อุณหภูมิ อุณหภูมินอกตูอ้ บ
แลกเปลียนความร้อน
หลังอุปกรณ์ อุณหภูมิใน
เวลา อุณหภูมิ
อุณหภูมิ แลกเปลียน ตูอ้ บ อุณหภูมิ อุณหภูมิ
(min) กระเปาะ
กระเปาะ ความร้อน (ºC ) กระเปาะ กระเปาะ
เปี ยก
แห้ง (ºC ) (ºC ) แห้ง (ºC ) เปี ยก (ºC )
(ºC )
0 28.2 26.7 28.9 28 28.9 28.3
15 32.6 20.9 39.7 35.3 33 30.9
30 34.3 29.5 41.4 37.2 34.6 32
45 36.6 31.4 42.6 38.8 35.7 33.3
60 35.4 32.5 43.2 39 36.3 34
75 37.4 32.5 43.7 40.1 37.1 34.4
90 37.6 33.9 44 40.5 37.5 34
105 38.4 34.2 44.7 41 37.9 35.1
120 39.6 34.5 46 42.3 39 35.9
135 40.5 35.6 46.7 42.9 39.6 36.7
150 40.2 36.2 47.4 43.4 40.2 37.3
165 41.3 35.9 48.1 43.9 40.3 37.4
180 41.6 36.9 49.2 44.8 41.4 37.9
195 42.1 37.2 50.2 46.2 42.5 38.2
210 42.2 37.8 52.2 47.3 43.2 39.1
225 44.1 38.2 53.3 49.1 43.4 39.5
240 45.7 39.1 54.3 49.9 44.9 40.1
255 46.3 39.3 55.2 50.8 46.1 41.4
270 47.4 37.7 54.6 49.9 45.6 41
285 48.7 39 56 51.6 47.1 41.6
300 49.7 39.8 56.6 50.9 48 42.3
315 49.7 37.1 56.5 50.5 48 42.1
330 49.9 39.4 57.8 51.2 39.4 42.8
345 47.5 34.4 55.9 50.7 47.5 42
360 50.4 30.6 57.9 53.6 49.6 42.5
ง-2

ตารางที ง. 2 ผลการทดลองช่วงอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยส ทีความเร็ วรอบ 1233.33 รอบต่อ


นาที

อุณหภูมิก่อนเข้าอุปกรณ์
อุณหภูมิ อุณหภูมินอกตูอ้ บ
แลกเปลียนความร้อน
หลังอุปกรณ์ อุณหภูมิใน
เวลา
อุณหภูมิ อุณหภูมิ แลกเปลียน ตูอ้ บ อุณหภูมิ อุณหภูมิ
(min)
กระเปาะ กระเปาะ ความร้อน (ºC ) กระเปาะแห้ง กระเปาะเปี ยก
แห้ง (ºC ) เปี ยก(ºC ) (ºC ) (ºC ) (ºC )
0 35.5 29.2 40.4 37.2 35 34.6
15 37.6 30.8 43.5 40.7 38 35.4
30 40.5 32.5 45.8 43.3 39.8 37.2
45 40.6 32.9 46.3 44 40.3 37.7
60 42.3 33.4 47.7 45.4 41.7 38.1
75 43.8 34.4 48.8 47 42.7 38.6
90 44.7 35.6 49.7 47.9 43.4 38.9
105 45.4 35.6 50.3 48.8 44.2 39.2
120 46.5 35.6 50.5 49.7 45.3 39.2
135 48.4 36.8 51.6 50.9 46.5 39.9
150 48.4 36.4 52.6 51.3 47.5 39.9
165 47.5 37.2 51 50.2 46.9 39.5
180 48.5 36.5 49.7 49.3 47 39.7
195 48.5 35.3 51 51 47.6 39.4
210 42.4 33.7 50.2 50.3 45.9 39.1
225 48 36.5 50.1 49.9 46.8 39.2
240 49.5 36.4 51.2 51.2 47.6 39.3
255 47.8 36.8 51.5 49.7 48.3 38.9
270 47.6 33.6 50.5 50.1 47 38
285 49.5 35.5 50.4 50.9 47 38.9
300 49.7 34.6 51.5 51.1 48 38.6
315 48.2 32.7 50.3 49.6 46.9 38.1
ง-3

ตารางที ง. 3 ผลการทดลองช่วงอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยส ทีความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาที

อุณหภูมิก่อนเข้าอุปกรณ์
อุณหภูมิ อุณหภูมินอกตูอ้ บ
แลกเปลียนความร้อน
หลังอุปกรณ์ อุณหภูมิใน
เวลา อุณหภูมิ อุณหภูมิ
แลกเปลียน ตูอ้ บ อุณหภูมิ อุณหภูมิ
(min) กระเปาะ กระเปาะ
ความร้อน (ºC ) กระเปาะ กระเปาะ
แห้ง เปี ยก
(ºC ) แห้ง (ºC ) เปี ยก (ºC )
(ºC ) (ºC )
0 37.2 34.5 36.9 34.5 37 36.1
15 35.7 30 40.1 37.4 35.6 34.3
30 37.5 30.8 42.2 39 36.9 35.1
45 37.4 31.9 42.7 39.9 37.3 35.6
60 38.3 31.4 43.5 40.6 38.1 36.3
75 40.3 33.1 44.8 41.9 39.5 36.4
90 40.5 33.3 45.4 42.8 40 36.6
105 41.3 34.6 46 43.5 40.7 36.8
120 42.6 34.7 46.6 44 41.2 37.1
135 42.6 34.4 47 44.9 41.8 37.4
150 43.6 34.7 47.7 45.7 42.3 37.7
165 44.9 34.4 48.4 46.7 43 37.9
180 45.8 34.7 48.9 47.4 43.7 38.1
195 46.8 35.5 49.9 48.6 44.7 38.3
210 47.5 35.5 50.7 49.5 45.6 38.6
225 48.8 35.7 51.3 50.3 46.1 38.3
240 48.6 35.6 51.2 50.3 46.3 38
255 47.8 35.5 50.2 49.4 45.6 38.2
270 48.1 35.5 49.9 49.7 45.4 37.7
285 47.7 34.7 50.7 49.6 45 36
300 48.6 35.4 51.3 50.1 47.5 35.9
315 47.4 33.3 50.7 49.8 46.9 35.7
330 48.5 34.3 50.6 49.8 47 35.3
ง-4

ตารางที ง. 4 ผลการทดลองช่วงอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยส ทีความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาที

อุณหภูมิก่อนเข้าอุปกรณ์
อุณหภูมิ อุณหภูมินอกตูอ้ บ
แลกเปลียนความร้อน
หลังอุปกรณ์ อุณหภูมิใน
เวลา อุณหภูมิ อุณหภูมิ
แลกเปลียน ตูอ้ บ อุณหภูมิ อุณหภูมิ
(min) กระเปาะ กระเปาะ
ความร้อน (ºC ) กระเปาะ กระเปาะ
แห้ง เปี ยก
(ºC ) แห้ง (ºC ) เปี ยก (ºC )
(ºC ) (ºC )
0 37.8 30.6 40.5 37.9 37.4 30.2
15 38.8 32.1 42.6 39.1 38.7 30.6
30 38.9 32.5 43.7 39.9 39.1 32.1
45 39.8 32.7 44.5 41.2 40.2 32.7
60 40.7 33.7 47.7 43.1 40.9 33.7
75 41.1 34.9 48.2 43.9 40.9 35.1
90 41.7 35.3 49.9 45.1 41.8 36.7
105 44 37.8 51.2 47.3 43.1 37.3
120 45.8 39.2 52.4 49.8 45.3 39.1
135 47.9 43 54.2 51.1 47.7 42.1
150 49.9 44.5 56.7 53.2 49.9 44.4
165 52.1 47.9 58.7 55.6 51.1 47
180 53.1 47.9 57.9 55.3 52.9 48.3
195 53.9 49.8 58.5 57.3 53.9 50.1
210 55.1 50.9 59.8 57.4 54.7 51.3
225 56.5 52.9 61.1 58.9 56.1 53.1
240 58.1 54.1 63.2 60.3 57.8 52.9
255 59.2 55.5 62.9 60.4 58.1 54.4
270 59.3 55.1 63.1 60.2 59.2 55.1
285 59.1 56.1 61.3 60 58.7 54.9
300 59.4 55.9 62.3 61 59.3 55.1
315 59.8 55.2 61.3 60.8 59.7 55.2
330 59.1 54.9 61.4 60.5 58.7 55.5
345 59.3 54.5 62.1 60.9 59.2 54.9
360 59.1 54.8 61.9 60.7 58.5 55.7
375 59.5 55.1 61.8 60.4 59.3 55.6
390 59.2 55.6 62.1 60.9 58.7 54.9
ง-5

ตารางที ง. 5 ผลการทดลองช่วงอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยส ทีความเร็ วรอบ 1233.33 รอบต่อ


นาที

อุณหภูมิก่อนเข้าอุปกรณ์
อุณหภูมิหลัง อุณหภูมินอกตูอ้ บ
แลกเปลียนความร้อน
อุปกรณ์ อุณหภูมิใน
เวลา อุณหภูมิ อุณหภูมิ
แลกเปลียน ตูอ้ บ อุณหภูมิ อุณหภูมิ
(min) กระเปาะ กระเปาะ
ความร้อน (ºC ) กระเปาะ กระเปาะ
แห้ง เปี ยก
(ºC ) แห้ง (ºC ) เปี ยก (ºC )
(ºC ) (ºC )
0 37.7 33.5 40.9 32.1 37.4 37.3
15 34.2 29.7 40.6 35.7 34.9 34.1
30 37.5 30.8 42.6 38.1 36.7 34.6
45 37.5 31.5 43.7 39.2 37.9 35.2
60 39.6 31.3 44.9 40.7 39 36
75 41 33.4 45.9 41.3 40.1 36.7
90 42 34.6 47.2 42.9 41 37.6
105 42.7 36.6 47.9 44.7 41.8 38.6
120 43.5 37.5 49.8 46.3 42.2 38.9
135 44.5 38.4 50.5 47.6 43.3 39
150 45.5 39.1 51.8 48.3 43.9 39.2
165 46.3 40.5 53.4 49.9 44.6 39.5
180 46.9 42 54.2 51.2 45.9 39.9
195 47.4 43.1 55.9 52.9 46.3 40.3
210 48.3 43.9 57 53.5 47.1 41.1
225 49.1 44.5 58.9 54.9 47.9 41.9
240 50.1 45.4 59.4 56.1 48.6 42.8
255 52.3 46.8 59.9 57.8 49.4 43.6
270 54.9 47.9 61.2 59.1 50.5 44.5
285 55.5 48.8 62.4 60.7 52 45.2
300 56.7 49.2 63.5 60.4 52.7 46.7
315 55.9 49.1 62.7 60.2 51.9 45.9
330 55.7 48.8 62 60.1 52 45.8
345 56.5 49.1 63 61.1 51.7 45.9
360 56.2 49.3 62.8 60.4 51.8 46.1
ง-6

ตารางที ง. 6 ผลการทดลองช่วงอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยส ทีความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาที

อุณหภูมิก่อนเข้าอุปกรณ์ อุณหภูมิ
อุณหภูมินอกตูอ้ บ
แลกเปลียนความร้อน หลังอุปกรณ์ อุณหภูมิ
เวลา
อุณหภูมิ อุณหภูมิ แลกเปลียน ในตูอ้ บ อุณหภูมิ อุณหภูมิ
(min)
กระเปาะ กระเปาะ ความร้อน (ºC ) กระเปาะ กระเปาะ
แห้ง (ºC ) เปี ยก(ºC ) (ºC ) แห้ง (ºC ) เปี ยก (ºC )
0 30.2 28.7 31.6 30.3 30.6 28.3
15 32.6 29.8 33.4 31.2 32.4 29.6
30 34.7 29.9 34.7 32.3 34.6 30.8
45 35.2 30.3 35.7 33.8 35.7 32.3
60 36.7 31.5 39.2 34.9 36.8 34.2
75 41 33.4 41.9 35.5 40.4 36.7
90 41.1 33.8 42.7 37.1 41.4 37.8
105 42.4 35.6 43.8 39.6 41.8 38.6
120 42.1 36.1 44.8 41 42.9 38.5
135 43.2 37.7 45.7 42.6 43.1 38.7
150 42.9 37.5 46.1 43.1 43.6 39.1
165 44.7 38.1 47.4 44.6 45.1 40.2
180 45.9 40.1 48.9 46.1 46.7 41.9
195 46.7 42.2 49.4 47 47.9 42.1
210 47.8 43.7 51.2 49 48.7 44.1
225 48.9 45.9 51.1 50.3 49.8 46.1
240 50.8 47.7 52.7 51.3 51.2 49.3
255 51.9 49.8 54.1 52.2 52.8 50.9
270 51.8 49.7 54.1 52.1 52.9 51
285 52.1 50.3 54.1 53 53.4 51.4
300 53.4 50.9 55.9 52.8 54.5 51.9
315 53.1 50.5 55.9 53 53.9 51.4
330 53.4 51.1 56.7 53.9 54.9 52.1
345 54.1 52.1 57.3 54.9 56.1 53.2
360 56.9 53.2 58.2 56.4 57.7 54.5
375 58.2 54.3 59.9 58.9 58.7 55.5
390 59.2 55.1 60.3 59.9 59.8 56.6
405 60 57.1 62.5 60.2 60.1 57.2
420 59.9 57.1 61.9 60.4 60.4 57.6
ง-7

เมือนําค่าอุณหภูมิกระเปาะเปี ยกและกระเปาะแห้ง ทีตรวจวัดก่อนจะเข้าอุปกรณ์แลกเปลียนความ


ร้อน และอุณหภูมิกระเปาะเปี ยกและกระเปาะแห้ง หลังการลดความชื?น มาพลอตกราฟ
Psychrometric จะได้ขอ้ มูลดังนี?
ตารางที ง. 7 ผลการพล๊อตกราฟไซโครเมตริ กของอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยสความเร็ วรอบ
986.66 รอบต่อนาที

ก่อนเข้าตูอ้ บทีอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยส ออกตูอ้ บทีอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยส


ความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาที ความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาที

Rel. Rel.
Dew Humid w H Dew Humid w H
เวลา Point % g/kg(d.a) kj/kg(d.a) Point % g/kg(d.a) kj/kg(d.a)
0 28.128 95.606 24.401 91.37 26.225 89.658 21.735 83.831
15 30.364 86.111 27.915 104.671 15.06 34.777 10.732 60.262
30 31.371 83.411 29.644 110.793 28.154 70.488 24.44 97.139
45 32.758 84.894 32.186 118.481 30.079 69.399 27.442 107.261
60 33.499 85.63 33.626 122.815 31.815 81.836 30.437 113.674
75 33.822 83.086 34.273 125.328 31.327 71.349 29.567 113.562
90 33.232 79.014 33.1 122.744 33.083 77.932 32.81 122.106
105 34.522 83.086 35.711 129.878 33.284 75.478 33.202 123.965
120 35.284 81.676 37.343 135.251 33.399 71.225 33.429 125.826
135 36.147 82.938 39.274 140.862 34.602 72.594 35.879 133.094
150 36.764 83.081 40.709 145.203 35.413 77.148 37.626 137.269
165 36.467 83.105 40.953 145.393 34.814 70.405 36.328 135.107
180 37.27 80.142 41.925 149.63 36.005 74.004 38.949 142.18
195 37.435 76.32 42.328 151.858 36.28 73.179 39.579 144.341
210 38.404 77.541 44.77 158.915 37.001 75.719 41.274 148.817
225 38.851 78.611 45.944 162.158 37.143 69.113 41.615 151.75
240 39.322 74.602 47.209 167.058 37.967 66.561 43.652 158.743
255 40.687 75.447 51.064 178.329 38.108 65.049 44.011 160.321
270 40.288 75.778 49.908 174.794 35.885 54.498 38.678 147.719
285 40.771 72.028 51.311 180.067 37.303 55.162 42.006 157.734
300 41.47 71.419 53.409 186.483 38.137 54.908 44.085 164.202
315 41.231 70.526 52.684 184.608 34.633 45.32 35.946 143.117
330 41.859 67.963 54.613 191.146 37.595 52.787 42.722 160.889
345 41.187 52.552 52.552 183.715 31.462 42.267 29.741 124.711
360 41.471 53.412 53.412 188.256 24.74 24.769 19.842 102.125
ง-8

ตารางที ง. 8 ผลการพล๊อตกราฟไซโครเมตริ กของอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยสความเร็ วรอบ


1233.33 รอบต่อนาที
ก่อนเข้าตูอ้ บทีอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยส ออกตูอ้ บทีอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยส
ความเร็ วรอบ 1233.33 รอบต่อนาที ความเร็ วรอบ 1233.33 รอบต่อนาที
Rel. Rel.
Dew w H Dew w H
Humid Humid
Point g/kg(d.a) kj/kg(d.a) Point g/kg(d.a) kj/kg(d.a)
เวลา % %
0 34.518 97.354 35.703 126.753 32.55 75.224 31.793 119.599
15 34.872 84.256 36.452 131.888 28.996 61.749 25.715 103.879
30 36.718 84.659 40.6 144.491 30.548 57.778 28.224 113.389
45 37.23 84.765 41.827 148.187 36.199 59.19 39.392 142.244
60 37.458 79.696 42.386 151.14 31.319 54.903 29.553 118.716
75 37.886 77.395 43.449 154.964 32.311 53.704 31.346 124.93
90 38.126 75.598 44.058 157.295 33.705 55.435 34.307 132.835
105 38.352 73.412 44.636 159.654 33.552 53.02 33.731 132.791
120 38.16 68.654 44.144 159.578 33.309 49.446 33.251 132.724
135 38.812 66.88 45.839 165.262 34.504 48.015 35.674 141.021
150 38.864 62.995 43.391 165.191 33.969 46.607 34.57 138.163
165 38.25 63.582 44.376 161.915 35.216 52.262 37.195 143.991
180 38.48 64.05 44.97 163.559 34.082 46.667 34.8 138.866
195 38.004 60.556 43.747 161.047 32.445 42.578 31.596 130.572
210 37.391 65.758 43.563 158.729 31.701 55.811 30.231 120.57
225 37.896 62.692 43.474 159.475 34.188 48.139 35.019 138.897
240 37.897 60.148 43.431 160.232 33.731 43.532 34.09 138.094
255 37.249 56.115 41.875 156.961 34.629 49.831 35.937 141.059
270 36.347 57.041 39.734 150.021 30.261 39.35 27.743 119.648
285 37.486 60.694 42.452 157.05 32.492 40.609 31.683 131.861
300 36.924 55.966 41.089 154.606 31.17 37.307 29.291 125.875
315 36.494 57.793 40.075 150.792 28.774 35.403 25.372 114.146
ง-9

ตารางที ง. 9 ผลการพล๊อตกราฟไซโครเมตริ กของอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยสความเร็ วรอบ 1480


รอบต่อนาที

ก่อนเข้าตูอ้ บทีอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยส ออกตูอ้ บทีอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยส


ความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาที ความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาที
เวลา Rel. Rel.
Dew w H Dew w H
Humid Humid
Point g/kg(d.a) kj/kg(d.a) Point g/kg(d.a) kj/kg(d.a)
% %
0 35.926 94.284 38.77 136.77 33.925 83.487 34.481 125.97
15 34.023 91.629 34.681 124.773 28.434 66.306 24.857 99.678
30 34.731 88.748 36.152 129.939 29.024 62.184 25.758 103.884
45 35.26 89.417 37.29 133.292 30.536 68.203 28.204 110.062
60 35.952 88.948 38.83 138.106 29.627 61.655 26.709 107.169
75 35.8 81.806 38.485 138.725 31.407 61.324 29.707 116.995
90 35.947 80.298 38.817 140.119 31.625 61.341 30.096 118.204
105 36.057 77.831 39.066 141.513 33.148 64.165 32.938 126.376
120 36.329 76.94 39.693 143.665 32.986 59.383 32.624 126.95
135 36.584 75.59 40.286 145.841 32.59 58.074 31.868 125.001
150 36.859 74.745 40.936 148.054 32.759 55.65 32.188 126.89
165 36.975 72.514 41.213 149.524 33.529 54.331 33.686 132.742
180 37.093 70.369 41.495 151.007 32.249 48.279 31.231 126.758
195 37.156 67.054 41.648 152.484 33.107 48.15 32.857 132.025
210 37.365 64.754 42.156 154.768 32.949 46.064 32.553 131.983
225 36.897 61.534 41.026 152.391 32.929 43.1 32.514 133.266
240 36.481 59.54 40.044 150.068 32.837 43.309 32.337 132.596
255 36.865 63.015 40.949 151.65 32.881 45.199 32.422 131.964
270 36.272 61.636 39.561 147.85 32.813 44.351 32.292 131.946
285 34.166 56.006 34.973 135.57 31.798 42.641 30.407 126.645
300 33.492 47.485 33.611 134.722 32.561 42.641 31.813 131.239
315 33.355 48.587 33.341 133.383 29.878 38.886 27.115 117.811
330 32.79 46.824 32.248 130.663 31.038 39.314 29.061 124.01
ง-10

ตารางที ง. 10 ผลการพล๊อตกราฟไซโครเมตริ กของอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยสความเร็ วรอบ


986.66 รอบต่อนาที

ก่อนเข้าตูอ้ บทีอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยส ออกตูอ้ บทีอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยสความเร็ ว


ความเร็ วรอบ 986.66 รอบต่อนาที รอบ 986.66 รอบต่อนาที
เวลา Rel. Rel. H
Dew w H Dew w
Humid Humid kj/kg(d.a
Point g/kg(d.a) kj/kg(d.a) Point g/kg(d.a)
% % )
0 28.222 59.679 24.54 100.651 28.664 59.918 25.205 102.779
15 28.408 56.235 24.819 102.732 30.444 62.897 28.048 111.14
30 30.366 61.617 27.919 111.124 30.954 64.41 28.916 113.478
45 30.895 59.882 28.815 114.593 30.996 61.524 28.988 114.615
60 32.06 61.641 30.883 120.657 32.107 62.465 30.97 120.669
75 33.882 68.28 34.393 129.695 33.581 66.437 33.79 128.355
90 35.717 72.078 38.3 140.721 33.965 65.76 34.562 130.986
105 36.212 69.19 39.422 145.014 36.664 67.683 40.474 148.698
120 38.037 68.199 43.831 158.77 38.072 66.601 43.92 159.544
135 41.276 71.771 52.82 184.631 42.313 75.033 56.048 193.202
150 43.679 72.906 60.591 207.188 43.795 73.349 60.996 208.237
165 46.529 79.544 71.244 236.153 47.438 79.307 75.011 247.06
180 47.803 77.692 76.578 252.042 47.326 75.11 74.537 246.972
195 49.725 81.493 85.373 276.039 49.389 80.141 83.766 271.865
210 50.984 83.456 91.672 293.343 50.501 79.941 89.202 287.388
225 54.104 82.688 109.378 343.466 52.59 82.86 100.391 318.148
240 52.477 77.498 99.749 318.016 53.775 81.385 107.357 338.2
255 54.104 82.688 109.378 343.466 55.22 82.869 116.526 363.429
270 54.783 81.152 113.671 355.984 54.775 80.745 113.62 355.973
285 54.603 82.354 112.52 352.377 55.88 85.921 120.982 370.928
300 54.775 80.745 113.62 355.973 55.64 83.768 119.344 371.022
315 54.853 79.557 114.126 357.776 54.845 79.159 114.075 357.765
330 55.258 84.979 116.78 363.483 54.133 79.022 109.557 345.136
345 54.564 80.304 112.267 352.324 54.117 78.229 109.457 345.115
360 55.491 86.736 118.334 367.291 54.462 80.285 111.622 350.52
375 55.321 82.885 117.199 365.306 54.759 79.938 113.519 355.952
390 54.603 82.354 112.52 352.377 55.329 83.302 117.25 365.316
ง-11

ตารางที ง. 11 ผลการพล๊อตกราฟไซโครเมตริ กของอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยสความเร็ วรอบ


986.66 รอบต่อนาที

ก่อนเข้าตูอ้ บทีอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยส ออกตูอ้ บทีอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยสความเร็ ว


ความเร็ วรอบ 1233.33 รอบต่อนาที รอบ 1233.33 รอบต่อนาที
เวลา Rel. Rel.
Dew w H Dew w H
Humid Humid
Point g/kg(d.a) kj/kg(d.a) Point g/kg(d.a) kj/kg(d.a)
% %
0 34.518 97.354 35.703 126.753 32.55 75.224 31.793 119.599
15 33.929 94.74 34.489 123.534 28.454 72.13 24.888 98.182
30 34.157 86.909 34.954 126.651 29.024 62.184 25.758 103.884
45 34.645 83.658 35.971 130.547 29.975 65.688 27.273 107.776
60 35.407 82.233 37.613 135.946 29.135 55.889 25.931 106.538
75 36.05 80.325 39.052 140.83 31.637 59.865 30.117 118.79
90 36.979 80.568 41.222 147.388 32.991 61.296 32.632 126.333
105 38.045 81.838 43.851 155.025 35.412 67.611 37.624 139.947
120 38.336 81.405 44.596 157.378 36.385 68.409 39.821 146.474
135 38.265 76.564 44.414 158.103 37.317 68.343 42.039 153.275
150 38.403 74.771 44.77 159.67 38.002 67.375 43.742 158.756
165 38.647 73.066 45.405 162.075 39.575 70.388 47.902 170.377
180 38.913 69.334 46.108 165.304 41.278 74.74 52.824 183.76
195 39.333 69.481 47.238 168.66 42.501 77.714 56.655 194.219
210 40.171 69.768 49.573 175.571 42.373 73.773 56.243 194.149
225 41.007 70.047 52.012 182.759 43.901 76.752 61.366 208.301
240 41.976 71.17 54.978 191.207 44.815 76.554 64.639 217.899
255 42.808 71.728 57.656 199.026 46.159 73.598 69.765 233.675
270 43.716 70.906 60.719 208.189 47.124 68.16 73.687 246.814
285 44.339 68.024 62.913 215.555 48.09 69.54 77.83 258.273
300 45.996 71.58 69.124 232.463 48.419 66.778 79.292 263.457
315 45.168 71.34 65.949 223.32 48.39 62.262 79.161 262.196
330 45.039 70.524 65.469 222.187 48.068 68.805 77.734 258.255
345 45.193 72.135 66.042 223.337 48.326 67.1 78.875 262.142
360 45.412 72.594 66.87 225.596 48.586 68.579 80.046 264.843
ง-12

ตารางที ง. 12 ผลการพล๊อตกราฟไซโครเมตริ กของอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยสความเร็ วรอบ


1480 รอบต่อนาที
ก่อนเข้าตูอ้ บทีอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยส ออกตูอ้ บทีอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยสความเร็ ว
ความเร็ วรอบ 1480 รอบต่อนาที รอบ 1480 รอบต่อนาที
เวลา Rel. Rel.
Dew w H Dew w H
Humid Humid
Point g/kg(d.a) kj/kg(d.a) Point g/kg(d.a) kj/kg(d.a)
% %
0 27.626 84.2 23.671 91.287 28.273 89.46 24.616 93.284
15 28.831 81.541 25.46 97.753 29.039 81.604 25.781 98.786
30 29.813 76.305 27.008 104.037 28.583 70.679 25.082 99.203
45 31.486 79.006 29.847 112.479 28.983 70.362 25.694 101.299
60 33.638 83.972 33.903 124.06 30.186 69.446 27.619 107.819
75 35.992 78.8 38.919 140.811 31.637 59.865 30.117 118.79
90 37.149 79.614 41.63 148.87 32.145 61.286 31.039 121.272
105 38.045 81.838 43.851 155.025 34.201 64.223 35.044 132.976
120 37.729 75.941 43.055 154.165 34.902 67.83 36.516 136.448
135 37.936 76.003 43.576 155.726 36.691 70.656 40.536 147.995
150 38.334 75.661 44.591 158.887 36.575 72.826 40.265 146.54
165 39.41 74.186 47.448 167.893 36.907 66.15 41.05 150.94
180 41.189 75.15 2.557 182.849 39.156 70.245 46.759 166.988
195 41.246 70.938 52.73 184.616 41.544 76.572 53.637 185.641
210 43.49 76.646 59.942 204.169 43.146 78.771 58.78 200.159
225 45.656 81.133 67.804 225.764 45.538 84.343 67.349 223.57
240 49.107 90.135 82.44 265.3 47.357 84.192 74.667 244.684
255 50.721 90.305 90.32 287.608 49.591 89.22 84.73 272.05
270 50.822 90.315 90.837 289.066 49.49 89.209 84.247 270.682
285 51.216 89.879 92.884 294.968 50.126 90.729 87.33 279.029
300 51.666 87.135 95.277 302.48 50.221 85.566 87.798 281.757
315 51.17 87.53 92.64 294.92 50.25 86.946 87.943 281.786
330 51.851 86.253 96.275 305.546 50.885 88.425 91.161 290.494
345 52.955 85.96 102.484 323.119 51.923 89.953 96.669 305.625
360 54.246 84.833 110.261 345.283 52.886 82.485 102.087 323.037
375 55.258 84.979 116.78 363.483 53.987 81.835 108.651 341.69
390 56.371 85.135 124.409 384.726 54.783 81.152 113.671 355.984
405 56.999 86.495 128.942 396.923 56.898 86.482 128.201 394.867
420 57.409 86.974 132.002 405.281 56.905 86.912 128.253 394.878
ง-13

ตารางที ง. 13 ผลจากการชังนํ?าหนักของข้าวแต๋ นของอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยสความเร็ วรอบ


986.66 รอบต่อนาที
ตําแหน่ งของถาด
เวลา
สาม สี เก้า สิ บ สิ บห้า สิ บหก ยีสิ บเอ็ด ยีสิ บสอง ยีสิ บเจ็ด ยีสิ บแปด
0 1.5 1.5 1.6 1.6 1.6 1.5 1.7 1.5 1.3 1.7
15 1.5 1.5 1.6 1.6 1.6 1.5 1.7 1.5 1.3 1.7
30 1.5 1.5 1.6 1.6 1.6 1.4 1.6 1.5 1.3 1.7
45 1.5 1.5 1.5 1.5 1.6 1.4 1.6 1.4 1.3 1.7
60 1.5 1.4 1.5 1.5 1.5 1.3 1.5 1.4 1.3 1.6
75 1.5 1.4 1.5 1.4 1.5 1.3 1.5 1.3 1.3 1.6
90 1.5 1.4 1.4 1.3 1.5 1.2 1.5 1.3 1.3 1.6
105 1.5 1.4 1.4 1.3 1.4 1.2 1.4 1.3 1.3 1.6
120 1.4 1.3 1.4 1.3 1.4 1.2 1.4 1.3 1.3 1.5
135 1.4 1.3 1.4 1.2 1.3 1.1 1.4 1.2 1.2 1.5
150 1.4 1.3 1.3 1.2 1.3 1.1 1.3 1.2 1.2 1.5
165 1.4 1.3 1.3 1.2 1.2 1.1 1.3 1.2 1.2 1.5
180 1.4 1.2 1.3 1.2 1.2 1.1 1.3 1.1 1.1 1.5
195 1.3 1.2 1.3 1.1 1.1 1 1.3 1.1 1.1 1.4
210 1.3 1.2 1.2 1.1 1.1 1 1.2 1.1 1.1 1.4
225 1.3 1.2 1.2 1.1 1.1 1 1.2 1 1 1.4
240 1.3 1.2 1.2 1.1 1.1 1 1.2 1 1 1.4
255 1.3 1.2 1.2 1.1 1 1 1.2 1 1 1.4
270 1.2 1.1 1.1 1 1 1 1.1 1 1 1.3
285 1.2 1.1 1.1 1 1 0.9 1.1 1 1 1.3
300 1.2 1.1 1 1 1 0.9 1.1 0.9 0.9 1.3
315 1.2 1.1 1 1 0.9 0.9 1 0.9 0.9 1.2
330 1.1 1.1 1 1 0.9 0.9 1 0.9 0.9 1.2
345 1.1 1 1 0.9 0.9 0.9 1 0.9 0.9 1.2
360 1.1 1 1 0.9 0.9 0.9 1 0.9 0.9 1.2
ง-14

ตารางที ง. 14 ผลจากการชังนํ?าหนักของข้าวแต๋ นของอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยสความเร็ วรอบ


1233.33 รอบต่อนาที

ตําแหน่ งของถาด
เวลา
สาม สี เก้า สิ บ สิ บห้า สิ บหก ยีสิ บเอ็ด ยีสิ บสอง ยีสิ บเจ็ด ยีสิ บแปด
0 1.4 1.5 1.1 1.4 1.1 1.2 1.3 1.2 1.6 1.5
15 1.3 1.4 1 1.3 1 1.1 1.2 1.1 1.5 1.4
30 1.2 1.4 1 1.2 0.9 1.1 1.1 1.1 1.4 1.4
45 1.2 1.3 0.9 1.2 0.8 1 1.1 1 1.4 1.3
60 1.2 1.3 0.9 1.2 0.8 1 1.1 1 1.4 1.3
75 1.2 1.3 0.8 1.2 0.8 1 1.1 1 1.4 1.3
90 1.1 1.2 0.8 1.1 0.8 1 1.1 0.9 1.3 1.3
105 1.1 1.2 0.8 1.1 0.8 1 1 0.9 1.3 1.3
120 1.1 1.2 0.8 1.1 0.8 1 1 0.9 1.3 1.3
135 1.1 1.2 0.8 1.1 0.8 0.8 1 0.9 1.2 1.2
150 1.1 1.1 0.8 1 0.8 0.8 1 0.9 1.2 1.2
165 1 1.1 0.8 1 0.8 0.8 1 0.9 1.2 1.2
180 1 1.1 0.8 1 0.8 0.8 1 0.9 1.2 1.1
195 1 1.1 0.8 1 0.8 0.8 1 0.9 1.1 1.1
210 0.9 1 0.8 1 0.8 0.8 1 0.9 1.1 1.1
225 0.9 1 0.8 0.9 0.8 0.8 0.9 0.9 1.1 1.1
240 0.9 1 0.8 0.9 0.8 0.8 0.9 0.9 1.1 1.1
255 0.9 1 0.8 0.9 0.8 0.8 0.9 0.9 1.1 1.1
270 0.9 1 0.8 0.9 0.8 0.8 0.9 0.9 1 1
285 0.9 0.9 0.8 0.9 0.8 0.8 0.9 0.9 1 1
300 0.8 0.9 0.8 0.9 0.8 0.8 0.9 0.9 1 1
ง-15

ตารางที ง. 15 ผลจากการชังนํ?าหนักของข้าวแต๋ นของอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ยสความเร็ วรอบ


1480 รอบต่อนาที

ตําแหน่ งของถาด
เวลา
สาม สี เก้า สิ บ สิ บห้า สิ บหก ยีสิ บเอ็ด ยีสิ บสอง ยีสิ บเจ็ด ยีสิ บแปด
0 1.7 1.5 1.5 1.3 1.3 1.5 1.5 1.7 1.6 1.6
15 1.7 1.5 1.3 1.2 1.1 1.3 1.3 1.6 1.5 1.4
30 1.7 1.4 1.3 1.1 1 1.3 1.3 1.5 1.5 1.3
45 1.6 1.4 1.2 1.1 1 1.2 1.2 1.5 1.4 1.3
60 1.6 1.4 1.2 1.1 1 1.2 1.2 1.4 1.4 1.3
75 1.6 1.3 1.1 1.1 0.9 1.1 1.2 1.3 1.3 1.2
90 1.6 1.3 1 1.1 0.9 1.1 1.1 1.3 1.3 1.2
105 1.5 1.2 1 1 0.9 1.1 1.1 1.3 1.3 1.2
120 1.5 1.2 1 1 0.8 1 1.1 1.2 1.3 1.1
135 1.5 1.2 0.9 1 0.8 1 1 1.2 1.2 1.1
150 1.4 1.1 0.9 1 0.8 0.9 1 1.1 1.2 1.1
165 1.3 1.1 0.9 1 0.8 0.9 1 1.1 1.2 1.1
180 1.3 1.1 0.9 1 0.8 0.9 0.9 1.1 1.1 1.1
195 1.3 1.1 0.9 1 0.8 0.9 0.9 1.1 1.1 1.1
210 1.3 1.1 0.9 1 0.8 0.9 0.9 1.1 1.1 1.1
225 1.3 1 0.8 0.9 0.7 0.9 1.1 1 1 1.1
240 1.2 1 0.8 0.9 0.7 0.9 1 1 1 1
255 1.2 1 0.8 0.9 0.7 0.9 1 1 1 1
270 1.2 1 0.8 0.9 0.7 0.9 0.9 0.9 1 1
285 1.2 1 0.8 0.9 0.7 0.9 0.9 0.9 1 1
300 1.2 1 0.8 0.9 0.7 0.9 0.9 0.9 1 1
315 1.2 0.9 0.8 0.9 0.7 0.9 0.9 0.9 1 1
330 1.1 0.9 0.8 0.9 0.7 0.9 0.9 0.9 1 1
ง-16

ตารางที ง. 16 ผลจากการชังนํ?าหนักของข้าวแต๋ นของอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยสความเร็ วรอบ


986.66 รอบต่อนาที

ตําแหน่ งของถาด
เวลา
สาม สี เก้า สิ บ สิ บห้า สิ บหก ยีสิ บเอ็ด ยีสิ บสอง ยีสิ บเจ็ด ยีสิ บแปด
0 1.4 1.6 1.5 1.5 1.4 1.5 1.6 1.4 1.5 1.5
15 1.4 1.6 1.5 1.5 1.4 1.5 1.6 1.4 1.5 1.5
30 1.4 1.6 1.5 1.5 1.4 1.5 1.6 1.4 1.5 1.5
45 1.4 1.6 1.5 1.5 1.4 1.5 1.6 1.4 1.5 1.5
60 1.4 1.6 1.5 1.5 1.4 1.5 1.6 1.3 1.5 1.5
75 1.3 1.6 1.4 1.4 1.3 1.4 1.6 1.3 1.4 1.4
90 1.3 1.5 1.4 1.4 1.3 1.4 1.5 1.3 1.4 1.4
105 1.3 1.5 1.4 1.4 1.3 1.4 1.5 1.3 1.4 1.4
120 1.3 1.5 1.4 1.4 1.3 1.4 1.5 1.3 1.4 1.4
135 1.3 1.5 1.4 1.3 1.3 1.4 1.5 1.3 1.4 1.4
150 1.2 1.5 1.3 1.3 1.2 1.3 1.5 1.2 1.3 1.4
165 1.2 1.4 1.3 1.3 1.2 1.3 1.4 1.2 1.3 1.4
180 1.2 1.4 1.3 1.3 1.2 1.3 1.4 1.2 1.3 1.3
195 1.2 1.4 1.3 1.3 1.2 1.3 1.4 1.2 1.3 1.3
210 1.2 1.4 1.2 1.2 1.2 1.3 1.4 1.2 1.3 1.3
225 1.1 1.4 1.2 1.2 1.2 1.2 1.4 1.2 1.3 1.3
240 1.1 1.3 1.2 1.2 1.1 1.2 1.3 1.1 1.2 1.3
255 1.1 1.3 1.2 1.2 1.1 1.2 1.3 1.1 1.2 1.2
270 1.1 1.3 1.2 1.2 1.1 1.2 1.3 1.1 1.2 1.2
285 1.1 1.3 1.2 1.1 1.1 1.1 1.2 1.1 1.2 1.2
300 1.1 1.2 1.1 1.1 1 1.1 1.2 1.1 1.1 1.2
315 1 1.2 1.1 1.1 1 1.1 1.2 1 1.1 1.2
330 1 1.2 1.1 1.1 1 1 1.1 1 1.1 1.1
ง-17

ตารางที ง. 16 ผลจากการชังนํ?าหนักของข้าวแต๋ นของอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยสความเร็ วรอบ


986.66 รอบต่อนาที (ต่อ)

ตําแหน่ งของถาด
เวลา
สาม สี เก้า สิ บ สิ บห้า สิ บหก ยีสิ บเอ็ด ยีสิ บสอง ยีสิ บเจ็ด ยีสิ บแปด
345 1 1.2 1.1 1 0.9 1 1 1 1 1.1
360 1 1.1 1 1 0.9 0.9 1 0.9 1 1.1
375 0.9 1 1 1 0.9 0.9 1 0.9 1 1
390 0.9 1 0.9 1 0.9 0.9 1 0.9 1 1
ง-18

ตารางที ง. 17 ผลจากการชังนํ?าหนักของข้าวแต๋ นของอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยสความเร็ วรอบ


1233.33 รอบต่อนาที

ตําแหน่ งของถาด
เวลา
สาม สี เก้า สิ บ สิ บห้า สิ บหก ยีสิ บเอ็ด ยีสิ บสอง ยีสิ บเจ็ด ยีสิ บแปด
0 1.5 1.5 1.5 1.4 1.6 1.5 1.5 1.5 1.7 1.4
15 1.5 1.5 1.5 1.4 1.5 1.5 1.5 1.5 1.7 1.4
30 1.5 1.5 1.5 1.3 1.5 1.5 1.4 1.5 1.7 1.4
45 1.5 1.5 1.4 1.3 1.5 1.4 1.4 1.5 1.6 1.4
60 1.4 1.4 1.4 1.3 1.4 1.4 1.4 1.4 1.6 1.4
75 1.4 1.4 1.4 1.2 1.4 1.3 1.3 1.4 1.6 1.4
90 1.4 1.4 1.3 1.2 1.4 1.2 1.3 1.3 1.6 1.3
105 1.3 1.4 1.3 1.2 1.4 1.2 1.3 1.3 1.5 1.3
120 1.3 1.4 1.2 1.2 1.3 1.2 1.2 1.3 1.5 1.3
135 1.3 1.4 1.2 1.1 1.3 1.1 1.2 1.3 1.4 1.3
150 1.2 1.4 1.2 1.1 1.2 1.1 1.2 1.2 1.4 1.3
165 1.2 1.4 1.2 1.1 1.2 1.1 1.1 1.2 1.3 1.2
180 1.1 1.3 1.1 1 1.1 1 1.1 1.2 1.3 1.2
195 1.1 1.3 0.8 1 0.8 0.8 1.1 0.9 1.2 1.2
210 1.1 1.3 0.8 1 0.8 0.8 1.1 0.9 1.2 1.2
225 1.1 1.3 0.8 1 0.8 0.8 1.1 0.9 1.2 1.2
240 1.1 1.3 0.8 0.9 0.8 0.8 0.9 0.9 1.2 1.2
255 1 1.2 0.8 0.9 0.8 0.8 0.9 0.9 1.1 1.2
270 1 1.2 0.8 0.9 0.8 0.8 0.9 0.9 1.1 1.1
285 1 1.2 0.8 0.9 0.8 0.8 0.9 0.9 1 1.1
300 1 1.1 0.8 0.9 0.8 0.8 0.9 0.9 1 1.1
315 1 1.1 0.8 0.9 0.8 0.8 0.9 0.9 1 1
330 1 1.1 0.8 0.9 0.8 0.8 0.9 0.9 1 1
345 1 1.1 0.8 0.9 0.8 0.8 0.9 0.9 1 1
360 1 1.1 0.8 0.9 0.8 0.8 0.9 0.9 1 1
ง-19

ตารางที ง. 18 ผลจากการชังนํ?าหนักของข้าวแต๋ นของอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยสความเร็ วรอบ


1480 รอบต่อนาที

ตําแหน่ งของถาด
เวลา
สาม สี เก้า สิ บ สิ บห้า สิ บหก ยีสิ บเอ็ด ยีสิ บสอง ยีสิ บเจ็ด ยีสิ บแปด
0 1.5 1.5 1.5 1.4 1.6 1.5 1.5 1.4 1.4 1.6
15 1.5 1.5 1.5 1.4 1.6 1.5 1.5 1.4 1.4 1.6
30 1.5 1.5 1.5 1.4 1.6 1.5 1.5 1.4 1.4 1.6
45 1.5 1.5 1.5 1.4 1.6 1.5 1.5 1.4 1.4 1.6
60 1.4 1.5 1.5 1.4 1.6 1.5 1.5 1.4 1.4 1.6
75 1.4 1.4 1.4 1.3 1.5 1.5 1.4 1.3 1.4 1.6
90 1.4 1.4 1.4 1.3 1.5 1.4 1.4 1.3 1.3 1.5
105 1.4 1.4 1.4 1.3 1.5 1.4 1.4 1.3 1.3 1.5
120 1.4 1.4 1.4 1.3 1.5 1.4 1.4 1.3 1.3 1.5
135 1.3 1.4 1.4 1.3 1.4 1.4 1.4 1.3 1.3 1.5
150 1.3 1.4 1.3 1.3 1.4 1.3 1.3 1.3 1.3 1.5
165 1.3 1.3 1.3 1.3 1.4 1.3 1.3 1.2 1.3 1.4
180 1.3 1.3 1.3 1.2 1.3 1.3 1.3 1.2 1.2 1.4
195 1.3 1.3 1.3 1.2 1.3 1.3 1.3 1.2 1.2 1.4
210 1.2 1.3 1.3 1.2 1.3 1.2 1.2 1.2 1.2 1.4
225 1.2 1.3 1.3 1.2 1.3 1.2 1.2 1.1 1.2 1.4
240 1.2 1.2 1.2 1.2 1.3 1.2 1.2 1.1 1.1 1.4
255 1.1 1.2 1.2 1.2 1.2 1.2 1.1 1.1 1.1 1.4
270 1.1 1.2 1.2 1.1 1.2 1.1 1.1 1.1 1.1 1.3
285 1.1 1.2 1.2 1.1 1.2 1.1 1.1 1.1 1.1 1.3
300 1.1 1.1 1.2 1.1 1.2 1.1 1.1 1 1.1 1.3
315 1.1 1.1 1.2 1 1.1 1.1 1.1 1 1 1.3
330 1 1.1 1.1 1 1.1 1 1 1 1 1.2
ง-20

ตารางที ง. 18 ผลจากการชังนํ?าหนักของข้าวแต๋ นของอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซี ยสความเร็ วรอบ


1480 รอบต่อนาที (ต่อ)

ตําแหน่ งของถาด
เวลา
สาม สี เก้า สิ บ สิ บห้า สิ บหก ยีสิ บเอ็ด ยีสิ บสอง ยีสิ บเจ็ด ยีสิ บแปด
330 1 1.1 1.1 1 1.1 1 1 1 1 1.2
345 1 1 1.1 1 1.1 1 1 1 1 1.2
360 1 1 1.1 0.9 1 0.9 0.9 0.9 1 1.2
375 1 1 1 0.9 1 0.9 0.9 0.9 1 1.2
390 1 1 1 0.9 1 0.9 0.9 0.9 0.9 1.2
405 1 1 1 0.9 1 0.9 0.9 0.9 0.9 1.1
420 1 1 1 0.9 1 0.9 0.9 0.9 0.9 1.1
1

ภาคผนวก จ
ตารางและกราฟประกอบการคํานวณ
รู ปที จ. 1 Psychrometric
จ-1
จ-2

รู ปที จ. 2 ตารางความดันของไอนํ%าอิมตัว

ความ อุณหภูมิ ปริ มาตร เอนทาลปี เอนทาลปี


ดัน (°C) [(m3/kg)×103] (kj/kg) (kj/kg.K)
(bars) t Vf Vg hf hfg hg Sf Sfg Sg
P
0.25 64.97 1.0199 6204.0 271.93 2346.3 2618.2 0.8931 6.9383 7.8314
0.50 81.33 1.0300 3240.0 340.49 2305.4 2645.9 1.0910 6.5029 7.5939
0.75 91.78 1.0373 2217.0 384.39 2278.6 2663.0 1.2130 6.2434 7.4564
1.0 99.63 1.0432 1694.0 417.46 2258.0 2675.5 1.3026 6.0568 7.e3594
2.0 120.23 1.0605 885.7 504.70 2201.9 2706.7 1.5301 5.5970 7.1271
3.0 133.55 1.0732 605.8 561.47 2163.8 2725.3 1.6718 5.3201 6.9919
5.0 151.86 1.0926 374.9 640.23 2108.5 2748.7 1.8607 4.9606 6.3213
10.0 179.91 1.1273 194.44 726.81 2015.3 2778.1 2.1387 4.4478 6.5865
15.0 198.32 1.1539 131.77 844.89 1947.3 2792.2 2.3150 4.1298 6.4448
25.0 223.99 1.1973 79.98 962.11 1841.0 2803.1 2.5547 3.7028 6.2575
100.0 311.06 1.4534 18.026 1407.56 1317.1 2724.7 3.3596 2.2544 5.6141
150.0 342.24 1.6581 10.337 1610.5 1000.0 2610.5 3.6848 1.6249 5.3098
200.0 365.81 2.036 5.834 1826.3 583.4 2409.7 4.0139 0.9130 4.9269
220.9 374.14 3.155 3.,155 2099.3 0.0 2099.3 4.4298 0.0 4.4298
จ-3

รู ปที จ. 3ตารางคุณสมบัติของก๊าชทางกายภาพเทอร์ โมทีความดันบรรยากาศ

T(K) (kg/m3) Cp(J/kg.K) (kg/m.s) V(m2/s) K(W/m.K) (m2/s) Pr


Air
100 3.605 1039 0.711×10-5 0.197×10-5 0.00941 0.251×10-5 0.784
150 2.368 1012 1.035 0.437 0.01406 0.587 0.745
200 1.769 1007 1.333 0.754 0.01836 1.031 0.731
250 1.412 1006 1.606 1.137 0.02241 1.578 0.721
260 1.358 1006 1.649 1.214 0.02329 1.705 0.712
270 1.308 1006 1.699 1.299 0.02400 1.824 0.712
280 1.261 1006 1.747 1.385 0.02473 1.879 0.711
290 1.217 1006 1.795 1.475 0.02544 2.078 0.710
300 1.177 1007 1.857 1.578 0.02623 2.213 0.713
310 1.139 1007 1.889 1.659 0.02684 2.340 0.709
320 1.103 1008 1.935 1.754 0.02753 2.476 0.708
330 1.070 1008 1.981 1.851 0.02821 2.616 0.708
340 1.038 1009 2.025 1.9512 0.02888 2.821 0.707
350 1.008 1009 2.090 2.073 0.02984 2.931 0.707
400 0.8821 1014 2.310 2.619 0.03328 3.721 0.704
450 0.7840 1021 2.517 3.210 0.03656 4.567 0.703
จ-4

รู ปที จ. 3ตารางคุณสมบัติของก๊าชทางกายภาพเทอร์ โมทีความดันบรรยากาศ(ต่อ)

T(K) (kg/m3) Cp(J/kg.K) (kg/m.s) V(m2/s) K(W/m.K) (m2/s) Pr


Air
500 0.7056 1030 2.713 3.845 0.03971 5.464 0.704
550 0.6414 1040 2.902 4.524 0.04277 6.412 0.706
600 0.5880 1051 3.082 5.242 0.04573 7.400 0.708
650 0.5427 1063 3.257 6.001 0.04863 8.430 0.712
700 0.5040 1075 3.425 6.796 0.05146 9.498 0.715
750 0.4704 1087 3.588 7.623 0.05425 10.61 0.719
800 0.4410 1099 3.747 8.497 0.05699 11.76 0.723
850 0.4150 1110 3.901 9.400 0.05969 12.96 0.725
900 0.3920 1121 4.052 10.34 0.06237 14.19 0728
950 0.3716 1131 4.199 11.30 0.06501 15.47 0.731
1000 0.3528 1142 4.343 12.31 0.06763 16.79 0.733
1100 0.3207 1159 4.622 14.41 0.07281 19.59 0.736
1200 0.2940 1175 4.891 16.64 0.07792 22.56 0.738
1300 0.2714 1189 5.151 18.98 0.08297 25.71 0.738
1400 0.2520 1201 5.403 21.44 0.08798 29.05 0.738
1500 0.2352 1211 5.648 23.99 0.09296 32.64 0.735
จ-5

รู ปจ.4 ค่าโดยประมาณของสัมประสิ ทธิXการถ่ายรับความร้อนทั%งหมด

Physical situation U (W/m2K)


Brick exterior wall, plaster interior ,Uninsulated 2.55
Frame exterior wall, plaster interior, Uninsulated 1.42
With rock wool insulation 0.4
Plate-glass window 6.2
Double plate glass window 2.3
Steam condenser 1100-5600
Feed water heater 1100-8500
Freon-12 condenser with water coolant 250-850
Water-to-Water heat exchanger 850-1700
Finned-tube heat exchanger , water in tubes , air across tubes 25-55
Water-to-oil heat exchanger 110-350
Steam to light fuel oil 170-340
Steam to heavy fuel oil 56-170
Steam to kerosene or gasoline 280-1140
Finned-tube heat exchanger , steam in tubes , air over tubes 28-280
Ammonia condenser , water in tubes 850-1400
Alcohol condenser , water in tubes 255-680
Gas-to-Gas heat exchanger 10-40
ภาคผนวก ฉ
งบประมาณในการดําเนินงาน
ฉ-1

งบประมาณในการสร้ างเครืองอบข้ าวแต๋ น

รายงานงบประมาณ

รายการ จํานวน ราคา(บาท)


1.ค่าเหล็กกล่อง 2x1 4 เส้น 1440
2.ค่าเหล็กกล่อง 1x1 16 เส้น 2800
3.ค่าเหล็กฉาก 1x1 8 เส้น 1104
4.เหล็กกลมดํา 2" 3 เส้น 1635
5.สังกะสี #30 4"x8" 2แผ่น 670
6.สังกะสี #30 3"x8" 25แผ่น 6250
7.สังกะสี #24 4"x8" 2แผ่น 1100
8.สี รองพื2น 1กระป๋ อง 380
9.ล้อลูกยาง 4 ตัว 680
10.ฉนวนกันความร้อน หนา2นิ2ว 2x6 ft. 14 ผืน 1666
11.ซิ ลิโคน 7 หลอด 840
12.กระจกบานพับ 2บาน 400
13.หัวแก๊สอินฟาเรด 1หัว 4200
14.แร็ กกูเลเตอร์ 1ตัว 250
15.ท่อแก๊ส 1เส้น 100
16.โบเวอร์ 1เครื? อง 4000
17.ชุดอุปกรณ์ควบคุมไฟฟ้ า 1ชุด 2655
18.พูเลย์ 3ตัว 450
19.สายพาน 1เส้น 60
20.แผ่นเหล็ก 2แผ่น 4000
21.ค่าใช่จ่ายอื?นๆ 20000
รวม 54680
ภาคผนวก ช

คู่มอื การใช้ งาน


ช-1

คู่มอื การใช้ งาน

1. เตรี ยมความพร้อมต่างๆ ของตูอ้ บก่อนการทดลอง ติดตังอุปกรณ์ตรวจวัดอุณหภูมิต่างๆ


ตามแต่ละจุด ตรวจวัดปริ มาณเชือเพลิงก่อนอบ
2. ทําการเปิ ดวาล์วแก๊สหุ งต้มและเปิ ดสวิทช์ชุดควบคุม
3. นําถาดข้า วแต๋ นที1 ทาํ การกดลงพิม พ์เรี ย บร้ อยแล้วใส่ ในตู ้อบวางเรี ย งกันเป็ นชันๆ
ทังหมด 30 ถาด
4. เปิ ดการทํางานชุดหัวเผาแก๊สอินฟาเรด พร้อมเปิ ดการทํางานของโบเวอร์ โดยเปิ ดสวิทช์
การทํางานที1ชุดควบคุม
5. เริ1 มทําการตังจับเวลาในการอบ
6. ทําการอบข้าวแต๋ นและตรวจสอบ จนได้ความชืนที1ตอ้ งการ โดยทําการตรวจสอบใน
เวลา 330 นาที
7. นําข้าวแต๋ นที1การอบเสร็ จแล้วออกจากถาด
8. นําข้าวแต๋ นที1อบเสร็ จแล้วเข้าสู่ กระบวนการผลิตต่อไป(นําไปทอดและบรรจุภณั ฑ์)
9. ปิ ดสวิทช์การทํางานแล้วปิ ดวาล์วแก๊สพร้อมทังปิ ดปิ ดสวิทช์ชุดควบคุม
10. ทําความสะอาดตูอ้ บและถาดวางข้าวแต๋ น

4
ช-2

7
ช-3

1. ครี บเปิ ดช่องระบายความชืน

2. ช่องตรวจสอบภายในตูอ้ บ
ช-4

3. ตัวล็อค

4. ประตู

5. ครี บเปิ ดช่องทางเดินอากาศเข้า

6. แก๊สLPG

7. ชุดหัวแก๊สและชุดจุดแก๊ส

8. ตูค้ วบคุม

9. โบเวอร์
ภาคผนวก ซ
ประวัติผู้เขียน
ซ-1

ประวัติผ้ ูเขียน

ชือ - นามสกุล นายณัฐกิตติ ณ ลําปาง


วัน เดือน ปี เกิด 26 มิถุนายน 2531
สถานทีเกิด จังหวัด ลําปาง
ทีอยูป่ ั จจุบนั 189 ม.3 ต.บ้านเป้ า อ.เมือง จ.ลําปาง 52100

ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2545 มัธยมศึกษาตอนต้น
โรงเรี ยนเขลางค์นคร
พ.ศ. 2549 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาช่างยนต์
โรงเรี ยนลําปางเทคโนโลยี แลมป์ -เทค
พ.ศ. 2551 ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั;นสู ง สาขาวิชาช่างยนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่
ซ-2

ชือ - นามสกุล นายปิ ยะ ปั ญญา


วัน เดือน ปี เกิด 23 ตุลาคม 2530
สถานทีเกิด จังหวัด เชียงใหม่
ทีอยูป่ ั จจุบนั 19 ม.4 ต.ทุ่งสะโตก อ.สันป่ าตอง จ.เชียงใหม่ 50120

ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2545 มัธยมศึกษาตอนต้น
โรงเรี ยนเมตตาศึกษา
พ.ศ. 2549 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาช่างยนต์
วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่
พ.ศ. 2551 ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั;นสู ง สาขาวิชาช่างยนต์
โรงเรี ยนเมโทรเทคโนโลยี
ซ-3

ชือ - นามสกุล นายสรายุทธ บุญเลา


วัน เดือน ปี เกิด 13 พฤษภาคม 2532
สถานทีเกิด จังหวัด เชียงใหม่
ทีอยูป่ ั จจุบนั 99 ม.5 ต.สบเปิ ง อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ 50330

ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2546 มัธยมศึกษาตอนต้น
โรงเรี ยนสบเปิ งวิทยา
พ.ศ. 2549 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาช่างยนต์
วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่
พ.ศ. 2551 ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั;นสู ง สาขาวิชาช่างยนต์
วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่

You might also like