You are on page 1of 8

น้ากับชีวิตประจ้าวัน

วัฏจักรของน้า
น้้ากับชีวิตประจ้าวัน ...
ความส้าคัญของน้า
น้้าเป็นองค์ประกอบส้าคัญของโลก พืน้ ผิวส่วนใหญ่ของโลกประกอบด้วยน้้า น้้าจึงมีความส้าคัญ
ต่อระบบนิเวศน์ ทั้งพืช สัตว์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีความส้าคัญต่อการด้ารงชีวติ ของมนุษย์ เป็นส่วนประกอบ
ส้าคัญของร่างกายมนุษย์ เป็นส่วนประกอบส้าคัญในปัจจัยพืน้ ฐาน 4 ประการในการด้ารงชีวิตของมนุษย์
ดังนัน้ มนุษย์จึงต้องเรียนรูถ้ ึงสภาวะการณ์ของน้้าบนโลก เพื่อที่มนุษย์กับน้้าจะเกือ้ กูลอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืน

น้้าแข็งขั่วโลก,
76.5%

น้้าใต้ดิน,22.9%

น้้าผิวดินและ

ไอน้้าในอากาศ,0.6

ภาพแสดงสัดส่วนปริมาณน้้าจืดของโลก

น้าเพื่อการอุปโภคบริโภค
ร่างกายของมนุษย์มีน้าเป็นส่วนประกอบ มนุษย์จะไม่สามารถ
ด้ารงชีวติ อยู่ได้หากปราศจากน้้าใน 1 วัน มนุษย์ตอ้ งการน้้าในการอุปโภค-
บริโภคประมาณ 100 ลิตรต่อคนต่อวันความต้องการใช้น้าในการอุปโภค
บริโภค ประมาณ 2,460 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ในจ้านวนนี้มีการใช้น้า
บาดาลเพื่อการอุปโภคบริโภคประมาณ 713 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และจาก
ข้อมูลการขออนุญาตใช้น้าของบ่อบาดาลภาคเอกชนเพื่อการอุปโภคบริโภค
จ้านวน 10,991 บ่อ ปริมาณน้้าที่ใช้ 476,657 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และมีการ
ใช้น้าจากบ่อน้้าบาดาลของภาครัฐเพื่อการอุปโภคบริโภค จ้านวน 183,070 บ่อ
ปริมาณน้้า 12,716,568 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน

2
น้ำเพื่อกำรเกษตร
ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม เป็นแหล่งผลิตอาหารให้กับ
โลก ซึ่งในการท้าการเกษตรให้ได้ผลผลิตดี และมีปริมาณมากๆ ต้องมีน้า
อย่างเพียงพอ ซึ่งอาจได้มาจากน้้าผิวดินและน้้าบาดาล ความต้องการใช้
น้้าในภาคเกษตรกรรมในเขตชลประทานขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และการ
ผลิตไฟฟ้าประมาณ 53,034 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และมีการใช้น้า
บาดาลเพื่อการเกษตร 5,655 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และจากข้อมูลการ
ขออนุญาตใช้น้าของบ่อบาดาลภาคเอกชนเพื่อการเกษตรกรรม จ้านวน
5,072 บ่อ ปริมาณน้้าที่ใช้ 275,499 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน

การใช้น้าบาดาลร่วมกับน้้าผิวดินในประเทศไทย
ในระยะเวลาที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ในภาคเอกชนมีการพัฒนา
น้้าบาดาลระดับตื้น ในพืน้ ที่ภาคกลางตอนบน คือจังหวัด
สุพรรณบุรี จังหวัดชัยนาท จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดนครสวรรค์
และจังหวัดอุทัยธานี ใช้น้าบาดาลระดับตื้นเพื่อการท้านาปรัง
ในฤดูแล้ง ในฤดูฝนหรือฤดูน้าหลากใช้น้าผิวดินจากระบบ
ชลประทาน ประมาณว่ามีการท้านาปรัง ในภาคเหนือตอนล่าง
คือจังหวัดพิจติ ร จังหวัดก้าแพงเพชร จังหวัดพิษณุโลก จังหวัด
สุโขทัย จังหวัดตากบางส่วน ได้มกี ารใช้น้าบาดาลระดับตื้น เพื่อ
การท้านาปรัง เช่นเดียวกับพืน้ ที่ภาคกลางตอนบน ซึ่งมีการท้า
นาปีและนาปรังรวม 5 ครั้ง ใน 2 ปี ซึ่ง 3 ครั้งจะใช้น้าบาดาล ในพืน้ ที่ภาคตะวันตก คือจังหวัดกาญจนบุรี
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดขอนแก่น มีการใช้น้าบาดาลระดับตื้นเพื่อการปลูกอ้อย และ
จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดยโสธร มีการใช้น้าบาดาลเพื่อการปลูกพริก หอมแดง
กระเทียม แตงโม แตงกวา ข้าวโพดหวาน และพืชผักสวนครัว ประมาณว่ามีการใช้ น้้าบาดาลระดับตื้น เพื่อ
การเกษตรฤดูแล้งทั่วประเทศไม่นอ้ ยกว่า 15 ล้านไร่ทั่วประเทศ ข้อมูลเหล่านีก้ รมทรัพยากรน้้าบาดาลก้าลัง
ท้าโครงการส้ารวจ ท้าพิกัดบ่อน้้าบาดาลทั่วประเทศ คาดว่าจะได้ตัวเลขที่ชัดเจนประมาณปี 2553
(ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมได้ที่ www.kromchol.rid.go.th)
3
จะเห็นว่าการใช้น้าบาดาลระดับตื้นดังที่กล่าวก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มใน
การใช้ที่ดนิ เป็นผลดีต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศมหาศาลแต่ผลเสียที่
ภาคเอกชนใช้น้าบาดาลดังกล่าว ก่อให้เกิดผลเสียต่อ น้้าบาดาลท้าให้ระดับ
น้้าบาดาลระดับตื้นลดลงอย่างเป็นระบบ (Ground water level depression)
มีผลเสียต่อผูใ้ ช้น้าท้าให้เสียค่าใช้จ่ายขุดบ่อ หรือเรียกว่าทรุดบ่อตามระดับน้้า
ที่ลดลง เสียค่าพลังงานในการสูบน้้าที่ลกึ ขึ้น บางครั้งถึงกับเสียชีวติ เนื่องจาก
การขุดบ่อน้้าตื้นที่ลกึ ลงไปด้วยแรงคน ท้าให้ขาดอากาศหายใจ
ทั้งนีเ้ กิดจากการใช้น้าบาดาลที่ขาดองค์ความรู้ ขาดการจัดการน้้าบาดาลที่ดี
ในส่วนของภาคราชการได้มีการจัดให้มีการใช้น้าบาดาลระดับลึก โดยกรมชลประทานในพืน้ ที่จังหวัด
สุโขทัย มีการน้าร่องตั้งแต่ปี พ.ศ.2520 ส้าหรับกรมทรัพยากรน้้าบาดาลใช้น้าบาดาลระดับลึกเพื่อ
การเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่ ล้าพูน เพื่อการปลูกพืชสวน เช่น ล้าไย ลิน้ จี่ การปลูกหอมใหญ่ กระเทียม
โดยการจัดเป็นระบบน้้าบาดาลเพื่อการเกษตรในจังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัด
ขอนแก่น และจังหวัดนครราชสีมา มีการปลูกพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง บางแห่งใช้ตกกล้าข้าว และ
เสริมน้้าในนายามเมื่อเกิดฝนทิ้งช่วง(ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมได้ที่ www.moac.go.th)

4
น้ำเพื่อกำรอุตสำหกรรมและธุรกิจบริกำร
นอกจากจะมีการใช้น้าเพื่อการอุปโภคบริโภค และการเกษตรแล้ว
น้้ายังเป็นปัจจัยในการผลิตที่ส้าคัญของภาคอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะโดย
ทางตรงหรือทางอ้อม ในทางตรง เช่น น้้าดื่มบรรจุขวด น้้าอัดลม น้้าหวาน
เหล้า เบียร์ โรงงานย้อมผ้า ฯลฯ ในทางอ้อม ได้แก่ การใช้น้าในกระบวนการ
ผลิตต่างๆ เช่น การซักล้างภาชนะ หรือวัตถุดิบต่างๆ การน้าน้้ามาต้มให้เป็น
ไอน้้า เพื่อใช้ในการผลักดันเครื่องจักร เครื่องกลให้ท้างาน ในภาคธุรกิจบริการบางอย่าง ก็ต้องใช้น้าเป็น
ปัจจัยหลัก เช่น โรงแรม สปา คาร์แคร์ ฯลฯ
ความต้ อ งการใช้ น้ า ในภาคอุ ต สาหกรรมและการท่ อ งเที่ ย ว
ประมาณ 2,396 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี (กรมทรัพยากรน้้า: 2550) และ
จากข้อมูลการขออนุญาตใช้น้าของบ่อบาดาลภาคเอกชนเพื่ออุตสาหกรรม
จ้ านวน 14,138 บ่ อ ปริ มาณน้้ าที่ ใ ช้ 1,947,055 ลู ก บาศก์ เ มตรต่ อวั น
อุตสาหกรรมส่วนใหญ่ใช้น้าบาดาลในกระบวนการผลิตโดยเฉพาะ
อย่ า งยิ่ ง ในอุ ต สาหกรรมฟอกย้ อ มที่ ใ ช้ น้ า มากที่ สุ ด เมื่ อ เที ย บกั บ ทุ ก
อุตสาหกรรม ซึ่งจากจากนโยบายของภาครัฐที่ประกาศปิดบ่อน้้าบาดาล
ทั่วประเทศภายในปี 2546 ส่งผลกระทบในด้านต่างๆ ต่อผู้ประกอบการ
อุตสาหกรรมมากบ้างน้อยบ้าง ตามความส้าคัญของน้้าที่ใช้เป็นปัจจัยหนึ่ง
ในการผลิต

รู้หรือไม่?...
น้ำบำดำลใช้เป็นวัตถุดิบหลัก
ในกำรผลิตน้ำดื่ม น้ำอัดลม
และเครื่องดื่ม เพรำะท้ำให้มีรสชำติดีขึน

5
ประเด็นการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้
แบ่งกลุ่มนักเรียน 5-7 คน สมมุตสิ ถานการณ์ว่า ให้กลุ่มหลงทางอยู่กลางทะเลทราย
และไม่มีแหล่งน้้าในบริเวณใกล้เคียง กลุ่มเหลือน้้าอยู่เพียง 1,000 ลิตร และอีก 10 วัน
หน่วยช่วยเหลือจึงจะเดินทางมาถึง ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันวางแผนการใช้น้าให้เกิดประโยชน์
สูงสุด เพื่อให้รอดพ้นจากสถานการณ์ดังกล่าว

ค้าถามเพื่อการเรียนรู้
นักเรียนคิดว่า ถ้าปริมาณน้้าไม่เพียงพอหรือไม่มีคุณภาพดีพอที่จะใช้ นักเรียนคิดว่า
จะเกิดปัญหาอย่างไรบ้าง และจะเรียงล้าดับความส้าคัญปัญหาเหล่านั้นได้อย่างไรบ้าง

แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
www.moac.go.th
www.kromchol.rid.go.th

“น้าบาดาลทุกหยดมีคุณค่า ดั่งพระเมตตาของพ่อหลวง”
ด.ญ.จิราวรรณ อันทปัญญา ชันประถมศึกษาปีที่ 5

6
วัฏจักรของน้ำ
แหล่งน้้าธรรมชาติแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ น้ำฟ้ำ (Atmospheric water) น้ำผิวดิน (Surface
water) และน้ำใต้ดิน (Subsurface water) น้้าฟ้า หมายถึง น้้าที่อยู่ในบรรยากาศหรืออยู่สูงกว่าระดับผิวดิน
ขึน้ ไป ประกอบด้วยน้้าที่อยู่ในสถานะเป็นไอ เช่น หมอก และเมฆ น้้าที่อยู่ในสถานะเป็นของเหลว เช่น ฝน
และน้้าค้าง และน้้าที่อยู่ในสถานะเป็นของแข็ง เช่น ลูกเห็บและหิมะ น้้าฟ้าเหล่านีถ้ ้าตกลงมาสู่พื้นโลก
โดยตรงได้ก็ตกลงมา ที่ตกไม่ได้ก็จะกลั่นตัวเป็นหยดน้้าตกลงมาทีหลัง และถูกเก็บหรือกักขังเป็นน้้าใน
แม่น้า ล้าคลอง หนอง บึง บ่อ สระ และทะเลสาบ หรือ มหาสมุทร น้้าที่ถูกกักเก็บอยู่นี้ ถือเป็นนี้ประเภทที่
สอง คือ น้้าผิวดิน น้้าจากผิวดินนี้บางส่วนจะไหลหลั่งลงสู่แม่น้าหรือทะเล แต่บางส่วนไหลซึมลงไปใต้ดิน
ไปถูกกักเก็บไว้ทั้งในดินและในหิน เกิดเป็นน้้าประเภทที่สาม คือ น้้าใต้ดิน
(ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมได้ที่ http://ecurriculum.mv.ac.th/library2/sience/scien222/Groundwater.htm)

ภาพวัฏจักรการเกิดน้า

“หากนา้ ฟ้ามาจากเทพประทาน น้าบาดาล คงเสกจากนาคราช


มนุษย์ใช้ ล้างกายใจให้สะอาด ให้ยืนหยัดยั่งยืนคูผ่ ืนดิน”
ด.ญ.ปิยาพร สีหานาม ชันประถมศึกษาปีที่ 6

7
ประเด็นการเรียนรู้
กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้
1. ให้นักเรียนศึกษาและส้ารวจแหล่งน้้าในชุมชน
2. การสัมภาษณ์บุคคลในชุมชน เกี่ยวกับประวัติและความส้าคัญของน้้าในชีวิตประจ้าวัน
3. การอภิปรายกลุ่ม และแสดงความคิดเห็น ในหัวข้อ หากสภาวะโลกร้อนยังเกิดขึ้น
อย่างต่อเนื่อง จะเกิดผลกระทบต่อแหล่งน้้าของชุมชน และของโลกอย่างไร?

ค้าถามเพื่อการเรียนรู้
1. นักเรียนคิดว่าในชีวติ ประจ้าวันของเรา ถ้าไม่มีน้าอุปโภคบริโภค จะเกิดอะไรขึ้น?
2. ถ้าน้้าบนดินไม่เพียงพอต่อการใช้ นักเรียนคิดว่าจะมีแนวทางการแก้ปัญหาอย่างไร?
3. ถ้าน้้าบาดาลขาดหายไปจากวัฎจักรของน้้า จะเกิดผลกระทบอย่างไร?

แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
www.kromchlo.rid.dgo.th
www.moac.go.th
www.water.egat.co.th
http://ecurriculum.mv.ac.th/

You might also like