You are on page 1of 5

พฤติกรรมก้าวร้าว (Aggressive Behavior)

พฤติกรรมก้าวร้าว เป็ นการแสดงออกทางด้านความคิด คำาพูด


และการกระทำาที่รุนแรงขาดความยับยั้งชังใจ ไม่เป็ นมิตร คุกคาม
และรุกรานผู้อ่ ืน เพื่อระบายความโกรธ ความคับข้องใจ หรือปกปิ ด
ความกลัว ทำาให้เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายต่อตนเอง บุคคลอื่น และ
สิ่งแวดล้อมรอบตัว พฤติกรรมก้าวร้าวที่พบในเด็กออทิสติกและ
พัฒนาการบกพร่องในการสื่อภาษากับผู้อ่ ืน อาการและการแสดงที่
เป็ นสัญญาณของพฤติกรรมก้าวร้าว การแสดออกทางสีหน้า มัก
พบว่า สีหน้าบึ้งตึง โกรธ ที่ทางไม่พอใจแววตาไม่เป็ นมิตรการ
เคลื่อนไหว และการกระทำา คือ กระวนกระวาย อยู่น่ิ งไม่ได้
กระแทกหรือกระทำาด้วยความรุนแรง หยุดกิจกรรมที่ทำาอยู่อย่าง
ทันทีทันใดการแสดงออกทางคำาพูด ในเด็กที่สามารถพูดได้โดย
เงียบเฉยผิดปกติ โต้ตอบด้วยนำ้าเสียงห้วน พูดก้าวร้าว วิพากษ์
วิจารณ์ หรือตำาหนิ ติเตียนระดับความรุนแรงของพฤติกรรมก้าวร้าว

1. ระดับอ่อน (MILD ANGER) สีหน้าบึ้งตึง โกรธ แววตาไม่เป็ น


มิตร แสดงท่าทางไม่พอใจ พูดโต้ตอบด้วยนำ้าเสียงห้วน ขึ้นเสียง
2. ระดับปานกลาง (MODERATE AGGRESSIVE) ส่งเสียงดัง
กระแทก หรือกระทำาด้วยความรุนแรง เอะอะ วางอำานาจ ขู่ตะคอก
3. ระดับรุนแรง (SEVERE VIOLENCE) ขาดสติ ขาดความยับยั้ง
ชังใจ ชกต่อย ทุบตี ทำาร้ายผ้อ
ู ่ ืน ทำาลายข้าวของ
สาเหตุ พฤติกรรมก้าวร้าวในเด็กออทิสติก อาจเกิดจากหลาย ๆ
สาเหตุร่วมกัน เช่น ไม่ได้ส่ิงที่ต้องการ หรือสิง่ ที่คาดหวังไว้หรือมี
ความคับข้องใจ มีความกลัว ความรู้สึกไม่มัน
่ คง คิดว่าความ
สามารถของตนเองลดลง เกิดจากการเลี้ยงดูท่ีไม่สมำ่าเสมอ ไม่คง
เส้นคงวา เกิดจากการเลียนแบบการแสดงออกของอารมณื และ
พฤติกรรมซึ่งเป็ นการเลียนแบบบุคคลสำาคัญที่ตนเองชื่นชอบและ
บุคคลในครอบครัว (IDENTIFICATION WITH THE
AGGRESSOR) มีบุคลิกภาพผิดปกติ เชิงก้าวร้าว เช่น
ANTISOCIAL PERSONALITY, BORDERLINE
PERSONALITY
มีสถานการณ์ท่ีคุกคาม ทำาให้เด็กเกิดความรุนแรง เช่น แสง เสียง
ที่มากเกินไป มีความผิดปกติทางด้านความคิดการรับรู้ ไม่สามารถ
ควบคุมอารมณ์และพฤติกรรมได้ มีความผิดปกติทางสมองร่วม
ด้วย เช่น ผู้ป่วยโรคลมชัก มีความผิดปกติทางสมองร่วมด้วย เช่น
ผู้ป่วยโรคลมชัก มีพยาธิสภาพทางร่างกาย เช่น เจ็บป่ วยเรื้ อรัง มี
ความพิการ อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ไร้ระเบียบแบบแผน“การช่วย
เหลือ” หรือ “การกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว”
1. แยกเด็กออกจากสถานการณ์ หรือสิง่ รบกวน ให้ไปอยู่ในสภาพ
แวดล้อมที่เหมาะสมและปลอดภัย
2. ขจัด / ลดสิ่งกระตุ้นที่เป็ นสาเหตุโดยตรง เช่น เสียงและแสงที่
กระตุ้นให้เด็กเบี่ยงเบนความสนใจจากกิจกรรมที่กำาลังทำาอยู่
3. ให้ความช่วยเหลือตามระดับความรุนแรงโดย ต้องพร้อมเผชิญ
หน้าด้วยความระมัดระวัง มีท่าทีสงบไม่ต่ ืนเต้นหรือแสดงอาการ
ก้าวร้าว หรือโกรธตอบ เรียกชื่อเพื่อให้เด็กรู้สึกตัวและหยุด
พฤติกรรมที่ทำาอยู่ชัว่ คราว พูดด้วยนำ้าเสียงอ่อนโยน ไม่ตำาหนิ ถ้า
เด็กสามารถพูดได้ให้เด็กมีโอกาสได้ระบายความคับข้องใจ ความ
รู้สึกโกรธ ความไม่พอใจ โดยมีเราเป็ นผู้ฟังที่ดี กระตุ้นให้พูด เช่น
มีอะไรทำาให้ไม่พอใจหรือ ? ถามความต้องการของเด็ก เช่น หนู ไม่
พอใจอะไรถึงได้ทำาแบบนี้ , เพราะอะไรถึงเอะอะโวยวายเช่นนี้ เด็ก
บางรายพูดไม่ได้บอกความต้องการไม่ได้ บิดามารดาจึงต้องอาศัย
ความช่างสังเกตว่าอะไรเป็ นสาเหตุของความโกรธนั้ น ช่วยเหลือให้
เด็กได้ระบายความก้าวร้าวได้เหมาะสม โดยจัดกิจกรรมที่ช่วยให้
เด็กลดระดับความก้าวร้าวลงการจัดกิจกรรมที่ช่วยลดพฤติกรรม
ก้าวร้าวและเจ้าอารมณ์ ได้แก่ หลีกเลี่ยงสถานการณ์ท่ีจะทำาให้เด็ก
โกรธ
เมื่อเกิดพฤติกรรมก้าวร้าวขึ้น ผู้ฝึกควรพูดด้วยนำ้าเสียงที่หนั กแน่น
พูดด้วยถ้อยคำาสั้น ๆ ที่เด็กเข้าใจไม่ยืดยาว อดทนด้วยท่าทีท่ี
มัน
่ คง สงบ ใจเย็น ไม่รบ
ี ร้อนหรือตกใจแยกเด็กออกจาก
เหตุการณ์น้ ั น หรือเบี่ยงเบนความสนใจเด็กด้วยกิจกรรมอื่นที่เด็ก
ชอบ การลงโทษทันทีโดยไม่ให้เด็กได้รบ
ั ในสิ่งที่เด็กชอบ เช่น ไม่
ให้ขนม ไม่ให้อยู่ร่วมกลุ่ม ให้ยืนกอดอกคนเดียว หรืออยู่ห้องแยก
เด็กจะค่อย ๆ เรียนรู้ว่าสิง่ ไหนไม่ควรกระทำา อาจต้องใช้เวลานาน
ที่จะค่อยๆ แก้ไขพฤติกรรมเช่นนี้ กิจกรรมที่ต้องเหมาะสมกับ
ความสามารถ และใช้เวลาให้เหมาะสมกับช่วงความสนใจของเด็ก
เป็ นกิจกรรมที่ใช้พลังงานใช้พละกำาลัง เช่น เตะฟุตบอล ตอกค้อน
วิ่งกระโดด เล่นกระสอบทราย เล่นนำ้า ถีบจักรยานดูแลเด็กที่ได้รบ

์ ำาให้เด็กที่กำาลังอยู่ในระยะที่มีพฤติกรรมรบกวน
ยาซึ่งมีฤทธิท
ตนเองและผู้อ่ ืนน้อยลง ลดอาการลุกลี้ลุกลน ผู้ปกครองควรดูแล
ให้เด็กได้รบ
ั ยาตรงตามการรักษาของแพทย์ และสังเกตอาการหาก
มีอาการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ควรปรึกษาแพทย์หรือผู้รก
ั ษาทันที
4. ช่วยให้เด็กมีรูปแบบในการปรับตัวช่วยเหลือให้เด็กได้แสดง
ความโกรธอย่างเหมาะสมและสังคมยอมรับ เช่น เด็กตีเพื่อน
เพราะอยากเล่นด้วยแต่เล่นไม่เป็ น เราต้องจับมือเด็กเข้าไปหา
เพื่อนแตะ เบา ๆ พูดนำา “นี่ นอ
้ งเมย์นะ โหน่งของเล่นด้วยคน”
เด็กวิ่งชนเพื่อนหกล้ม เราต้องจูงมือเด็กเข้าไปพยุงเพื่อนให้ลุกขึ้น
(บางทีต้องทำาให้เด็กดู) บอกเด็กให้พูดว่า ขอโทษ ปลอบเพื่อนให้
หยุดร้อง เตือนเด็กว่าเพื่อนเจ็บไม่ชอบ ไม่ดี ทีหลังไม่ทำา แสดง
การขอแทนการแย่งชิง ถ้าเด็กทำาได้ ให้รางวัลและชมเชยทันทีกรณี
ที่เด็กบกพร่องด้านภาษา ไม่เข้าใจที่เราพูด จะทำาอย่างไรเพื่อให้รู้
ว่าการกระทำาของเขาไม่เหมาะสม การลงโทษทางสังคม ให้แยก
เด็กออกจากกลุ่ม ไม่ให้รางวัลที่เด็กชอบ เช่น ขนมที่เคยได้รบ

หรือเราเฉยเมยต่อพฤติกรรมของเขาเสีย จะทำาให้เด็กเรียนรู้จาก
ท่าทีและรูปแบบใหม่ท่ีเหมาะสม การพิจารณาจำากัดพฤติกรรม
เช่น การผูกมัด การใช้แยกห้องจากผู้อ่ ืน ต้องทำาด้วยท่าทีท่ีไม่ใช่
การลงโทษรุนแรง แต่เพื่อความปลอดภัยของเด็กเองและของคน
อื่น ต้องทำาด้วยความระมัดระวังไม่ให้เด็กได้รบ
ั อันตราย ถ้าเด็ก
สามารถเข้าใจภาษาได้ดี ควรบอกเด็กว่าเพราะหนู ทำาแบบนี้ จึงต้อง
ปล่อยให้อยู่คนเดียว ในห้องนี้ เป็ นเวลา 1 นาที “หรือจนกว่า
อาการจะสงบลง” ระหว่างนี้ ต้องเดินมาดูเป็ นระยะ ๆ ไม่ท้ ิงเด็กไว้
นานเกินไปเพื่อให้เขาร้ส
ู ึกปลอดภัย พอเด็กสงบลงก็พาออกมาล้าง
หน้าตา ทาแป้ ง พูดคุยด้วย เมื่อแสดงพฤติกรรมได้เหมาะสมก็ให้
รางวัลและชมเชยเพื่อเป็ นแรงจูงใจให้เด็กปฏิบัติได้อีก พึงระลึก
ว่าการฝึ ก ต้องอาศัยความอดทน มีความสมำ่าเสมอคงเส้นคงวา
ไม่ใช่วันนี้ ปล่อยตามสบาย อีกวันเข้มงวด จะทำาให้เด็กสับสนและ
ไม่เกิดผลดีต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดังกล่าว และสิง่ สำาคัญคือ
กัลใจของท่านที่ต้องให้แก่ตนเองเพื่อให้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ที่ไม่พึงประสงค์น้ ั นเป็ นไปตามจุดประสงค์ท่ีต้ ังไว้โดยมีความรักต่อ
เด็กเป็ นพื้ นฐาน
ปทุมทิพย์ สุภานั นท์ พยาบาลวิชาชีพ 6 ศูนย์สข
ุ วิทยาจิต หนั งสือ
ศูนย์สุขวิทยาจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ปี ที่ 19
ฉบับที่ 1 มกราคม 2539 หน้า 22 – 27
http://www.autismthai.com/mcontents/marticle.php?
headtitle=mcontents&id=62732&Ntype=0

You might also like