You are on page 1of 26

บทที่ 5 การสรางฟเจอรตางๆ

(Sketched & Placed Features)

หลังจากทีม่ กี ารสรางสเกทช(Sketch) บังคับสเกทชดว ยรูปทรง(Geometric Constraints) บังคับสเกทช


ดวยขนาด(Dimension Constraints)เรี ยบรอยแลว โดยที่สเกทชไดถูกบังคับอยางสมบรูณ หรือไม
สมบรูณก็ตาม เราสามารถที่จะสรางฟเจอร 3 มิตใิ หกับสเกทชนั้นได โดยฟเจอรแรกที่สรางขึ้นนี้
เรียกวาเบสฟเจอร(Base feature)หรือฟเจอรหลักทีใ่ ชเปนฐานในการสรางฟเจอรอนื่ ๆ เพิม่ เติม ฟเจอรที่
สามารถใชสรางเบสฟเจอรไดคอื Extrude, Revolve, Loft, Sweep เบสฟเจอรทใี่ ชงานกับบอยทีส่ ุดก็
คือฟเจอร Extrude (เพิม่ ความหนาใน 3 มิตใิ หกับสเกทช) หลังจากทีเ่ ราไดสรางเบสฟเจอรซง่ึ ไดกลาย
เปนพารท (Part)หรือชิน้ สวน 3 มิตแิ ลว เราก็สามารถเปลีย่ นแปลงรูปทรงของพารทใหเปนรูปทรงทีเ่ รา
ตองการ โดยสรางฟเจอรอนื่ ๆ เพิม่ เติมเขาไปไดอกี อาทิ เชน Extrude, Revolve, Loft, Sweep, Rib,
Bend, Face Split, Hole, Thread, Fillet, Chamfer, Face Draft, Shell, Surface Cut, Rectangular Pattern,
Polar Pattern, Axial Pattern, Combine, Part Split เปนตน สังเกตุวา ฟเจอร Extrude, Revolve, Loft,
และ Sweep สามารถเปนไดทงั้ เบสฟเจอรและฟเจอรเสริมเพิ่มไปยังเบสฟเจอรไดเชนเดียวกัน การ
สรางฟเจอรเพือ่ สรางพารท 3 มิติทม่ี รี ปู ทรงตางๆ มีรายละเอียดการใชงานแตละฟเจอรดงั ตอไปนี้

คําสั่ง Part4Sketched Features4Extrude | amextrude | |g


\Exercise\05-091-1.dwg

ใชสรางฟเจอรโดยการเพิม่ ความหนาหรือความลึกใน 3 มิตใิ หกับสเกทช

รูรูปที่ 1.1
5.1
กอนใชคาํ สัง่ หลังใชคาํ สัง่

chap-05-1.pmd 91 12/10/2549, 23:33


92 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

เราสามารถเรียกคําสั่ ง Part4 Sketched Features4 Extrude จากเมนูบารหรือคลิกขวาบนชื่อ


สเกทช Profile1 บนเดสท็อปบราวเซอร แลวเลือกคําสัง่ Extrude หรือพิมพคําสัง่ amextrude หรือคําสัง่
ยอ g ผานคียบอรด จะปรากฏไดอะล็อค Extrusion ดังรูปที่ 5.2 (ซาย) ถาหากสเกทชเปนแบบเปดหรือ
OpenProfile1 จะปรากฏไดอะล็อค Extrusion ดังรูปที่ 5.2 (ขวา)
รูรูปที่ 1.1
5.2

Operation ในการสร างฟ เจอร ครั้ งแรก เราจะได เบสฟ เจอร จึ งไม สามารถเลื อก
ตัวเลือกใดๆ จากแถบรายการนี้ได แตถาเปนการสรางฟเจอร Extrude
เพิม่ ตอๆ ไป จะมีตวั เลือก Cut (ตัดเฉือนโดยการหักลบ), Join (รวมฟเจอร
ใหมเขากับฟเจอรเดิม), Intersect (ตัดเฉือนใหเหลือเพียงสวนทีม่ ปี ริมาตร
รูรูปที่ 1.1
5.3 รวม), Split (ตัดเฉือนเพือ่ แบงออกเปนพารทใหม)ดังรูปที่ 5.3

สเกทช Cut Join Intersect Split

Distance กําหนดระยะความหนาหรือความลึกใน Termination type แบบ Blind


หรือ MidPlane
Flip ใชปุมนีห้ ากตองการเปลีย่ นทิศทางการเพิ่มความหนา สังเกตุทศิ ทางการ
เพิม่ ความหนาจากหัวลูกศรสีน้ําเงิน
Draft angle กําหนดมุมเรียวหรือมุมถอดแบบ
Termination เลือกรูปแบบการสิน้ สุดของฟเจอรดังรูปที่ 5.4
Blind เพิม่ คาความหนาออกจากดานใดดานหนึง่ ของสเกทช
Through เพิ่มคาความหนาออกจากดานใดดานหนึ่งของสเกทช มีระยะ
ความหนาตลอดเนือ้ งานของพารท
MidPlane เพิม่ คาความหนาออกทัง้ สองดานของสเกทช

chap-05-1.pmd 92 12/10/2549, 23:33


การสรางฟเจอรตางๆ (Sketched & Placed Features) 93
MidThrough เพิ่มคาความหนาออกทั้งสองดานของสเกทชโดยมีความหนา
ตลอดเนื้องานของพารท
Next เพิม่ คาความหนาไปยุติทผ่ี วิ หนา(Face)แรกทีพ่ บ (ตองชนแบบ
เต็มผิวหนา มีสว นใดสวนหนึง่ ยืน่ ไปนอกผิวหนานัน้ ไมได)
Plane เพิ่ มค าความหนาไปยุ ติ ที่ ผิว หน า (Face)หรื อระนาบทํางาน
(Work plane)ทีถ่ ูกเลือก (ไมตองชนแบบเต็มผิวหนา)
Face เพิม่ คาความหนาไปยุตทิ ่ผี วิ หนา(Face)ทีถ่ กู เลือก (ตองชนแบบ
รูรูปที่ 1.1
5.4 เต็มผิวหนา มีสว นใดสวนหนึง่ ยืน่ ไปนอกผิวหนานัน้ ไมได)

Join + Blind Cut + Through

Join + MidPlane Cut + MidThrough

Work plane Work plane

Join + Next Join + Plane


Face Extended Face

Join + Face Join + Extended Face

Face OpenProfile

Join + From-To OpenProfile + Blind + Thickness


Extended Face

chap-05-1.pmd 93 12/10/2549, 23:33


94 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

Extended Face เพิม่ คาความหนาไปยุตทิ ผ่ี ิวหนา(Face)ทีถ่ กู เลือก (แตไมจาํ เปน


ตองชนแบบเต็มผิวหนา)
From-To เพิ่ มค าความหนาโดยเลื อกผิวหน า(Face)หรือระนาบทํางาน
(Work plane)เริม่ ตน(From)และผิวหนาหรือระนาบสิน้ สุด(To)
เมือ่ เลือก From-To เราจะตองเลือก Plane, Face, หรือ Extended
Face จากแถบรายการ From และแถบรายการ To แลวคลิกลง
บนผิวหนาที่ตองการกําหนดจุดเริ่มตนและผิวหนาที่ตองการ
กําหนดจุดสิน้ สุด
Thickness ในกรณีทใี่ ชฟเจอร Extrude กับ OpenProfile ไดอะล็อค Extru-
sion จะปรากฏดังรูปที่ 5.2 (ขวา) เราสามารถเลือก Termination
แบบตางๆ และยังสามารถกําหนดความหนาของ OpenProfile
เพือ่ สรางพารท 3 มิตแิ บบทึบตัน โดยสามารถเลือกรูปแบบ One
direction, Two Direction และ MidPlane ไดอกี ดวย

Note ในขณะที่อยูบนไดอะล็อค Extrusion เราสามารถคลิกขวาบนอิดิทบอกซ Distance หรือ Draft Angle


แลวเลือกใชคําสัง่ Zoom , Pan , 3D Orbit โดยไมตอ งออกจากคําสัง่ Extrude นอกจากนีย้ งั
สามารถเลือกใชคา Preset Values ที่โปรแกรมกําหนดมาให

Note พารท 3 มิติที่ถูกสรางขึ้นจะมีสีตามที่กําหนดไวในเลเยอรใชงาน หากเราตองการใหพารทมีสีอื่นๆ


ใหคลิกขวาบนชื่อพารท PART1_1 บนเดสท็อปบราวเซอร แลวเลือกคําสั่ง Properties4Color แลว
กําหนดสีใหกบั พารทไดตามตองการ แลวคลิกบนปุม เพือ่ เปดโหมด Shade

คําสั่ง Part4Sketched Features4Revolve | amrevolve | | gg


\Exercise\05-095-1.dwg

ใชสรางฟเจอรโดยการหมุนหนาตัดสเกทชรอบแกนใน 3 มิติ เชนเดียวกับคําสัง่ Extrude ในการเรียก


คําสัง่ ออกมาใชงาน เราสามารถคลิกขวาบนชือ่ สเกทช Profile1 บนเดสท็อปบราวเซอร แลวเลือกคําสัง่
Revolve จะปรากฏขอความ Select revolution axis: ใหคลิกบนเสนตรงสวนประกอบของสเกทช (1)
หรือ Work Axis เพื่อกําหนดแกนในการหมุน จะ
รูรูปที่ 1.1
5.5 ปรากฏไดอะล็อค Revolution ดังรูปที่ 5.5 หากเรา
สร า งฟ เ จอร แ รกให กั บ พาร ท แถบรายการ
Operation จะไมสามารถใชการได เนือ่ งจากฟเจอร
แรกเปนเบสฟเจอร แตถาเปนฟเจอรตอไป เราจะ
สามารถเลือก Cut (ตัดเฉือนโดยการหักลบ), Join
(รวมฟเจอรใหมเขากับฟเจอรเดิม), Intersect (ตัด

chap-05-1.pmd 94 12/10/2549, 23:33


การสรางฟเจอรตางๆ (Sketched & Placed Features) 95

รูรูปที่ 1.1
5.6

เฉือนใหเหลือเพียงสวนทีม่ ปี ริมาตรรวม), Split (ตัดเฉือนเพือ่ แบงออกเปนพารทใหม) ซึง่ มีวธิ กี ารใชงาน


เหมือนคําสัง่ Extrude ทุกประการ โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดให Angle มุมในการหมุนเทากับ 360 องศา
เราสามารถเปลีย่ นจุดการสิน้ สุด(Termination)การหมุนเปนแบบอืน่ ๆ ได อาทิ เชน MidPlane, Plane,
Face, Next, Extended Face, From-To เหมือนกับคําสัง่ Extrude (ดูวธิ ีการใชงานไดในคําสัง่ Extrude)

คําสั่ง Part4Sketched Features4Sweep | amsweep |


\Exercise\05-095-3.dwg

ใชสรางฟเจอรแบบกวาดหนาตัด Profile sketch ไปตามแนว 2D Path, 3D Edge Path, 3D Helix Path,


3D Pipe Path หรือ 3D Spline Path
รูรูปที่ 1.1
5.7

Sweep + 3D Helix

Sweep + 3D Pipe Sweep + 3D Spline


Sweep + 2D Path
Sweep + 3D Edge

Sweep + 3D Helix

Sweep + 3D Pipe Sweep + 3D Spline


Sweep + 2D Path Sweep + 3D Edge

chap-05-1.pmd 95 12/10/2549, 23:33


96 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

ในการเรียกคําสั่งออกมาใชงาน เราสามารถคลิก
ขวาบนชือ่ สเกทช Profile1 บนเดสท็อปบราวเซอร
แล ว เลื อกคํ า สั่ ง Sweep จะปรากฏไดอะล็ อค
Sweep ดังรูปที่ 5.8 หากเราสรางฟเจอรแรกใหกบั
พารท แถบรายการ Operation จะไมสามารถใช
การได เนือ่ งจากฟเจอรแรกเปนเบสฟเจอร แตถา
รูรูปที่ 1.1
5.8
เป นฟ เจอรต อไป เราจะสามารถเลือก Cut (ตั ด
เฉือนโดยการหักลบ), Join (รวมฟเจอรใหมเขากับฟเจอรเดิม), Intersect (ตัดเฉือนใหเหลือเพียงสวน
ทีม่ ปี ริมาตรรวม), Split (ตัดเฉือนเพือ่ แบงออกเปนพารทใหม) ซึง่ มีวิธกี ารใชงานเหมือนคําสัง่ Extrude
ทุกประการ แถบรายการ Body type ใชในการกําหนดหนาตัดของการกวาดใหตงั้ ฉากปกติ(Normal)
หรือขนาน(Parallel) โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนด การกวาดจะเปนการสิน้ สุด (Termination)แบบ Path-only
เราสามารถเปลี่ยนจุดการสิ้นสุดการหมุนเปนแบบอืน่ ๆ ได อาทิ เชน Plane, Face, Next, Extended
Face, From-To (ดูวธิ ีการใชงานไดในคําสัง่ Extrude)

คําสั่ง Part4Sketched Features4Loft | amloft |


\Exercise\05-096-1.dwg

ใชสรางฟเจอรโดยสรางหนาตัดสเกทชตงั้ แต 2 หนาตัดขึน้ ไป โดยหนาตัดสเกทชแตละชิ้นจะควบคุม


รูปทรงของพารท เราสามารถสรางหนาตัดสเกทชหลายๆ ชิน้ ตั้งอยูใ นตําแหนงทีค่ วบคุมการเปลี่ยน
แปลงของการสรางฟเจอร Loft ได ลอฟทฟเ จอรเปนไดทงั้ เบสฟเจอรและฟเจอรเสริม จุดสําคัญในการ
สร า งลอฟท ฟ เ จอร คื อ การสร า งหน า ตั ด
สเกทช แต ละชิ้ น แล วบั งคั บ ให อยู ใ นแนว
เดียวกันใน 3 มิติ ถาเปนเบสฟเจอร เราควร
สราง Work Plane ในระนาบตางๆ กัน เพือ่
กําหนดระยะห าง ระหว างหน าตั ดสเกทช
แตละชิ้น แลวจึงเขียนสเกทชลงบนระนาบ
เหลานัน้ ดังรูปที่ 5.9 (ซาย)
เมื่ อเรี ยกคํ า สั่ ง ออกมาใช ง าน จะปรากฏ
ขอความ Select profiles or planar faces to loft: รูรูปที่ 1.1
5.9
ใหคลิกบนหนาตัดสเกทชทั้งหมด โดยเรียง
ลําดับจากลางขึ้นดานบนหรือดานบนลงดานลางหรือจากดานใดดานหนึ่งไปอีกดานหนึ่ง เมื่อเลือก
สเกทชทงั้ หมด แลวคลิกขวา จะปรากฏไดอะล็อค Loft ดังรูปที่ 5.10 เราสามารถกําหนดคาตางๆ เพือ่
ควบคุมการเปลี่ยนแปลงของหนาตัดสเกทช เมื่อกําหนดคาตางๆ เรียบรอยแลว ออกจากไดอะล็อค
จะปรากฏดังรูปที่ 5.9 (ขวา)

chap-05-1.pmd 96 12/10/2549, 23:33


การสรางฟเจอรตางๆ (Sketched & Placed Features) 97

รูรูปปทีที่ ่ 5.10
1.1

Operation ใชสําหรับเลือกวิธีการสรางพารท ซึ่งถาเรายังไมไดสรางฟเจอรมากอน


จะปรากฏตัวเลือก Base สีเทา ซึ่งเราจะไมสามารถใชแถบรายการนี้ได
หากมีการสรางฟเจอรมากอนแลว จะปรากฏตัวเลือก Cut, Join, Intersect
และ Split ซึง่ มีวธิ ีการใชงานเหมือนกับคําสั่ง Extrude ทุกประการ
Termination ใชตัวเลือกในกลุมนี้สําหรับกําหนดระยะสิ้นสุดของหนาตัด Sections
สรางลอฟทฟเ จอร(Loft feature)โดยใชหนาตัดโปรไฟลสเกทช To Face
สรางลอฟทฟเ จอรไปสิน้ สุดทีผ่ วิ หนาเรียบทีก่ าํ หนด From To สรางลอฟท
ฟเจอรจากผิวหนาเริม่ ตนไปยังผิวหนาสิน้ สุดทีก่ ําหนด
Type ใชตัวเลื อกในแถบรายการนี้ สําหรับเลือกรูปแบบของการสรางลอฟท
ฟเจอรซง่ึ มีอยู 3 แบบคือ Linear (การเปลีย่ นแปลงจะเปนเสนตรง), Cubic
(การเปลี่ยนแปลงจะเปนเสนโคงที่ราบเรียบ) และ Closed Cubic (การ
เปลี่ยนแปลงจะเปนเสนโคงที่ราบเรียบแบบปด)
Minimize Twist ควบคุมการบิดของหนาตัดสเกทชในลอฟทฟเ จอรใหนอยที่สดุ
Sections to Loft ใชตัวเลือกในกลุมนี้สําหรับเลือกหนาตัดที่จะนํามาใชในลอฟทฟเจอร
Redefine เลือกหนาตัดสเกทชใหม Reorder เรียงลําดับหนาตัดสเกทช
ใหม โดยคลิกบนหนาตัดทีต่ อ งการเรียงลําดับ แลวคลิกบนหนาตัดทีต่ อ ง
การยายไปอยูด านหลัง Delete ลบหนาตัดสเกทชออกจากลอฟทฟเจอร
Start Section ควบคุมหนาตัดเริม่ ตนในลอฟทฟเ จอร Tangent to Adjacent Face บังคับ
ใหลอฟทฟเ จอรสมั ผัสกับผิวหนาทีอ่ ยูต ดิ กับผิวหนาเริม่ ตน ตัวเลือกนีจ้ ะ

Linear Cubic รูรูปปทีที่ ่ 5.11


1.1 Closed Cubic

chap-05-1.pmd 97 12/10/2549, 23:33


98 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

สามารถใชงานไดกต็ อเมื่อหนาตัดเริ่มตนเปนผิวหนาเรียบ(Planar Face)


Angle ควบคุมมุมเริ่มตนของลอฟทฟเจอร ณ ตําแหนงหนาตัดเริ่มตน
ตัวเลือกนีจ้ ะไมสามารถใชงานไดถา ตัวเลือก Tangent to Adjacent Face
ถูกใชงาน Weight ควมคุมน้ําหนักของหนาตัดโปรไฟลสเกทชกอนทีจ่ ะ
เปลีย่ นแปลงเขาไปหาหนาตัดโปรไฟลสเกทชอีกอันหนึ่ง
End Section ควบคุมการสิ้นสุดของหนาตัดในลอฟทฟเจอร ซึ่งมีตัวเลือกและการใช
งานของตัวเลือกเหมือนกับ Start Section

Note เราใช Work Point ในการบังคับหนาตัดสเกทชหลายๆ ชิน้ ซึง่ อยูบ นระนาบ Work Plane ตางๆ อยูใ นแนว
เดียวกัน เพราะวาเราสามารถบังคับใหสเกทชเขาหา Work Point ทีอ่ ยูบ นระนาบของตนเอง แลวจึงบังคับ
ให Work Point ที่อยูในแตละระนาบใหอยูในแนวเดียวกัน

Note ในการสรางพารท 3 มิติดวยวิธีลอฟทนี้ เราจะตองสรางหนาตัดซึ่งอาจจะเปนโปรไฟลสเกทชหรือ


ผิวหนา(Face)อยางนอย 2 ชิ้นขึ้นไป ถาเราเลือกใชโปรไฟลสเกทช เราควรที่จะบังคับรูป ทรงและ
ขนาดใหเรียบรอย

Note ในการสรางหนาตัดโปรไฟลสเกทช จํานวนเสนหรือเซกเมนตของแตละสเกทชไมจําเปนตองมีจํานวน


เทาๆ กัน ตัวอยาง เชน เราอาจจะใชวงกลมในสเกทชหนึ่ง แลวใชสี่เหลี่ ยมในอีกสเกทชหนึ่งก็ได
หรือในสเกทชหนึง่ อาจประกอบไปดวยเสนตรงและเสนโคงตางๆ จํานวนมาก ในอีกสเกทชหนึง่ อาจจะ
ประกอบไปดวยเสนตรงและเสนโคงจํานวนไมมากนักก็สามารถนํามาใชกับวิธกี ารขึน้ รูปดวยวิธี Loft
ได อยางไรก็ตาม ถาเราสามารถหลีกเลี่ยงความไมสมดุลยกันในลักษณะดังกลาวนี้ของแตละสเกทช
อาจจะทําใหเกิดการบิด(Twist)บนพารทที่ถูกสรางขึ้นมาได ดังนั้น ถาเปนไปได เราควรที่จะสราง
สเกทชในแตละหนาตัดใหมีเซกเมนตเทาๆ กัน เพื่อบังคับการเปลี่ยนแปลงจากหนาตัดสเกทชหนึ่ง
ไปอีกสเกทชหนึง่ เปนไปอยางราบเรียบปราศจากการบิดของรูปทรง

คําสั่ง Part4Sketched Features4Rib | amrib |


\Exercise\05-098-1.dwg

ใชสําหรับสรางฟเจอรครีบ(Rib)โดยใชสเกทชแบบเปด OpenProfile เปนเสนขอบเขตในการสรางครีบ


ดังรูปที่ 5.12
รูรูปปทีที่ ่ 5.12
1.1

chap-05-1.pmd 98 12/10/2549, 23:33


การสรางฟเจอรตางๆ (Sketched & Placed Features) 99
เมือ่ สรางสเกทชแบบเปดบนระนาบทีต่ อ งการสราง Rib แลวเรียก
คําสัง่ นีอ้ อกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อค Rib ดังรูปที่ 5.13 บน
พารทจะปรากฏหัวลูกศรชีไ้ ปยังทิศทางทีส่ ราง Rib หากหัวลูกศร
ทิศออกไปดานนอกชิน้ งาน เราสามารถคลิกบนปุม Flip เพือ่ ปรับ
ทิศทางไดตามตองการ เรากําหนดความหนา Rib ในอิดิทบอกซ
รูรูปปทีที่ ่ 5.13
1.1
Thickness โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดให One Direction เปน Type
ใชงาน การสราง Rib จะเยือ้ งออกดานใดดานหนึง่ เราสามารถคลิกบนเช็คบอกซ Flip Thickness เพือ่
พลิกระยะเยื้องไปอีกดานหนึ่งไดหรือเลือก Two Direction ซึ่งสามารถกําหนดความหนาสองดาน
แตกตางกันได หากตองการใหความหนาเกิดขึน้ จากตรงกึง่ กลางใหเลือก Midplane ดังรูปที่ 5.14

รูรูปปทีที่ ่ 5.14
1.1

เราสามารถใชคําสัง่ Line, Pline, Arc, Spline ในการสรางสเกทชแบบเปดดังรูปที่ 5.15 เราสามารถใช


การบังคับสเกทชดวยรูปทรงและการบั งคั บสเกทชด วยขนาดควบคุมสเกทชแบบเปดใหพอดี กับ
ชิน้ งาน อยางไรก็ตาม ปลายทัง้ สองดานของสเกทชแบบเปดทีน่ ํามาสราง Rib จะลอยอยูเ ฉยๆ โดยไม
สัมผัสกับพารทก็ได แตมขี อ แมวา ปลายทัง้ สองดานของสเกทชจะตองชีไ้ ปทีเ่ นือ้ ของชิน้ งาน จะชีอ้ อก
ไปดานนอกของเนือ้ ชิน้ งานไมได

รูรูปปทีที่ ่ 5.15
1.1

Spline + Rib Arc + Rib

คําสั่ง Part4Sketched Features4Bend | ambend |


\Exercise\05-100-1.dwg

ใชสําหรับสรางฟเจอรดดั (Bend)โดยใชสเกทชแบบเปด OpenProfile เปนเสนในการกําหนดขอบเขต


ในการดัดดังรูปที่ 5.16 เมือ่ สรางสเกทชแบบเปดจากคําสัง่ Line หรือ Pline บนระนาบทีต่ อ งการดัดชิน้
งานดังรูปที่ 5.16 (ซาย) แลวเรียกคําสัง่ นีอ้ อกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อค Bend ดังรูปที่ 5.17

chap-05-1.pmd 99 12/10/2549, 23:33


100 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

รูรูปปทีที่ ่ 5.16
1.1

เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Bend ดังรูปที่ 5.17 เราสามารถเลือกทีจ่ ะใช Angle+Radius (มุมและรัศมี)หรือ


Radius+ArcLen (รั ศมี และความยาวโค งใน)หรือ ArcLen+Angle (ความยาวโค งในและมุ ม)ใน
แถบรายการ Combination และสามารถกําหนดรัศมี มุม ความยาวโคงในไดตามตองการ ในขัน้ ตนเรา
ควรจะกําหนดรัศมีใหมขี นาดใหญมากๆ เสียกอน เพือ่ ทีจ่ ะสามารถมองเห็นทิศทางการดัดไดชัดเจน
ดังรูปที่ 5.16 (กลาง) หากดานทีต่ อ งการดัด
ไมปรากฏสีน้ําเงิน เราสามารถคลิกบนปุม
Flip Bend Side หากหัวลูกศรชีท้ ิศทางการ
ดัดไมชี้ไปในทิศทางที่เราตองการดัด เรา
สามารถคลิกบนปุม Flip Direction แลว
คลิกปุม OK จะปรากฏดังรูปที่ 5.16 (ขวา) รูรูปปทีที่ ่ 5.17
1.1

Note สังเกตุวา ในการเขียนสเกทชเราใชเสนตรงสัน้ ๆ ดังรูปที่ 5.16 (ซาย) ไมจําเปนตองพาดผานสวนทีต่ อ งการ


ดัดทัง้ หมด เพราะ เวคเตอรของเสนจะเปนตัวกําหนดแนวทีใ่ ชในการดัด แตถา เราเพิม่ ความยาวเสนตรง
จนกระทั่งเสนพาดผานไปอีกดานหนึง่ ของชิน้ งาน แมวา จะเลยแนวดัดไปอีกดานของชิน้ งานเล็กนอย
ก็ตามดังรูปที่ 5.18 (ซาย)หรืออาจจะเพิม่ ความยาวเสนตรงจนกระทัง่ ยาวออกไปนอกชิน้ งานดังรูปที่ 5.18
(กลาง) เมื่อใชคําสั่ง Bend ชิ้นงานทั้งสองดานจะถูกดัดดังรูปที่ 5.18 (ขวา)

รูรูปปทีที่ ่ 5.18
1.1

คําสั่ง Part4Sketched Features4Face Split | amfacesplit |


\Exercise\05-101-1.dwg

ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับแบงผิวหนา(Face)ของพารทออกเปน 2 สวน เพือ่ ทีจ่ ะสรางมุมถอดแบบ(Draft Angle)


บนพารทนั้นดวยคําสั่ง Face Draft ดังรูปที่ 5.19 กอนที่เราจะสามารถใชคําสั่งนี้ได เราจะตองสราง

chap-05-1.pmd 100 12/10/2549, 23:33


การสรางฟเจอรตางๆ (Sketched & Placed Features) 101

รูรูปปทีที่ ่ 5.19
1.1

กอนใชคําสัง่ หลังใชคําสัง่ หลังใชคําสั่ง Face Draft

Split line sketch เพื่อกําหนดแนวแบงผิวหนาออกเปนสองสวนดังรูปที่ 5.19 (ซาย) จากนั้นจึงเรียก


คําสัง่ นีอ้ อกมาใชงาน จะปรากฏขอความ Select faces to split or [All]: ใหพมิ พ All แลว Q หรือจะ
เลือกเฉพาะผิวหนาทีต่ อ งการแบงออกเปนสองสวนก็สามารถทําไดจะปรากฏดังรูปที่ 5.19 (ขวา) หาก
ตอไปใชคําสัง่ Face Draft เพือ่ กําหนดมุมถอดแบบจะปรากฏดังรูปที่ 5.19 (ขวา)

คําสั่ง Part4Placed Features4Hole | amhole |


\Exercise\05-103-1.dwg

ใชคําสั่งนี้สําหรับเจาะรูลงบนพารทใชงาน เราสามารถเลือกรูปแบบของรูเจาะได 3 แบบคือรูเจาะ


เคาเตอรบอร(Counterbore) รูเจาะเคาเตอรซงิ ค(Countersink)และรูเจาะธรรมดา(Drilled hole) กอนที่
จะใชคําสั่งนี้ได จะตองมีการสรางเบสฟเจอรหรือพารทชิ้นแรกมากอน แลวจึงเรียกคําสั่งนี้ออกมา
ใชงาน จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 5.20

รูรูปปทีที่ ่ 5.20
1.1

Hole ใชตั วเลือกในแถบคําสั่ งนี้ สําหรั บเลือกรูปแบบ กําหนดตําแหน งและ


ขนาดของรูเจาะ
Tab แสดงรูปแบบเกลียวที่ไดเลือกจากแถบคําสั่ง Threads
เลือกรูปแบบของรูเจาะ โดยมีรูเจาะดอกสวาน Drilled hole, รูเจาะ
เคาเตอรบอร Counterbore และรูเจาะเคาเตอรซิงค Countersink

chap-05-1.pmd 101 12/10/2549, 23:33


102 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

Termination ใชตัวเลือกในกลุมนีส้ ําหรับกําหนดความลึกของรูเจาะ Through เจาะรู


แบบทะลุตลอด To-Plane เจาะรูลกึ เขาไปจนถึงระนาบหรือผิวหนาทีถ่ กู
เลือก Blind เจาะรูลกึ เขาไปจนถึงระยะความลึกทีก่ ําหนด หากเลือก To-
Plane หรือ Blind เราสามารถกําหนดมุมดอกสวานที่ปลายรูเจาะ(Point
Angle) โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาใช Pt. Angle เทากับ 118 องศา หากตอง
รูรูปปทีที่ 5.21
1.1 การใหรูเจาะถูกตัดตรงปราศจากมุมดอกสวาน ใหปอ นคา 180 องศา

Depth

To-Plane

Dia Dia
Dia PT Angle PT Angle
Drilled + Through Drilled + To-Plane Drilled + Blind

C’ Dia C’ Dia C’ Dia


C’Depth C’Depth C’Depth
Depth

To-Plane

Dia Dia
Dia PT Angle PT Angle
C’Bore + Through C’Bore + To-Plane C’Bore + Blind

C’ Dia C’ Angle C’ Dia C’ Angle C’ Dia C’ Angle

Depth

To-Plane

Dia Dia
Dia PT Angle PT Angle
C’Sink + Through C’Sink + To-Plane C’Sink + Blind

Placement ใชตวั เลือกในกลุม นีส้ ําหรับกําหนดตําแหนงของรูเจาะบนชิน้ สวน โซลิด


2 Edges กําหนดตําแหนงของรูเจาะโดยเลือกจากเสนขอบ 2 เสนบน
พารท แนวแกนของรูเจาะจะตั้งฉากกับเสนขอบทั้งสองของโซลิดทีถ่ ูก
เลือกเสมอดังรูปที่ 5.22 (1) Concentric ใชศนู ยกลางเดียวกันกับรูปทรง

chap-05-1.pmd 102 12/10/2549, 23:33


การสรางฟเจอรตางๆ (Sketched & Placed Features) 103
กระบอกหรือสวนโคงมุมมน (Fillet)ของโซลิดในการกําหนดตําแหนง
ของรูเจาะแนวแกนของรูเจาะอยูในตําแหนงเดียวกันกับแนวแกนของ
ทรงกระบอกหรือสวนโคงทีถ่ กู เลือกดังรูปที่ 5.22 (2) On Point กําหนด
ตําแหนงของรูเจาะโดยเลือกจากตําแหนงจุดทํางาน(Work Point) แนว
แกนของรูเจาะจะตัง้ ฉากกับระนาบสเกทชเสมอดังรูปที่ 5.22 (3) From
Hole กําหนดตําแหนงของรูเจาะโดยใชระยะหางจากรูเจาะที่มีอยู แลว
แกนของรู เจาะจะชี้ ไปในทิ ศทางเดี ยวกันกั บแกนของรู เจาะเดิ มเสมอ
รูรูปปทีที่ ่ 5.22
1.1 ดังรูปที่ 5.22 (4)

(1) (2) (3) (4)

Threads ใชตวั เลือกในแถบคําสัง่ นีส้ ําหรับสรางเกลียวในรูเจาะ เราใชแถบรายการ


Thread Type สําหรับเลือกมาตรฐานเกลียว ANSI Metric M Profile
(ระบบเมตริก), ANSI Unified Screw Threads (ระบบอังกฤษ) และ Custom
(ผูใ ชกําหนดดวยตนเอง) เราสามารถกําหนดขนาดเกลียว(Nominal size)
ระยะพิทช (Pitch) เกลียวเต็มความยาวรูเจาะ(Full Depth) ระบุความยาว
เกลียว(Tap Depth)และสามารถกําหนดพิกดั สวม(Fit Class)

Note ขอมูลตางๆ รวมทั้งขนาดเกลียวของรูเจาะที่เราสรางในโหมด Part Modeling จะถูกสงไปใชงานใน


โหมดการสรางแบบแปลน 2 มิตใิ นการเขียนคําอธิบายรูเจาะดวยคําสัง่ Annotate4Annotation4Hole
Note โดยอัตโนมัติ เราไมตองเสียเวลาเขียนคําอธิบายรูเจาะขึ้นมาใหมดวยตนเอง

Note เมื่อเราสรางฟเจอรรูเจาะทีไ่ มมีเกลียว บนเดสท็อปบราวเซอรจะปรากฏไอคอน หากมีการสราง


รูเจาะที่มีเกลียว จะปรากฏไอคอน บอกใหเราทราบวารูเจาะนั้นมีเกลียวอยูดวย

คําสั่ง Part4Placed Features4Thread | amthread |


\Exercise\05-104-1.dwg

เราใชคําสั่งนี้สําหรับสรางฟเจอรเกลียวภายนอก(External Thread)ลงบนแทงทรงกระบอกกลมหรือ
เกลียวภายใน(Internal Thread)ลงบนรูเจาะกลวงทรงกระบอกกลมดังรูปที่ 5.23 ฟเจอรเกลียวจะ
ปรากฏเปนเสน Helix สีเขียว เมือ่ เรียกคําสัง่ ออกมาใชงานจะปรากฏขอความ Select cylindrical edge
or face: ใหคลิกบนแทงกลมหรือรูกลวงทรงกระบอกกลม จะปรากฏหัวลูกศรอยูบ นผิวหนาและชีไ้ ป

chap-05-1.pmd 103 12/10/2549, 23:33


104 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

กอนใชคาํ สัง่ หลังใชคาํ สัง่

รูรูปปทีที่ ่ 5.23
1.1

ยังทิศทางทีต่ องการสรางเกลียวและจะปรากฏขอความ Enter an


option [Next/Accept] <Accept>: เราสามารถคลิกซายเพื่อพลิก
หัวลูกศรไปอีกดานหนึง่ เพือ่ อางอิงระยะตางๆ จากอีกดานหนึง่
ของทรงกระบอกได แลวคลิกขวา จะปรากฏไดอะล็อค Thread
ดังรูปที่ 5.24 สังเกตุวาไดอะล็อค Thread เหมือนกับไดอะล็อค
ของฟ เจอร Hole ทุ ก ประการและมี ก ารกํ า หนดค า ต า งๆ
เหมือนกัน เวนแตฟเ จอร Thread สามารถกําหนดระยะออฟเซท
เริ่ ม ต น (Starting Offset) อ า งอิ ง จากระนาบที่ ถู ก เลื อก (ดู
รายละเอียดของตัวเลือกตางๆ ของคําสัง่ Thread ในคําสัง่ Hole) รูรูปปทีที่ ่ 5.24
1.1

Note ในการสรางรูเจาะภายใน เราตองสราง Profile Sketch จากวงกลม แลวใช Extrude + Cut เพือ่ สรางรูเจาะ
คําสั่งนี้จะไมสามารถสรางเกลียวลงบนรูเจาะที่สรางจากฟเจอร Hole ได เพราะวาในฟเจอร Hole
มีเกลียวอยูแลว

Note สังเกตุวาทุกครั้งที่เราสรางฟเจอร Thread ขนาดของเกลียว Nominal Size จะเปลี่ยนไปตามขนาดของ


แทงทรงกระบอกกลมทีเ่ ราเลือก โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาใหจะมีขนาดพอดีกบั แทงกลม แตถา ขนาด
แทงกลมไมพอดีกับขนาดที่กําหนดมาให โปรแกรมจะเลือกขนาดตอไปให โดยใชพิกัดความเผื่อ 5
เปอรเซนต การวัดขนาด Nominal Size ตรงกับขนาด Major Diameter ของแทงกลมหรือรูเจาะทีถ่ กู เลือก

คําสั่ง Part4Placed Features4Fillet | amfillet |


\Exercise\05-105-1.dwg

ใชคําสั่งนี้สําหรับสรางมุมมน(Fillet)ลงบนเสนขอบ(Edge)หรือผิวหนา(Face)ที่ถูกเลือกของชิน้ สวน
โซลิดใชงาน(Active Part) เมือ่ ใชคําสัง่ นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 5.25
Constant สรางมุมมน(Fillet)รัศมีคงที่ โดยกําหนดคารัศมีในอิดทิ บอกซ Radius แลว
คลิกบนเสนขอบ(Edge)หรือผิวหนา(Face)ของพารทใชงาน เมือ่ ปรากฏ
R=10 บนพารท เราสามารถคลิกบน R=10 เพื่อเปลีย่ นแปลงคารัศมีได

chap-05-1.pmd 104 12/10/2549, 23:33


การสรางฟเจอรตางๆ (Sketched & Placed Features) 105

รูรูปปทีที่ ่ 5.25
1.1

Individual Radii Override กําหนดคารัศมีใหกับเสนขอบหลายๆ เสน โดยทีเ่ ราสามารถ


กํ า หนดค า รั ศมี ใ ห กั บ เส น ขอบแต ละเส น ที่ แตกต า งกั น ได เมื่ อใช
เช็คบอกซนี้ Radius จะเปลีย่ นเปน Default Radius ซึง่ เปนคารัศมีเริม่ ตน
ของแตละเสนขอบทั้งหมดทีถ่ ูกเลือก ใหคลิกบนเสนขอบที่ตองการ จะ
ปรากฏ R=10 บนเสนขอบทุกเสน เราสามารถคลิกบน R=10 แลวเปลีย่ น
แปลงคารัศมีใหแตละเสนขอบไดตามตองการ

รูรูปปทีที่ ่ 5.26
1.1

Individual Radii Override

Fixed Width สรางมุมมน(Fillet)รัศมีคงทีโ่ ดยกําหนดคาความยาวคอรดของสวนโคง ใน


อิดทิ บอกซ Chord Length ใหกบั เสนขอบที่ถกู เลือก
Chord Length กําหนดคาความยาวคอรดของสวนโคงใหกับ Fixed Width
Cubic สร างรั ศมี แปรผั น โดยเราสามารถกําหนดค าของรั ศมี ที่ แตกต างกั น
หลายๆ จุดบนเสนขอบของโซลิดทีถ่ ูกเลือก ใหคลิกบนเสนขอบพารท
จะปรากฏ R=x บนปลายทัง้ สองดานของเสนขอบทีถ่ ูกเลือก ใหคลิกบน
รูรูปปทีที่ ่ 5.27
1.1 R=x แลวปอนคารัศมีหวั ทายของเสนขอบทีแ่ ตกตางกัน

กอนใชคําสัง่ Constant Cubic Linear


Linear สรางรัศมีแปรผันเชิงเสนตรง โดยสามารถกําหนดคาของรัศมีทแี่ ตกตาง
กัน ระหวางจุดหัวทายบนเสนขอบของโซลิดที่ถกู เลือก ใหคลิกบนเสน
ขอบพารท จะปรากฏ R=0 บนปลายทัง้ สองดานของเสนขอบทีถ่ กู เลือก
ใหคลิกบน R=0 แลวปอนคารัศมีหัวทายของเสนขอบทีแ่ ตกตางกัน

chap-05-1.pmd 105 12/10/2549, 23:33


106 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

คําสั่ง Part4Placed Features4Chamfer | amchamfer |


\Exercise\05-106-1.dwg

ใชคําสั่งนีส้ ําหรับสรางมุมตัด(Chamfer)บนขอบทีถ่ กู เลือกของชิน้ สวนโซลิดใชงาน(Active Part) เมือ่


ใชคําสั่ งนี้ จะปรากฏไดอะล็ อคดังรู ปที่ 5.28 เราสามารถคลิกบนเสนขอบ(Edge)หรื อคลิกผิ วหนา
(Faces)ทีต่ อ งการสรางมุมตัด

Equal Distance Two Distances Distance x Angle

รูรูปปทีที่ 5.28
1.1

กอนใชคาํ สัง่ หลังใชคาํ สัง่


Operation ใชตวั เลือกในกลุม นี้ ในการกําหนดรูปแบบของการสรางมุมตัด(Chamfer)
Equal Distance สรางมุมตัด(Chamfer)บนเสนขอบของโซลิดทีถ่ กู เลือก
โดยมีระยะหาง จากขอบระหวางผิวหนาเทาๆ กัน ซึง่ กําหนดใน Distance1
Two Distances สรางมุมตัด(Chamfer)บนเสนขอบของโซลิดที่ถกู เลือก
โดยใชระยะหาง จากขอบ Distance1 และ Distance2 Distance and Angle
สรางมุมตัด โดยใชระยะหาง Distance1 และคามุม Angle

Note สังเกตุวา ทุกๆ คําสัง่ ทีเ่ ราสรางฟเจอรตา งๆ ลงบนพารทจะปรากฏไอคอนของฟเจอรนนั้ บนเดสท็อปบราว


เซอร เราสามารถแกไขคาของฟเจอรเหลานัน้ ได โดยคลิกขวาบนไอคอนของฟเจอร แลวเลือกคําสัง่ Edit

คําสั่ง Part4Placed Features4Face Draft | amfacedraft |


\Exercise\05-107-1.dwg

ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับสรางมุมเอียงหรือมุมถอดแบบ(Draft Angle)ใหกบั ผิวหนาของชิน้ สวนโซลิดใชงาน


(Active Part) เพื่อชวยใหการถอดชิ้นสวนออกจากแบบหลอหรือโมลดสามารถกระทําไดโดยงาย
โดยทัว่ ไปมักนิยมใชมมุ 7 องศาในการกําหนดมุม Draft Angle เมื่อใชคําสั่งนีจ้ ะปรากฏไดอะล็อค
ดังรูปที่ 5.29 คลิกบนปุม Draft Plane แลวเลือกผิวหนาดังรูปที่ 5.29 (1) เพือ่ ปรับทิศทางของไอคอน

chap-05-1.pmd 106 12/10/2549, 23:33


การสรางฟเจอรตางๆ (Sketched & Placed Features) 107

รูรูปปทีที่ 5.29
1.1

Draft Plane ใหชขี้ นึ้ ดานบนดังรูปที่ 5.29 (2) คลิกบนปุม Add แลวเลือกผิวหนา(Face)ทีต่ อ งการดังรูปที่
5.29 (3) แลวออกจากไดอะล็อค จะปรากฏดังรูที่ 5.29 (4)
รูรูปปทีที่ ่ 5.30
1.1

(1) (2) (3) (4)

Type ใชตัวเลือกในกลุ มนี้ สําหรั บเลือกรูปแบบของการสรางมุมเอียง(Draft


Angle) From Plane สรางมุมเอียงโดยวัดมุมจากความสูงของระนาบเอียง
(Draft Plane) From Edge สรางมุมเอียงโดยยอมใหเสนขอบ(Edges)ตางๆ
คงอยูในตําแหนงเดิ มในการกําหนดผิวหนาที่ จะทําใหเอียง Shadow
รูรูปปทีที่ ่ 5.31
1.1
กําหนดผิวหนาเพิม่ หรือกําหนดผิวหนาออกไปจากฟเจอรเฟสดราฟทนี้

(1) (2) (3) (4) (5) (6)

Angle ใชคา มุมนีส้ ําหรับกําหนดมุมเอียง ซึง่ สามารถใชคา มุมระหวาง 0-80 องศา


Draft Plane กําหนดระนาบเพือ่ ใชอางอิงในการสรางมุมเอียง(Draft Angle)

Note ในกรณีที่ผิวหนาที่ถูกแบงไมไดอยูบนระนาบเดียวกันดังรูปที่ 5.31 (1) เราสามารถสราง Face Draft


โดยเลือก From Edge จากแถบรายการ Type แลวปอนคามุมเอียงที่ตอ งการใน Angle แลวคลิกบนปุม
Draft Plane แลวคลิกผิวหนาดานลางดังรูปที่ 5.31 (2) แลวคลิกซายเพื่อพลิกไอคอน Draft Plane ให
ปรากฏดังรูปที่ 5.31 (3) คลิกบนปุม Add แลวเลือกผิวหนาดังรูปที่ 5.31 (4) จะปรากฏขอความ Select
fixed edge: ใหคลิกบนเสนขอบดังรูปที่ 5.31 (5) แลวออกจากไดอะล็อค จะปรากฏดังรูปที่ 5.31 (6)

Note หากตองการสราง Face Draft ลงบนดานลางของพารททีถ่ กู แบงออกเปนสองสวน ดวยเสนแบงทีไ่ มได


อยูบนระนาบเดียวกันดังรูปที่ 5.29 (ขวา) ใหใชวิธี From Edge ดังรูปที่ 5.31 แตจะตองพลิกไอคอน
Face Draft ลงดานลาง นอกนั้นมีวิธีเหมือนกับการสราง Face Draft ลงบนสวนบนของพารท

chap-05-1.pmd 107 12/10/2549, 23:33


108 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7
Draft Face Draft Face Draft Face
รูรูปปทีที่ 5.32
1.1

Draft Plane
Draft Plane Draft Plane Fixed Edge

Faces to Draft ใช ตั วเลื อกในกลุ มนี้ ในการเลื อกผิวหน า(Face)ซึ่ งใช ในการสร างมุ ม
เอี ยง Add คลิ กบนปุ มนี้ เพื่ อที่ จะเพิ่ มเติ มผิ ว หน าที่ จะสร างมุ มเอี ยง
Reclaimเรียกผิวหนาทีถ่ ูกกําหนดมุมเอียงกลับคืนมา แลวลบคามุมเอียง
ของผิวหนานัน้ ทิง้ ไป Include Tangencies ใชระบุวา จะใชการสัมผัสสวน
โคง เมือ่ มีการกําหนดมุมเอียงใหกบั ผิวหนาหรือไม

คําสั่ง Part4Placed Features4Shell | amshell |


\Exercise\05-108-1.dwg
รูรูปปทีที่ ่ 5.33
1.1
ใชคําสั่ งนี้ สําหรับสรางเปลื อก(Shell)หรื อผนั งขึ้ นบน
ชิ้นสวนโซลิดใชงาน(Active Part) ทําใหเกิดชองหรือ
รู กลวงขึ้ นบนชิ้ น ส ว นโซลิ ดนั้ น ซึ่ งเราสามารถที่ จะ
กําหนดความหนา(Thickness)ใหกั บผนั งแตละแผ นที่
แตกตางกันได เมือ่ ใชคําสัง่ นี้ จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่
5.33 ใหปอนคาความหนาของผนังในอิดทิ บอกซ Inside,
Outside หรื อ Mid-plane แล วคลิ ก บนปุ ม Add ของ
Exclude faces เพื่ อเลื อกผิ ว หน า ที่ ไม ต องการสร า ง
ผนังออกดังรูปที่ 5.34 (ซาย) และ (กลาง) แลวออกจาก
ไดอะล็อค จะปรากฏดังรูปที่ 5.34 (ขวา) รูรูปปทีที่ ่ 5.34
1.1

Default Thickness ใชตวั เลือกในกลุม นีส้ ําหรับกําหนดความหนา Inside ความหนาจะเกิดขึน้


โดยออฟเซทเขาดานในของชิน้ สวนโซลิด Outside ความหนาจะเกิดขึน้
โดยออฟเซทออกดานนอกของชิ้นสวนโซลิด Mid-plane ความหนาจะ
เกิดขึ้นออกจากผิวหนาของพารทออกไปทั้งสองดาน โดยมีความหนา
ดานละครึง่ หนึง่ ของความหนาทีก่ ําหนด

chap-05-2.pmd 108 12/10/2549, 23:33


การสรางฟเจอรตางๆ (Sketched & Placed Features) 109
Excluded Faces ใชตัวเลือกนี้ในการเลือกผิวหนาที่ ไมตองการสรางผนังออกไป ซึ่ งจะ
ทําใหผวิ หนาทีถ่ กู เลือกไมปรากฏบนเนือ้ งานชิน้ สวนโซลิดและสามารถมอง
ทะลุผา นไปได Add < กําหนดผิวหนาทีไ่ มตอ งการสรางผนังหรือเปลือก
Reclaim < เรียกผิวหนากลับคืนกลายเปนผนังตามความหนาทีก่ ําหนด
Multiple Thickness Overrides ใชตวั เลือกในกลุม นีใ้ นการกําหนดคาความหนาทีแ่ ตกตาง
กันใหกับผนังที่ ตองการ Thickness พิมพคาความหนาขนาดตางๆ ที่
ตองการกําหนดใหกับผนังเขาในแถบรายการนี้ แลวคลิกปุม New คา
ความหนาทีเ่ ราพิมพเขาไปจะสะสมอยูใ นแถบรายการนี้ Set ใชตวั เลือก
ในกลุม นีใ้ นการกําหนดใหมหรือลบความหนาของผนัง New คลิกบนปุม
นีเ้ พือ่ เพิม่ คาความหนาใหมเขาไปในแถบรายการ Thickness Delete คลิก
บนปุม นีเ้ พือ่ ลบคาความหนาใชงานทีป่ รากฏใน Thickness ออกไป Faces
ใชตัวเลือกในกลุมนี้ในการกําหนดความหนาที่แตกตางใหกับผิวหนา
Add < คลิกบนปุ มนี้ แลวเลื อกผิวหน าที่ ต องการกําหนดความหนาที่
แตกตาง โดยใชคา Thickness ใชงาน Reclaim < คลิกบนปุม นี้ แลวเลือก
ผิวหนาทีต่ องการยกเลิกคาความหนาที่กําหนดโดย Thickness แลวกลับ
ไปใชคาความหนาทีก่ ําหนด โดย Default Thickness

คําสั่ง Part4Placed Features4Surface Cut | amsurfcut |


\Exercise\05-109-1.dwg

ใชคําสัง่ นีใ้ นการตัดเฉือนเนือ้ ของพารทโดยใชพนื้ ผิว NURBS Surface เปนเครือ่ งมือในการตัดเฉือน


เพื่อใหเราสามารถที่จะสรางโซลิดที่มีพื้นผิวเปนสวนโคงสวนเวาที่ซับซอนไดตามสภาพพื้นผิวของ
NURBS Surface นัน้ เราสามารถใชคําสัง่ ตางๆ ในเมนูคอลัมน Surface ใน Mechanical Desktop ใน
การสรางเซอรเฟสหรืออาจจะนําเซอรเฟสจากซอฟทแวร CAD อื่นๆ อาทิ เชน Rhinoceros, Catia,
Unigraphics และอื่นๆ เขามาใชในการตัดเฉือนพารทไดเชนเดียวกัน โดยทั่วไปเรานิยมนําเซอรเฟส
จากซอฟทแวร CAD อืน่ ๆ ผานไฟลฟอรแมต .igs หรือ .iges
รูรูปปทีที่ ่ 5.35
1.1

(1) (2) (3) (4)


หากเราตองการสรางเซอรเฟสขึ้นมาใชงานดวยตนเองใน Mechanical Desktop มีคําสั่งที่ใชงานงาย
และนิยมใชงานอยู 3 คําสัง่ คือ

chap-05-2.pmd 109 12/10/2549, 23:33


110 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

1. Surface4Create Surface4Sweep ใชวธิ กี ารสรางโดยการกวาดเสนโครงลวด


เสนเดียวหรือหลายเสนซึง่ ใชเปนหนาตัด(Cross sections)ไปตามเสนโครงลวดเสน
เดียวหรือสองเสนซึ่งใชเปนราง(Rails)บังคับหนาตัดเสนโครงลวดสามารถสราง
ขึน้ จากคําสัง่ pline, arc, 3dpoly หรือ spline ดังรูปที่ 5.36
Cross
Cross section sections
รูรูปปทีที่ ่ 5.36
1.1

Rail
Rail
Sweep with 1 cross section and 1 rail Sweep with 3 cross sections and 1 rail
Cross
Rail sections Cross
sections

Cross
sections

Rail Rail
Sweep with 3 cross sections and 2 rails Sweep with 2 cross sections and 2 rails

2. Surface4Create Surface4LoftU สรางพืน้ ผิว(Surface)เชือ่ มตอเสนโครงลวด


ตัง้ แต 2 เสนขึน้ ไป โดยควบคุมทิศทางการสรางพืน้ ผิวในทิศทางเดียว เสนโครงลวด
รูรูปปทีที่ 5.37
1.1 สามารถสรางขึน้ จากคําสัง่ pline, arc, 3dpoly หรือ spline ดังรูปที่ 5.37

3. Surface4 Create Surface4 LoftUV สรางพื้ นผิว(Surface)เชื่ อมตอเสน


โครงลวด โดยควบคุมทิศทางการสรางพืน้ ผิวใน 2 ทิศทาง (ทิศทาง U และ V) เสน
โครงลวดสามารถสรางขึน้ จากคําสั่ง pline, arc, 3dpoly หรือ spline ดังรูปที่ 5.38
V Wires

U Wires
V Wire รูรูปปทีที่ ่ 5.38
1.1
V Wire

U Wires

chap-05-2.pmd 110 12/10/2549, 23:33


การสรางฟเจอรตางๆ (Sketched & Placed Features) 111

Note ในการสรางเซอรเฟสขึน้ มาตัดเฉือนโซลิดดังรูปที่ 5.35 (1) เราสามารถสรางเซอรเฟสซึง่ มีขนาดใหญกวา


และปกคลุมชิน้ สวนโซลิดไวทุกสวนเมือ่ มองจากระนาบตัดเซอรเฟสจะตองอยูในตําแหนงทีส่ ามารถ
ตัดเฉือนชิน้ สวนได โดยที่สวนโคงเวาของเซอรเฟสตองอยูภ ายในขอบเขตของชิน้ สวนโซลิดทัง้ หมด
ดังรูปที่ 5.35 (2) แลวเรียกคําสัง่ นีอ้ อกมาใชงาน จะปรากฏขอความ Select surface or [Type]: ใหคลิกลง
บนเซอรเฟส จะปรากฏขอความ Select work point: หากมีการสรางเวิรค พอยทไว เพือ่ ควบคุมตําแหนง
ของเซอรเฟส เราสามารถคลิกบนเวิรค พอยท หากไมมกี ารสรางไวใหคลิกขวา จะปรากฏเวคเตอรแสดง
ทิศทางในการตัดเฉือนดังรูปที่ 5.35 (3) แลวคลิกขวาจะปรากฏดังรูปที่ 5.35 (4)

Note NURBS Surface ใน Mechanical Desktop จะสามารถแสดง Shade สีเพียงดานเดียว หากเราใชคําสั่ง


Shade แลวปรากฏวาเซอรเฟสหายไป เราตองกลับสูโหมดโครงลวด แลวใชคําสั่ง Surface4Edit
Surface4Adjust Normals แลวคลิกบนเซอรเฟส จะปรากฏเซอรเฟสในโหมด Shade

Note หากตองการสรางชิน้ งาน 3 มิตทิ ี่มสี วนประกอบเปน NURBS Surface ลวนๆ คําสั่ง Surface ที่มอี ยูใ น
Mechanical Desktop มีขดี ความสามารถทีจ่ ํากัด เนือ่ งจากไมสามารถควบคุมความตอเนือ่ ง(Continuity)
และการสัมผัส(Tangency)ระหวาง Curve-Curve และ Surface-Surface ได จึงทําใหการขึ้ นรูป
เซอรเฟสที่มีคุณภาพตองใชเวลาเปนอยางมาก ดังนั้น การนํา(Import)เซอรเฟสจากซอฟทแวรที่ มี
ประสิทธิภาพสูงเข ามาใช งานจึงเปนอีกทางเลื อกหนึ่ งที่ ใช งานได ดีกวาคําสั่ ง Surface ที่ มี อยู ใน
Mechanical Desktop ปจจุบนั มีซอฟทแวร NURBS Surface ทีไ่ ดรบั ความนิยมอยางสูงคือ Rhinoceros
(www.rhino3d.com) ซอฟทแวรนี้สามารถขึ้นรูป Free-form surface ไดไมมีขอบเขตจํากัด เพราะ
มีคําสัง่ ทีช่ ว ยใหเราสามารถสรางเซอรเฟสไดซบั ซอนในเวลาอันสัน้ ประกอบกับ Rhinoceros มีอนิ เตอร
เฟสและคําสั่งตางๆ เหมือนกับ AutoCAD และ Mechanical Desktop มาก แตมีความสามารถทางดาน
NURBS Surface เหนือกวา Surface ใน MDT หลายเทาตัว จึงไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง

คําสั่ง Part4Placed Features4Rectangular Pattern | amdt_rectpattern |


\Exercise\05-111-1.dwg

ใชคัดลอกฟเจอรซง่ึ เปนสวนประกอบของชิน้ สวนพาราเมตริกโซลิดใชงาน(Active Part)ในลักษณะ


ของอะเรยแบบแถวและคอลัมน ฟเจอรทจี่ ะนํามาสรางแพทเทิรนจะตองเปนฟเจอรทสี่ รางจากคําสัง่
amextrude, amrevolve, amsweep, amhole, ambend,
amrib หรือ amcombine เมือ่ ใชคําสัง่ นี้ แลวคลิกลงบน
ฟเจอรใดๆ ของพารทใชงานจะปรากฏไดอะล็อคดังรูป
ที่ 5.39 ใหกําหนดจํานวนนับของคอลัมนในอิดทิ บอกซ
Instances และกํ า หนดระยะห า งของคอลั ม น ใ น
อิ ดิ ทบอกซ Spacing กํา หนดจํานวนนั บของแถวใน
อิดิทบอกซ Instances และกําหนดระยะหางของแถวใน
อิดิทบอกซ Spacing ในขณะที่เราปรับจํานวนนับและ
ระยะหางอยูน นั้ เราจะเห็นตัวอยางปรากฏบนพารท ซึง่
เราสามารถใชตวั อยางเปนแนวทางในการสรางฟเจอรนไี้ ด รูรูปปทีที่ ่ 5.39
1.1

chap-05-2.pmd 111 12/10/2549, 23:33


112 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

รูรูปปทีที่ ่ 5.40
1.1

Type ใชตวั เลือกในกลุม นีใ้ นการเปลีย่ นแพทเทิรน Rectangular, Polar หรือ Axial
Column Placement ใช Instances ในการกําหนดจํานวนนับของคอลัมนในแนวแกน X
และใช Spacing ในการกําหนดระยะหาง ปุม ไอคอน (Increment
spacing) ใชสําหรับกําหนดระยะหางของแตละคอลัมน ปุม ไอคอน
(Included spacing) ใช สําหรั บกํา หนดระยะห างรวมของทุ กคอลั มน
ปุม ไอคอน (Flip column direction) ใชสําหรับพลิกคอลัมนกลับไป
ดานตรงกันขาม

รูรูปปทีที่ ่ 5.41
1.1

Align to Edge หากเราต องการสร า งแพทเทิ รนบนระนาบเอี ยง เราสามารถคลิ กบน


เช็คบอกซนี้ แลวคลิกบนปุม ไอคอน แลวคลิกบนเสนขอบของพารท
ทีเ่ อียง จะปรากฏดังรูปที่ 5.41 (ซาย) หากไมตอ งการใหแพทเทิรน เอียงไป
ตามเสนขอบ เราสามารถระบุคา มุมเอียงในอิดทิ บอกซ Angle
Row Placement ใช Instances ในการกําหนดจํานวนนับของแถวในแนวแกน Y และใช
Spacing ในการกําหนดระยะหาง ปุม ไอคอน (Increment spacing)
ใชสําหรับกําหนดระยะหางของแตละแถว ปุมไอคอน (Included
spacing) ใชสําหรับกําหนดระยะหางรวมของทุกแถว ปุมไอคอน
(Flip row direction) ใชสําหรับพลิกแถวกลับไปดานตรงกันขาม
Suppress Instances ใชสําหรับระงับไมใหปรากฏฟเจอรในแพทเทิรนดังรูปที่ 5.41 (ขวา)
ใหคลิกลงบนฟเจอรทเี่ ราตองการซอนไมใหปรากฏในแพทเทิรน
Plane Orientation ใชปมุ นี้สําหรับเปลีย่ นแปลงระนาบการคัดลอกของแพทเทิรน โดยการ
เลือกระนาบ X,Y ใหม เพือ่ กําหนดทิศทางการคัดลอกแพทเทิรน ใหม

chap-05-2.pmd 112 12/10/2549, 23:33


การสรางฟเจอรตางๆ (Sketched & Placed Features) 113
Features เราสามารถคลิกแถบคําสั่งนี้ เพื่อเพิ่มฟเจอรใหมหรือลบฟเจอรออกจาก
แพทเทิรน เราสามารถเพิม่ ฟเจอรไดหลายๆ ฟเจอรในแพทเทิรนเดียว

Note เราสามารถคลิกขวาบนไอคอนของฟเจอรตา งๆ ที่เราตองการสรางแพทเทิรน แลวเลือกคําสั่ง Pattern


4Rectangular จากช็อทคัทเมนูไดเชนเดียวกัน ดวยวิธีนี้จะไมปรากฏขอความ Select features to
pattern: เหมือนที่เรียกคําสั่งจากเมนูบาร

คําสั่ง Part4Placed Features4Polar Pattern | amdt_polarpattern |


\Exercise\05-113-1.dwg

ใช คั ดลอกฟ เจอร ซึ่ งเป นส ว นประกอบของชิ้ นส วน รูรูปปทีที่ ่ 5.42
1.1

พาราเมตริกโซลิดใชงาน(Active Part)ในลักษณะของ
อะเรย แบบหมุ น รอบแกน ฟ เ จอร ที่ จะนํ า มาสร า ง
แพทเทิ ร นจะต องเป นฟ เจอร ที่ สร างจากคํ า สั่ ง
amextrude, amrevolve, amsweep, amhole, ambend,
amrib หรื อ amcombine เมื่ อใช คําสั่ งนี้ แล วคลิกลง
บนฟเจอรใดๆ ของพารทใชงาน (1) ดังรูปที่ 5.43 (1)
จะปรากฏขอความ Select rotational center: ใหคลิกบน
ทรงกระบอกหรือ Work Axis เพือ่ กําหนดจุดศูนยกลาง
ของการหมุ น จะปรากฏไดอะล็ อคดั ง รู ป ที่ 5.42
ใหกําหนดจํานวนนับใน Instances จะปรากฏดังรูปที่ 5.43 (2) แลวออกจากไดอะล็อคจะปรากฏดังรูปที่
5.43 (3) และ (4)
รูรูปปทีที่ ่ 5.43
1.1

(1) (2) (3) (4)

เราสามารถคลิกบนปุม Suppress Instances เพื่อระงับฟเจอรบางชิ้นในแพทเทิรนที่ไมตองการให


ปรากฏ หรือคลิกบนปุม Rotation Center เพื่อกําหนดแกนในการหมุนใหมหรือคลิกบนแถบคําสั่ง
Features เพือ่ เพิม่ ฟเจอรใหมหรือลบฟเจอรออกจากแพทเทิรน โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดใหปุมไอคอน
(Full Circle) การคัดลอกจะเกิดขึน้ 1 รอบ 360 องศา หากเลือกปุม ไอคอน (Increment Angle)
เราจะสามารถระบุองศาระหวางฟเจอรที่อยูติดกันแตละชิ้นได หากเลือกปุมไอคอน (Included
Angle) เราสามารถทีจ่ ะระบุมมุ รวมของฟเจอรทงั้ หมดได หากคลิกบนปุม การหมุนจะเปลีย่ นจาก
ทวนเข็มนาฬิกาไปเปนการหมุนตามเข็มนาฬิกา

chap-05-2.pmd 113 12/10/2549, 23:33


114 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

คําสั่ง Part4Placed Features4Axial Pattern | amdt_axialpattern |


\Exercise\05-114-1.dwg
ใชคําสั่งนี้ในการสรางแพทเทิรนการคัดลอกอะเรยแบบ
ตามแนวแกน ฟเจอรที่ จะนํามาสรางแพทเทิรนจะตอง
เป นฟ เจอร ที่ สร างจากคํา สั่ ง amextrude, amrevolve,
amsweep, amhole, ambend, amrib หรือ amcombine เมือ่
ใชคําสัง่ นี้ แลวคลิกลงบนฟเจอรใดๆ ของพารทใชงาน (1)
ดังรูปที่ 5.45 (1) แลวคลิกขวา จะปรากฏขอความ Select
rotational center: ใหคลิกบนทรงกระบอกหรือ Work Axis
เพื่ อกํ า หนดจุ ด ศู น ย ก ลางของการหมุ น จะปรากฏ
ไดอะล็อคดังรูปที่ 5.44 ใหกําหนดจํานวนนับใน Instances
กําหนดจํานวนรอบใน Revolutions และกําหนดระยะ
ความสูงของแตละฟเจอรใน Offset Height คลิกบนปุม รูรูปปทีที่ ่ 5.44
1.1

(Flip Offset Direction) จะปรากฏดังรูปที่ 5.45 (2) หากตองการพลิกทิศทางการออฟเซท คลิกบนปุม


(Flip Rotation Direction) หากตองการเปลีย่ นทิศทางการหมุนจากทวนเข็มนาฬิกาไปเปนตามเข็ม
นาฬิกา คลิกบนปุม (Incremental Angle) หากตองการระบุมมุ ระหวางฟเจอร คลิกบนปุม
(Included Angle) หากตองการระบุมมุ รวมของฟเจอรทงั้ หมด คลิกบนปุม หากตองการระบุจาํ นวน
รอบ คลิกบนปุม (Incremental Offset) หากตองการระบุระยะหางระหวางฟเจอร (Included
Offset) หากตองการระบุระยะหางรวมของฟเจอรทั้งหมด เมือ่ กําหนดคาตางๆ บนไดอะล็อคทัง้ หมด
เรียบรอยแลว ใหออกจากไดอะล็อค จะปรากฏดังรูปที่ 5.45 (3)
รูรูปปทีที่ ่ 5.45
1.1

(1) (2) (3)

คําสั่ง Part4Placed Features4Combine | amcombine |


\Exercise\05-115-1.dwg

ใชคําสั่งนีส้ ําหรับรวมพารท 2 ชิน้ ใหกลายเปนพารทเพียงชิน้ เดียว โดยเราสามารถเลือกการรวมแบบ


Cut, Intersect และ Join จากรูปที่ 5.46 (ซาย) กอนทีจ่ ะใชคําสัง่ นี้ เราจะตองประกอบพารท 2 ชิน้ เขา

chap-05-2.pmd 114 12/10/2549, 23:33


การสรางฟเจอรตางๆ (Sketched & Placed Features) 115

รูรูปปทีที่ ่ 5.46
1.1

PART1_1 เปน Active Part PART2_1 เปน Toolbody PART1_1 และ PART2_1

(1) Join (2)Cut (3) Intersect

ดวยกันเพือ่ ใหมสี ว นทีม่ ปี ริมาตรรวมกันเสียกอนดังรูปที่ 5.46 แลวจึงกําหนดพารทใดๆ พารทหนึง่ เปน


พารทใชงานเสียกอน โดยคลิกขวาบนไอคอนพารท แลวเลือกคําสัง่ Activate Part แลวจึงเรียกคําสัง่ นี้
ออกมาใชงาน จะปรากฏขอความ Enter parametric boolean operation [Cut/Intersect/Join] <Cut>:
ในกรณีทตี่ องการรวมพารท ใหพิมพตวั เลือก J จะปรากฏขอความ Select part (toolbody) to be joined:
แลวคลิกบนพารททีต่ อ งการนํามารวมเขากับพารทใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 5.46 (1) ในกรณีทตี่ อ งการ
หักลบพารท ใหพมิ พตัวเลือก C จะปรากฏขอความ Select part (toolbody) to use for cutting: แลวคลิก
บนพารททีต่ อ งการนํามาหักลบออกจากพารทใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 5.46 (2) ในกรณีทตี่ อ งการหา
สวนตัดระหวางพาร ท ใหพิมพ ตัวเลื อก I จะปรากฏขอความ Select part (toolbody) to use for
intersecting: แลวคลิกบนพารททีต่ องการนํามาตัดกับพารทใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 5.46 (3)

Note ในการประกอบพารทเขาดวยกัน เราควรใชคําสั่ง Assembly43D Constraints4... เพื่อบังคับพารท


แตละชิน้ ใหประกอบเขาดวยกัน เพือ่ จํากัดการเคลื่อนที่ระหวางพารท

Note เมือ่ ใชคําสัง่ นีก้ ับพารท 1 และพารท 2 หากพารท 1 เปนพารทใชงาน(Active Part) พารท 2 จะกลายเปน
สวนประกอบ (Toolbody)ของพารท 1 และชือ่ ของพารท 2 ทีป่ รากฏบนเดสท็อปบราวเซอรจะเคลือ่ นยาย
เขาไปอยูภายใตไอคอน Combine ของพารท 1

คําสั่ง Part4Placed Features4Part Split | ampartsplit |


\Exercise\05-116-1.dwg

ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับสรางพารท(Part)ใหม โดยการแบงพารทใชงาน(Active Part)ออกเปน 2 สวน โดยใช


เสนแบงสปลิทไลนสเกทช ระนาบทํางาน(Work Plane)หรือใชผิวหนาเรียบ(Planar Face)ในการ
กําหนดระนาบในการแบง กอนทีจ่ ะสามารถใชคําสัง่ นีไ้ ด เราจะตองมีเสนแบงสปลิทไลนสเกทชหรือ
ระนาบทํางาน(Work Plane)หรือผิวหนาเรียบ(Planar Face) จึงจะสามารถแบงพารทใชงานออกเปน
พารทใหมได เมือ่ กําหนดใหพารทใชงานแลว เราสามารถเรียกคําสัง่ นีอ้ อกมาใชงาน จะปรากฏขอความ
Select planar face, work plane, surface, or split line for split: ใหคลิกบนผิวหนาเรียบหรือระนาบทํางาน

chap-05-2.pmd 115 12/10/2549, 23:33


116 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

Split line sketch

PART1_1
รูรูปปทีที่ ่ 5.47
1.1
PART1_1 PART2_1

หรือสปลิทไฟลสเกทช จะปรากฏขอความ Define side for new part [Flip/Accept] <Accept>: ใหเลือก
ดานทีต่ อ งการกําหนดใหเปนพารทใหม โดยสังเกตุจากทิศทางของหัวลูกศร จะปรากฏขอความ Enter
name of the new part <PART3>: ใหตงั้ ชือ่ พารทตามตองการหรือคลิกขวาเพือ่ ใชชอื่ พารททีโ่ ปรแกรม
กําหนดมาให พารทก็จะถูกแบงออกเปน 2 ชิน้ ดังรูปที่ 5.47
เปนอันวาเราไดศกึ ษาคําสัง่ ในการสรางฟเจอรตา งๆ มาทัง้ หมดเรียบรอยแลว การสรางฟเจอรเปนหัวใจ
ในการใช Mechanical Desktop ดังนั้น เราควรที่จะศึกษาคําสั่งในการสรางฟเจอรตางๆ ใหเปนที่
เขาใจพอสมควร เพราะการขึ้นรูปพารทใหมีขนาดและรูปทรงตามตองการ จะตองอาศัยการสราง
ฟเจอรเพิ่มเติมเขาไปในพารทเปนหลัก จนกระทั่งพารทมีขนาดและรูปทรงที่เราตองการ เมื่อเราได
ศึกษาการสรางฟเจอรมาทัง้ หมดแลว ตอไปเราจะศึกษาการสรางฟเจอรชวยในการทํางานในบทตอไป

chap-05-2.pmd 116 12/10/2549, 23:33

You might also like