You are on page 1of 16

บทที่ 19 แบบฝกหัด

การขึ้นรูปพารท VII

ในแบบฝกหัดนีเ้ ปนวิธกี ารขึน้ รูปพารทอีกชิน้ หนึง่ Transverse Connection ดังรูปที่ 19.1 เราจะไดศกึ ษา
วิธี การสรางระนาบเอียงบนพื้ นผิวเรียบที่ ไมมีจุ ด(Point)หรื อเส นขอบ(Edge)ที่ จะสามารถอางอิง
สําหรับสรางระนาบทํางาน(Work Plane) การแบงผิวหนาเรียบออกเปน 2 สวนเพือ่ ใชเสนขอบ(Edge)
ของผิวหนาในการสรางระนาบเอียง การคัดลอกฟเจอร การเจาะรูและอืน่ ๆ โดยมีขนั้ ตอนดังตอไปนี้

รูรูปปทีที่ ่ 19.1
1.1

1. เขาสู Mechanical Desktop แลวใชคําสัง่ File4New เพือ่ สรางพารทใหมในโหมด


แอสเซมบลี โดยเลือกเทมเพล็ทไฟล MDT7-ISO-Template for Light Background.dwt
(สําหรับพืน้ ทีว่ าดภาพสีออ น)หรือ MDT7-ISO-Template for Dark Background.dwt
(สําหรับพืน้ ทีว่ าดภาพสีแก)จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน CD-ROM แนบทาย
หนังสือฯ แลวคลิกปุม Open

Note หากใช MDT6 ใหเลือกเทมเพล็ท MDT6-ISO-Template for Light Background.dwt สําหรับพืน้ วาดภาพ
สีออ นหรือเลือก MDT6-ISO-Template for Dark Background.dwt สําหรับพืน้ วาดภาพสีแก

2. ใหแนใจวา OSNAP อยูใ นสถานะเปดหรือคลิกบนปุม คางไวแลวคลิกปุม


เพือ่ ใหแนใจวาออฟเจกทสแนปชุดที่ 1 END, MID, CEN, INT เปนโหมดใชงาน

chap-19.pmd 443 12/10/2549, 23:57


444 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

Note เนื่องจากฐานของพารทมีลักษณะรูปกลองสี่เหลี่ยมผืนผา ดังนั้น เราไมจําเปนที่จะตองสรางระนาบ


ทํางาน Basic 3D Work Planes เนื่องจากเราสามารถใชระนาบดานบน ดานหนาและระนาบ
ดานขางของกลองสี่เหลี่ยมผืนผาอางอิงในการสรางระนาบอื่นๆ เหมือนกับ Basic 3D Work Planes

Note ถาพิจารณาจากพารทดังรูปที่ 19.1 เราจะเห็นวาหนาตัดของสเกทชแรกทีเ่ ราจะสรางขึน้ ควรจะขนานกับ


ระนาบ XZ หรือระนาบดานหนา Front View โดยที่โปรแกรมกําหนดให เมื่อเราเขาสู Mechanical
Desktop จะปรากฏพื้นที่วาดภาพในระนาบ XY หรือ Top View ดังนั้น เราจะตองเปลี่ยนมุมมอง
เสียกอน แลวจึงจะเขียนสเกทชไดดังนี้

3. คลิกบนปุม ไอคอน คางไว แลวคลิกบนปุม เพื่อเปลีย่ นเปน 4 วิวพอรท


4. คลิกวิวพอรทซายบนหรือบนระนาบ ZX (Front View) เพือ่ กําหนดใหเปนวิวพอรท
ใชงาน แลวใชคําสัง่ Assist4New UCS4View เพือ่ ปรับระนาบ ZX ของ WCS
ใหกลายเปนระนาบ XY ของ UCS แลวคลิกบนปุม ไอคอน คางไว แลวคลิกบน
ปุม เพือ่ เปลี่ยนเปน 1 วิวพอรทเชนเดิม
5. ใหแนใจวาเลเยอร Sketches เปนเลเยอรใชงาน แลวใช
คําสั่ง Design4 Rectangle เขียนสี่เหลี่ยมผืนผา โดยคลิกจุดใดๆ บนพื้นที่
วาดภาพ แลวพิมพรเี ลทีฟคอรออรดเิ นท @175,16 จะปรากฏดังรูปที่ 19.2 (ซาย)
รูรูปปทีที่ 19.2
1.1

2
1
6. จากรู ปที่ 19.2 (ซ าย)เขี ยนสี่ เหลี่ ยมผื นผ าอี กรู ปหนึ่ ง โดยใช คําสั่ ง Design4
Rectangle คลิกประมาณจุดที่ 1 และจุดที่ 2 จะปรากฏดังรูปที่ 19.2 (ขวา)
7. จากรูปที่ 19.2 (ขวา) ตัดเสน โดยใชคาํ สัง่ Modify4Trim แลวคลิกขวาในบรรทัด
Select cutting edges ... แลวคลิกบนเสนทีต่ อ งการตัดตางๆ ใหปรากฏดังรูปที่ 19.3 (ซาย)
รูรูปปทีที่ 19.3
1.1
4 3
6
8 9 5
1 2 7

8. แปลงเสนตรงทัง้ หมดใหเปนสเกทช โดยใชคําสัง่ Part4Sketch Solving 4Profile


แลวเลือกเสนตางๆ โดยคลิกเพื่อลอมกรอบวัตถุทั้งหมด แลวคลิกขวา บน
เดสท็อปบราวเซอรจะปรากฏสเกทช Profile1
9. แสดงตัวแปรทีเ่ ก็บคาตัวเลขของเสนบอกขนาด โดยใชคําสัง่ Part4Dimensioning
4Dimension As Equations

chap-19.pmd 444 12/10/2549, 23:57


แบบฝกหัดการขึ้นรูปพารท VII 445
10. จากรูปที่ 19.3 (ซาย) บังคับสเกทชดว ยรูปทรง โดยใชคาํ สัง่ Part42D Constaints4
Equal Length แลวคลิกเสนตรงจุดที่ 1 และคลิกเสนตรงจุดที่ 2 เสนตรงทัง้ สอง
จะถูกบังคับใหมคี วามยาวเทากันเสมอ

Note หากสัญลักษณ Constraints ปรากฏมีขนาดเล็กเกินไป เราสามารถใชคําสั่ง Tools4Options แลวคลิก


แถบคําสั่ง AM:Parts แลวคลิกบนปุม Constraint Size แลวปรับขนาดของสัญลักษณไดตามตองการ

11. จากรูปที่ 19.3 (ซาย) บังคับสเกทชดวยขนาด โดยใชคําสั่ง Part4Dimensioning


4New Dimension คลิกเสนตรงจุดที่ 3 คลิกจุดที่ 4 ปอนคา 175 หนวย แลวคลิก
เสนตรงจุดที่ 5 คลิกจุดที่ 6 ปอนคา 16 หนวย แลวคลิกเสนตรงจุดที่ 2 คลิกจุดที่ 7
ปอนคา 41 หนวย แลวคลิกเสน ตรงจุดที่ 8 คลิกจุดที่ 9 ปอนคา 3 หนวย จะปรากฏดัง
รูปที่ 19.3 (ขวา) สเกทชจะถูก บังคับอยางสมบรูณ

Note หากเสนบอกขนาดพาราเมตริกที่ปรากฏบนสเกทชมีขนาดเล็กเกินไป เราสามารถใชคําสั่ง Assist4


Format4Dimension Style คลิกชือ่ สไตล AM_ISO คลิกปุม Modify คลิกแถบคําสั่ง Fit ปอนคา
สเกลแฟคเตอรเขาไปใน Use over all scale of หากตองการใหเสนบอกขนาดใหญกวาเดิม 2 เทาให
ปอนคา 2 หากตองการใหเสนบอกขนาดเล็กลงกวาเดิมครึง่ หนึง่ ใหปอนคา 0.5

12. เปลีย่ นเลเยอรใชงานเปนเลเยอร Parts โดยเลือกแถบรายการ


13. สรางความหนาใน 3 มิติ ดวยคําสัง่ Part4Sketched Features4Extrude หรือคลิกขวา
บน Profile1 บนเดสท็อปบราวเซอร แลวเลือกคําสัง่ Extrude จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่
13.4 กําหนดคา Distance = 83, Termination Type = Blind เราควรคลิกขวาในชอง Distance
หรือ Draft angle แลวเลือกคําสัง่ 3D Orbit แลวคลิกและลากเพือ่ หมุนสเกทชในมุมมอง
ทีส่ ามารถมองเห็นเวคเตอรแสดงทิศทางการสรางความหนาดังรูปที่ 19.4 (ซาย) คลิกปุม
OK จะปรากฏ ExtrusionBlind1 บนเดสท็อปบราวเซอรและจะปรากฏดังรูปที่19.4 (ขวา)

รูรูปปทีที่ ่ 19.4
1.1
2
4
1
3

14. จากรูปที่ 19.4 (ขวา) ลบมุมโคง โดยใชคาํ สัง่ Part4Placed Features4Fillet จะ


ปรากฏไดอะล็อค Fillet ใหแนใจวา Constant เปนปุม เรดิโอใชงาน แลวกําหนดรัศมี 3
หนวยในอิดทิ บอกซ Radius แลวคลิกปุม OK คลิกเสนขอบจุดที่ 1, 2, 3, 4 แลวคลิกขวา
จะปรากฏดังรูปที่ 19.5 (ซาย)

chap-19.pmd 445 12/10/2549, 23:57


446 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

รูรูปปทีที่ ่ 19.5
1.1

15. เริ่มสรางฟเจอรใหม โดยกอนอื่น สรางระนาบสเกทชโดยใชคําสั่ง Part4New


Sketch Plane แลวคลิกบนผิวหนาตรงจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏขอความ Select edge
to align X axis or [Flip/Rotate/Origin] <Accept>: ใหคลิกซายจนกระทัง่ แกน X,Y,Z
ของระนาบสเกทช ปรากฏดังรูปที่ 19.5 (ขวา) แลวคลิกขวา

รูรูปปทีที่ ่ 19.6
19.5
1.1
2 1

16. คลิกบนปุม ไอคอน Sketch View เพือ่ ไปยัง Top View ของระนาบสเกทชใชงาน
จะปรากฏดังรูปที่ 19.6 (ซาย)
17. เริ่มเขียนสเกทชใหม ใหแนใจวา Sketches เปนเลเยอร
ใชงาน แลวใชคําสัง่ Design4Polyline และคําสัง่ Design4Arc43 Points
หรือคําสัง่ อืน่ ๆ เพือ่ เขียนเสนคราวๆ ใหปรากฏดังรูปที่ 19.6 (กลาง)
18. รูปที่ 19.6 (กลาง) แปลงเสนตรงและเสนโคงทัง้ หมดใหเปนสเกทช โดยใชคาํ สัง่ Part
4Sketch Solving4Profile แลวเลือกเสนตางๆ โดยคลิกเพือ่ ลอมกรอบวัตถุทงั้
หมด แลวคลิกขวา บนเดสท็อปบราวเซอรจะปรากฏสเกทช Profile2
19. ตรวจสอบ Contraints ทีโ่ ปรแกรมสรางมาให โดยใชคําสัง่ Part42D Constaints4
Show Constraints พิมพตวั เลือก A จะปรากฏดังรูปที่ 19.6 (ขวา) สังเกตุวา
โปรแกรมสรางการบังคับสเกทชบนเสนตรงในแนวนอน โดยมีสญั ลักษณ H กํากับ
เพียงเสนเดียวเทานั้น ดังนัน้ เราจึงจะตองสราง Constraints ตางๆ ดวยตนเอง
20. จากรูปที่ 19.6 (ขวา) บังคับสเกทชดว ยรูปทรง โดยใชคาํ สัง่ Part42D Constaints4

chap-19.pmd 446 12/10/2549, 23:57


แบบฝกหัดการขึ้นรูปพารท VII 447
5
2 รูรูปปทีที่ ่ 19.7
1.1
3 4
1
8
11
6
10 12
7 9 13

21. Equal
จากรูปLength
ที่ 19.7 (ซาย)แลบัวงคลิ
คับกสเกทช
เสนตรงจุ
ดว ยรูดปทีทรง
่ 1 และคลิ
โดยใชกคเสาํ สันง่ ตรงจุ
Partด4ที2D่ 2 เสConstaints
นตรงทัง้ สอง
4
จะถูกบังคับใหแล
Tangent มคี ววามยาวเท ากันเสมอ
คลิกเสนตรงจุ ดที่ 1จะปรากฏดั
และคลิกเสนงรูโค
ปทีงจุ่ 19.7 ดที่ 2(ซแลาย)
วคลิกเสนตรงจุดที่
3 และคลิกเสนโคงจุดที่ 2 เสนโคงและเสนตรงทัง้ สามจะถูกบังคับใหสมั ผัสกันเสมอ
ดังรูปที่ 19.7 (กลาง)
22. จากรูปที่ 19.7 (กลาง) บังคับสเกทชดวยขนาด โดยใชคําสั่ง Part4Dimensioning
4New Dimension คลิกเสนโคงจุดที่ 4 คลิกจุดที่ 5 ปอนคารัศมี 22 หนวย
แลวคลิกเสนตรงจุดที่ 6 คลิกจุดที่ 7 ปอนตัวแปร d5 แลวคลิกเสนโคงจุดที่ 4 คลิก
เสนตรงจุดที่ 6 คลิกจุดที่ 8 ปอนคา 45 หนวย แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 19.7
(ขวา) สเกทชจะถูกบังคับอยางสมบรูณ

Note เนื่ องจากความยาวส วนฐานของสเกทช มี ค าเท ากั บ ความลึ กของฟ เจอร ExtrusionBlind1 ดั งนั้ น
เราสามารถคลิกขวาบนฟเจอร ExtrusionBlind1 บนเดสท็อปบราวเซอร แลวเลือกคําสัง่ Edit จะปรากฏ
เสนบอกขนาดตางๆ ดังรูปที่ 19.8 (ซาย) เราจะสามารถทราบไดวา ความลึกของฟเจอร ExtrusionBlind1
มีตวั แปรใดกํากับอยู

รูรูปปทีที่ ่ 19.8
1.1

23. จากรูปที่ 19.7 (ขวา) บังคับสเกทชดวยขนาด โดยใชคําสั่ง Part4Dimensioning


4New Dimension คลิกเสนตรงจุดที่ 9 คลิกเสนตรงจุดที่ 10 คลิกจุดที่ 11
ปอนคา 0 (ศูนย) หนวย แลวคลิกขวา
24. จากรูปที่ 19.7 (ขวา) บังคับสเกทชดว ยรูปทรง โดยใชคาํ สัง่ Part42D Constaints4
Collinear แลวคลิกเสนตรงจุดที่ 12 และคลิกเสนขอบตรงจุดที่ 13 แลวคลิกเสน
แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 19.8 (ขวา)

chap-19.pmd 447 12/10/2549, 23:57


448 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

25. สรางความหนาใน 3 มิติ ดวยคําสัง่ Part4Sketched Features4Extrude หรือคลิกขวา


บน Profile2 บนเดสท็อปบราวเซอร แลวเลือกคําสัง่ Extrude จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่
13.4 กําหนดคา Operation = Join, Distance = 12, Termination Type = Blind เราควรคลิก
ขวาในชอง Distance หรือ Draft angle แลวเลือกคําสัง่ 3D Orbit แลวคลิกและลากเพือ่ หมุน
สเกทชในมุมมองทีม่ องเห็นเวคเตอรแสดงทิศทางการสรางความหนาดังรูปที่19.9 (ซาย)
หากเวคเตอรไมชเี้ ขาหาพารท ใหคลิกบนปุม Flip เพือ่ ปรับทิศทางเวคเตอร แลวคลิกปุม
OK จะปรากฏ ExtrusionBlind2 และจะปรากฏดังรูปที่ 19.9 (กลาง)

รูรูปปทีที่ ่ 19.9
1.1

26. คลิกบนปุม 3D Orbit แลวคลิกและลากวงกลม Orbit เพือ่ หมุนใหมองเห็นอีกดานหนึง่


ของพารทดังรูปที่ 19.9 (ขวา)
27. เริ่มสรางฟเจอรใหม โดยกอนอื่น สรางระนาบสเกทชโดยใชคําสั่ง Part4New
Sketch Plane แลวคลิกบนผิวหนาตรงจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏขอความ Select edge
to align X axis or [Flip/Rotate/Origin] <Accept>: ใหคลิกซายจนกระทัง่ แกน X,Y,Z
ของระนาบสเกทช ปรากฏดังรูปที่ 19.10 (ซาย) แลวคลิกขวา
4 3
รูปรูปทีที่ 19.10
่ 1.1
1

28. คลิกบนปุม ไอคอน Sketch View เพือ่ ไปยัง Top View ของระนาบสเกทชใชงาน
จะปรากฏดังรูปที่ 19.10 (ขวา)
29. จากรูปที่19.10 (ขวา) เริม่ เขียนสเกทช ใหแนใจวา Sketches
เปนเลเยอรใชงาน แลวเขียนวงกลม โดยใชคําสัง่ Design4Circle4Center Radius
คลิกประมาณจุดที่ 1 แลวปอนรัศมีเทากับ 16 จะปรากฏดังรูปที่ 19.10 (ขวา)

chap-19.pmd 448 12/10/2549, 23:57


แบบฝกหัดการขึ้นรูปพารท VII 449
30. แปลงรูปวงกลมใหเปนสเกทช โดยใชคาํ สัง่ Part4Sketch Solving4Single
จะปรากฏ Profile3 บนเดสท็อปบราวเซอร
31. จากรูปที่ 19.10 (ขวา) บังคับสเกทชดวยขนาด โดยใชคําสัง่ Part4Dimensioning
4New Dimension คลิกเสนโคงจุดที่ 1 คลิกจุดที่ 2 ปอนเสนผาศูนยกลาง 32
หนวย แลวคลิกขวา
32. จากรูปที่ 19.10 (ขวา) บังคับสเกทชดว ยรูปทรง โดยใชคาํ สัง่ Part42D Constaints4
Concentric แลวคลิกเสนโคงจุดที่ 1 และคลิกเสนโคงจุดที่ 2 วงกลมจะถูกบังคับ
ใหมจี ดุ ศูนยกลางเดียวกันกับสวนโคง ดังรูปที่ 19.11 (ซาย)

รูปรูปทีที่ 19.11
่ 1.1
1
2

33. สรางความหนาใน 3 มิติ ดวยคําสัง่ Part4Sketched Features4Extrude หรือคลิกขวา


บน Profile3 บนเดสท็อปบราวเซอร แลวเลือกคําสัง่ Extrude จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่
13.4 กําหนดคา Operation = Join, Distance = 3, Termination Type = Blind เราควรคลิกขวา
ในชอง Distance หรือ Draft angle แลวเลือกคําสัง่ 3D Orbit แลวคลิกและลากเพือ่ หมุน
สเกทชในมุมมองทีม่ องเห็นเวคเตอรแสดงทิศทางการสรางความหนาดังรูปที่ 19.11
(กลาง) หากเวคเตอรไมชเี้ ขาหาพารท ใหคลิกบนปุม Flip แลวคลิกปุม OK จะปรากฏ
ExtrusionBlind3 บนเดสท็อปบราวเซอรและจะปรากฏดังรูปที่ 19.11 (ขวา)
34. จากรูปที่ 19.11(ขวา) สรางสวนโคง Fillet โดยใชคําสัง่ Part4Placed Features4
Fillet จะปรากฏไดอะล็อค Fillet ใหแนใจวา Constant เปนปุมเรดิโอใชงาน
แลวกําหนดรัศมี 3 หนวยในอิดิทบอกซ Radius แลวคลิกปุม OK เพื่อออกจาก
ไดอะล็อค คลิกเสนขอบจุดที่ 1 แลวคลิกขวาเพือ่ ออกจากคําสัง่
35. จากรูปที่ 19.11(ขวา) เจาะรู Drill โดยใชคาํ สัง่ Part4Placed Features4Hole เมือ่
ปรากฏไดอะล็อค Hole ดังรูปที่15.16 ใหแนใจวาปุม (Drilled) ถูกเลือก แลวกําหนดให
Termination = Through, Placement = Concentric, Diameter = 20 แลวคลิกบนปุม OK
จะปรากฏขอความ Select work plane, planar face or [worldXy/worldYz/worldZx/Ucs]:
ใหคลิกเสนขอบโคงจุดที่ 2 จะปรากฏขอความ Select concentric edge: ใหคลิกเสน
ขอบโคงจุดที่ 2 อีกครัง้ แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 19.12 (ซาย)

chap-19.pmd 449 12/10/2549, 23:57


450 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

รูปรูปทีที่ 19.12
่ 1.1

Note เนื่องจากฟเจอรใหมที่จะสรางตอไปเหมือนกับฟเจอร ExtrusionBlind2, ExtrusionBlind3, Fillet2 และ


Hole1 ทุกประการ เพือ่ ความรวดเร็ว เราสามารถใชคาํ สัง่ Polar Pattern แทนทีจ่ ะคัดลอกสเกทชหรือคัดลอก
ฟเจอรคราวละฟเจอรไปยังอีกดานหนึง่ ของพารท แตการใช Polar Pattern ตองมีทรงกระบอกหรือ Work Axis
หรือ Work Point เปนแกนหมุนหรือเปนจุดหมุน ดังนัน้ เราจะสราง Work Point เพือกํ
่ าหนดจุดหมุนในการคัดลอก
ฟเจอรแบบ Polar Pattern ดังนี้

36. เริ่มสรางฟเจอรใหม โดยกอนอื่น สรางระนาบสเกทชโดยใชคําสั่ง Part4New


Sketch Plane แลวคลิกบนผิวหนาตรงจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏขอความ Select edge
to align X axis or [Flip/Rotate/Origin] <Accept>: แลวคลิกซายจนกระทั่งแกน
X,Y,Z ของระนาบสเกทชปรากฏดังรูปที่ 19.12 (ขวา) แลวคลิกขวา
37. จากรูปที่ 19.12 (ขวา) สรางจุด Work Point โดยใชคําสัง่ Part4Work Features4
Work Point จะปรากฏขอความ Specify the location of the workpoint: ใหคลิก
ประมาณจุดที่ 1 จะปรากฏ WorkPoint1 บนระนาบสเกทชใชงาน
38. คลิกบนปุม ไอคอน Sketch View เพือ่ ไปยัง Top View ของระนาบสเกทชใชงาน
จะปรากฏดังรูปที่ 19.13 (ซาย)

4 2 รูปรูปทีที่ 19.13
่ 1.1
5 3

39. จากรูปที่19.13 (ซาย) บังคับ WorkPoint1 ใหอยูต รงกลางพารทดวยขนาด โดยใชคาํ สัง่


Part4Dimensioning4New Dimension คลิก WorkPoint จุดที่ 1 คลิกเสนขอบ
จุดที่ 2 คลิกจุดที่ 3 ปอนความสัมพันธ d0/2 แลวคลิก WorkPoint จุดที่ 1 คลิกเสน
ขอบจุดที่ 4 คลิกจุดที่ 5 ปอนความสัมพันธ d5/2 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่
19.13 (ขวา) WorkPoint1 จะถูกปรับใหอยูต รงกลางพารทพอดี

chap-19.pmd 450 12/10/2549, 23:57


แบบฝกหัดการขึ้นรูปพารท VII 451

Note ถาเรายอนกลับไปดูรูปที่ 19.8 เราจะเห็นวาความยาวของพารทมีตัวแปร d0 กํากับ สวนความลึกของ


พารทมีตัวแปร d5 กํากับ นั่นเปนทีม่ าของความสัมพันธ d0/2 และ d5/2

40. คลิกบนปุม 3D Orbit แลวคลิกและลากวงกลม Orbit เพือ่ หมุนใหมองเห็นอีกดานหนึง่


ของพารทดังรูปที่ 19.14 (ซาย)

รูปรูปทีที่ 19.14
่ 1.1
1

2
3

41. จากรูปที่ 19.14 (ซาย) คัดลอกฟเจอร ExtrusionBlind2, ExtrusionBlind3, Fillet2 และ


Hole1 ไปอีกดานหนึง่ ของพารทแบบพลิกกลับ โดยใชคําสัง่ Part4Placed Features
4Polar Pattern แลวคลิกฟเจอร ExtrusionBlind2 ตรงจุดที่ 1 หรือคลิกขวาบน
ฟเจอร ExtrusionBlind2 บนเดสท็อปบราวเซอร แลวเลือกคําสั่ง Pattern 4Polar
จะปรากฏขอความ Select rotational center: ใหคลิกบน WorkPoint1 ตรงจุดที่ 2
จะปรากฏไดอะล็อค Pattern บนพืน้ ทีว่ าดภาพ ใหแนใจวา Instances = 2 และปุม
(Full Circle) ถูกเลือก แลวคลิกบนแถบคําสัง่ Features แลวคลิกบนปุม Add
แลวคลิกบนฟเจอร ExtrusionBlind3, Fillet2 และฟเจอร Hole1 แลวคลิกบนปุม OK
เพือ่ ออกจากไดอะล็อค จะปรากฏพารทดังรูปที่ 19.14 (ขวา)
42. จากรูปที่ 19.14 (ขวา) เริ่มเจาะรู โดยกอนอื่น สรางจุด Work Point เพื่อกําหนด
ตําแหนงของรูเจาะ โดยใชคําสัง่ Part4Work Features4Work Point จะปรากฏ
ขอความ Specify the location of the workpoint: ใหแนใจวา OSNAP อยูใ นสถานะ
ปด แลวคลิกประมาณจุดที่ 3 จะปรากฏ WorkPoint2 บนระนาบสเกทชใชงาน
43. คลิกบนปุม ไอคอน Sketch View เพือ่ ไปยัง Top View ของระนาบสเกทชใชงาน
จะปรากฏดังรูปที่ 19.15 (ซาย)

รูปรูปทีที่ 19.15
่ 1.1

5 1
2 4
3

chap-19.pmd 451 12/10/2549, 23:57


452 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

44. จากรูปที่19.15 (ซาย) บังคับ WorkPoint2 ใหหา งจากขอบซาย 32 หนวยและหางจาก


ขอบลาง 14.5 หนวย โดยใชคําสั่ง Part4Dimensioning4New Dimension
คลิก WorkPoint จุดที่ 1 คลิกเสนขอบจุดที่ 2 คลิกจุดที่ 3 ปอนคา 32 หนวย แลวคลิก
WorkPoint จุดที่ 1 คลิกเสนขอบจุดที่ 4 คลิกจุดที่ 5 ปอนคา 14.5 หนวย แลวคลิก
ขวา WorkPoint2 จะถูกปรับใหอยูใ นตําแหนงทีถ่ ูกตองดังรูปที่ 19.15 (ขวา)
45. คลิกบนปุม แลวคลิกบนปุม 3D Orbit แลวคลิกและลากวงกลม Orbit เพือ่ หมุน
ใหมองเห็นอีกดานหนึง่ ของพารทดังรูปที่ 19.16 (ซาย)

รูปรูปทีที่ 19.16
่ 1.1

46. จากรูปที่ 19.16 (ซาย) เจาะรู Counterbore โดยใชคําสัง่ Part4Placed Features4


Hole เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Hole ดังรูปที่ 15.16 ใหคลิกบนปุม กําหนดให
Termination = Through, Placement = On Point, Diameter = 12, C’ Dia = 25,
C’Depth = 2 แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ Select work point for the
hole location: ใหคลิก WorkPoint2 ตรงจุดที่ 1 แลวคลิกขวาเพือ่ ออกจากคําสัง่ รูเจาะ
จะปรากฏดังรูปที่ 19.16 (ขวา)
47. จากรูปที่ 19.16 (ขวา) คัดลอกรูเจาะแบบ Rectangular Pattern โดยใชคําสัง่ Part4
Placed Features4Rectangular Pattern แลวคลิกบนฟเจอร Hole2 หรือคลิกขวา
บนฟเจอร Hole2 บนเดสท็อปบราวเซอร แลวเลือกคําสัง่ Pattern4Rectangular จะ
ปรากฏไดอะล็อค Pattern ในฟลด Column Placement ใหแนใจวาปุม Incremental
Spacing ถูกเลือก แลวกําหนดให Instances = 2, Spacing =115, Angle = 90 สวนในฟลด
Row Placement ใหแนใจวาปุม Incremental Spacing ถูกเลือก แลวกําหนดให
Instances = 2, Spacing =54 แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏดังรูปที่ 19.17 (ซาย)

รูปรูปทีที่ 19.17
่ 1.1

chap-19.pmd 452 12/10/2549, 23:57


แบบฝกหัดการขึ้นรูปพารท VII 453
48. จากรูปที่ 19.17 (ซาย) เริม่ สรางฟเจอรใหม โดยกอนอืน่ สรางระนาบสเกทชโดยใช
คําสั่ง Part4New Sketch Plane แลวคลิกบนผิวหนาตรงจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏ
ขอความ Select edge to align X axis or [Flip/Rotate/Origin] <Accept>: แลวคลิกซาย
จนกระทัง่ แกน X,Y,Z ของระนาบสเกทชปรากฏดังรูปที่ 19.17 (ขวา) แลวคลิกขวา
49. เริม่ สรางฟเจอรใหม ซึง่ เปนสวนทีเ่ อียงทํามุม 45 องศากับระนาบ XZ และทํามุม 120 องศา
กับระนาบ XY แตกอ นอืน่ คลิกบนปุม เพือ่ แสดงโหมดโครงลวด แลวคลิกบน
ปุม ไอคอน Sketch View เพือ่ ไปยัง Top View ของระนาบสเกทชใชงาน จะปรากฏ
ดังรูปที่ 19.18 (ซาย)
10
11
2
รูปรูปทีที่ 19.18
่ 1.1 9
8
3
1
5 4 1 7
6
50. จากรูปที่19.18 (ซาย) เริม่ เขียนสเกทช ใหแนใจวา Sketches
เปนเลเยอรใชงาน แลวเขียนเสนตรง โดยใชคําสัง่ Design4Polyline คลิก
ประมาณจุดที่ 1 และจุดที่ 2 จะปรากฏดังรูปที่ 19.18 (ขวา)
51. จากรูปที่ 19.18 (ขวา) แปลงเสนตรงใหเปน Split Line Sketch โดยใชคําสัง่ Part4
Sketch Solving4Split Line จะปรากฏขอความ Select objects for sketch: ให
คลิกบนเสนตรงจุดที่ 3 แลวคลิกขวา 2 ครัง้ เพือ่ ออกจากคําสัง่
52. จากรูปที่ 19.18 (ขวา) บังคับสเกทชดวยขนาด โดยใชคําสั่ง Part4Dimensioning
4New Dimension คลิกเสนตรงจุดที่ 4 คลิกเสนขอบจุดที่ 5 คลิกจุดที่ 6 ปอนคา
56 หนวย แลวคลิกเสนตรงจุดที่ 4 คลิกเสนขอบจุดที่ 1 คลิกจุดที่ 7 (หากไมปรากฏ
เสนบอกขนาดแนวดิง่ ใหพมิ พตวั เลือก V) ปอนคา 0 (ศูนย) หนวย แลวคลิกเสนตรง
จุดที่ 3 คลิกเสนขอบจุดที่ 1 คลิกจุดที่ 8 (หากไมปรากฏเสน บอกขนาดเชิงมุมใหพมิ พ
ตัวเลือก N) ปอนคามุม 45 องศา แลวคลิกเสนตรงจุดที่ 9 คลิกเสนขอบจุดที่ 10
คลิกจุดที่ 11 ปอนคา 0 (ศูนย) หนวย แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 19.19 (ซาย)
สเกทชจะถูกบังคับอยางสมบรูณ

รูปรูปทีที่ 19.19
่ 1.1

chap-19.pmd 453 12/10/2549, 23:57


454 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

53. จากรูปที่ 19.19 (ซาย) แบงผิวหนาบนระนาบสเกทชออกเปน 2 สวนตามแนว Split


Line Sketch ทีเ่ ราไดกําหนดไว โดยใชคําสัง่ Part4Sketched Features4Face Split
จะปรากฏขอความ Enter facesplit type [Planar/pRoject] <pRoject>: ให
คลิกขวา เพือ่ ใชตวั เลือก pRoject จะปรากฏขอความ Select faces to split or [All]:
ใหคลิกบนผิวหนาเรียบบนระนาบสเกทชตรงจุดที่ 1 แลวคลิกขวา 2 ครัง้ เพือ่ ออก
จากคําสั่ง ผิวหนาทีถ่ กู เลือกจะถูกแบงออกเปน 2 สวนเอียงตามสเกทช Split Line
ดังรูปที่ 19.19 (ขวา)
54. คลิกบนปุม 3D Orbit แลวคลิกและลากวงกลม Orbit เพือหมุ
่ นพารทใหปรากฏดังรูปที่
19.20 (ซาย) เราจะเห็นวาผิวหนาดานบนของพารทบนระนาบสเกทช XY ถูกแบง
ออกเปนสวนสวนตามเสนเอียงของสเกทช Split Line

รูปรูปทีที่ 19.20
่ 1.1

1 2

55. จากรูปที่ 19.20 (ซาย) เริ่มสรางระนาบทํางานใหเอียง 120 องศาจากระนาบ XY


โดยตองการใหระนาบ Work Plane ผานเสนขอบผิวหนาตรงจุดที่ 1 โดยใชคําสัง่
Part4Work Features4Work Plane เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Work Plane ใหคลิก
ปุม เรดิโอ On Axis/Edge ใน 1st Modifier และคลิกปุม เรดิโอ Planar Angle ใน 2nd
Modifier แลวพิมพคามุม 120 องศา เขาไปในอิดิทบอกซ Angle และใหแนใจวา
ปรากฏเครือ่ งหมาย √ หนาเช็คบอกซ Create Sketch Plane แลวคลิกบนปุม OK จะ
ปรากฏขอความ Select work axis, straight edge or... ใหคลิกบนเสนขอบผิวหนาตรง
จุดที่ 1 จะปรากฏ Select work plane, planar face or... ใหคลิกตรงจุดที่ 2 แลวคลิกขวา
หากทิศทางของระนาบเอียงปรากฏไมถูกตอง ใหคลิกซายจนกระทั่งระนาบเอียง
ไปในทิศทางทีถ่ กู ตอง แลวคลิกขวา จะปรากฏแกน X,Y,Z ใหคลิกซายจนกระทัง่
แกน X,Y,Z ปรากฏดังรูปที่ 19.20 (กลาง) และรูปที่ 19.20 (ขวา) แลวคลิกขวา Work
Plane จะเอียงทํามุม 120 องศากับระนาบ XY ผานเสนขอบตรงจุดที่ 1 พอดี
56. ซอน WorkPlane1 โดยคลิกขวาบน WorkPlane1 แลวเลือกคําสัง่ Visible
57. คลิกบนปุม ไอคอน Sketch View เพือ่ ไปยัง Top View ของระนาบสเกทชใชงาน
จะปรากฏดังรูปที่ 19.21 (ซาย)
58. จากรูปที่19.21 (ซาย) เริม่ เขียนสเกทช ใหแนใจวา Sketches

chap-19.pmd 454 12/10/2549, 23:57


แบบฝกหัดการขึ้นรูปพารท VII 455

รูปรูปทีที่ 19.21
่ 1.1

เปนเลเยอรใชงาน แลวเขียนเสนตรงและเสนโคงคราวๆ โดยใชคําสัง่ Design4


Polyline และคําสัง่ Design4Arc43 Points ใหปรากฏดังรูปที่ 19.21 (ขวา)
59. รูปที่ 19.21 (ขวา) แปลงเสนตรงและเสนโคงทัง้ หมดใหเปนสเกทช โดยใชคําสัง่ Part
4Sketch Solving4Profile แลวเลือกเสนตางๆ โดยคลิกเพือ่ ลอมกรอบวัตถุทงั้
หมด แลวคลิกขวา บนเดสท็อปบราวเซอรจะปรากฏสเกทช Profile4
60. ปด(Off)เลเยอร Parts ชัว่ คราว โดยคลิกบนปุม ของเลเยอร Parts บนแถบรายการ
ควบคุมเลเยอรและกําหนดให เปนเลเยอรใชงาน พารท
จะหายไปจากพืน้ ทีว่ าดภาพเหลือเพียงเสนตางๆ ดังรูปที่ 19.22 (ซาย)
6
รูปรูปทีที่ 19.22
่ 1.1
2 9 10

3 4
7 58

61. ตรวจสอบ Contraints ทีโ่ ปรแกรมสรางมาให โดยใชคําสัง่ Part42D Constaints4


Show Constraints พิมพตัวเลือก A จะปรากฏดังรูปที่ 19.22 (ซาย) สังเกตุวา
โปรแกรมสรางอาจจะการบังคับสเกทชมาใหบางสวน เนื่องจากเราไมไดเขียน
สเกทชดว ยขนาดจริง ดังนัน้ เราจึงจะตองสราง Constraints ตางๆ ทัง้ หมดดวยตนเอง
62. ลบ Constraints ทัง้ หมดทีโ่ ปรแกรมสรางมาใหโดยอัตโนมัติ โดยใชคาํ สัง่ Part42D
Constaints4Delete Constraints จะปรากฏดังรูปที่ 19.22 (กลาง)
63. จากรูปที่ 19.22 (กลาง) บังคับสเกทชดว ยรูปทรง โดยใชคาํ สัง่ Part42D Constaints4
Equal Length แลวคลิ กเสนตรง 1-2, 3-4, 1-3 เสนตรงทัง้ หมดจะถูกบังคับ
ใหมคี วามยาวเทากันเสมอดังรูปที่ 19.22 (ขวา)

chap-19.pmd 455 12/10/2549, 23:57


456 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

64. จากรูปที่ 19.22 (ขวา) บังคับสเกทชดว ยรูปทรง โดยใชคาํ สัง่ Part42D Constaints4
Radius แลวคลิกเสนโคงจุดที่ 5 และคลิกเสนโคงจุดที่ 6 เสนโคงทัง้ สองจะถูก
บังคับใหมรี ศั มีเทากันเสมอ
65. จากรูปที่ 19.22 (ขวา) บังคับสเกทชดวยรูปทรงใหเสนตรงสัมผัสกับสวนโคง โดย
ใชคําสั่ง Part42D Constaints4Tangent คลิกบนเสน 5-7, 5-8, 6-9, 6-10
เสนตรงและสวนโคงทั้งหมดจะสัมผัสกัน คลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 19.23 (ซาย)
4
1 รูปรูปทีที่ 19.23
่ 1.1 3
5 6
7
9

2 8

66. จากรูปที่ 19.23 (ซาย) บังคับสเกทชดวยรูปทรงใหเสนโคงดานบนอยูในแนวดิ่ง


เดียวกันกับสวนโคงดานลาง โดยใชคาํ สัง่ Part42D Constaints4X Value คลิก
บนเสนโคง 1 และเสนโคง 2 เสนโคงทัง้ สองจะมีจดุ ศูนยกลางทีม่ คี า X เทากันและ
อยูใ นแนวดิง่ เดียวกัน แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 19.23 (กลาง)
67. จากรูปที่ 19.23 (กลาง) บังคับสเกทชดว ยขนาด โดยใชคําสั่ง Part4Dimensioning
4New Dimension คลิกเสนโคงจุดที่ 3 คลิกจุดที่ 4 ปอนรัศมี 22 หนวย แลวคลิก
เสนตรงจุดที่ 5 คลิกเสนตรงจุดที่ 6 คลิกจุดที่ 7 (หากไมปรากฏเสนบอกขนาดเชิงมุม
ใหพมิ พตัวเลือก N) ปอนคา 45 องศา แลวคลิกเสนโคงจุดที่ 3 คลิกเสนโคงจุดที่ 8
คลิกจุดที่ 9 ปอนคา 100 หนวย แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 19.23 (ขวา)
68. เปด(On)เลเยอร Parts โดยคลิกบนปุม ของเลเยอร Parts บนแถบรายการควบคุม
เลเยอรและกําหนดให เปนเลเยอรใชงาน พารทจะกลับมา
ปรากฏบนพืน้ ทีว่ าดภาพดังรูปที่ 19.24 (ซาย)
69. จากรูปที่ 19.24 (ซาย) บังคับสเกทชดว ยขนาด โดยใชคําสัง่ Part4Dimensioning
4New Dimension คลิกเสนตรงจุดที่ 1 คลิกเสนแบงผิวหนาตรงจุดที่ 2 คลิกจุด
ที่ 3 ปอนคา 20 หนวย คลิกเสนตรงจุดที่ 4 คลิกเสนแบงผิวหนาตรงจุดที่ 5 คลิกจุดที่
6 ปอนคา 0 (ศูนย) หนวย แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 19.24 (ขวา)
70. สรางความหนาใน 3 มิติ ดวยคําสัง่ Part4Sketched Features4Extrude หรือคลิกขวา
บน Profile4 บนเดสท็อปบราวเซอร แลวเลือกคําสัง่ Extrude จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่

chap-19.pmd 456 12/10/2549, 23:57


แบบฝกหัดการขึ้นรูปพารท VII 457

รูปรูปทีที่ 19.24
่ 1.1

3
5
6 1 2
4

13.4 กําหนดคา Operation = Join, Distance = 12, Termination Type = Blind เราควรคลิก
ขวา ในชอง Distance หรือ Draft angle แลวเลือกคําสัง่ 3D Orbit แลวคลิกและลากเพือ่ หมุน
สเกทชในมุมมองทีม่ องเห็นเวคเตอรแสดงทิศทางการสรางความหนาดังรูปที19.25 ่ (ซาย)
หากเวคเตอรไมชเี้ ฉียงลงดานลาง ใหคลิกบนปุม Flip แลวคลิกปุม OK จะปรากฏ
ExtrusionBlind4 บนเดสท็อปบราวเซอร คลิกบนปุม จะปรากฏดังรูปที่ 19.25 (ขวา)

รูปรูปทีที่ 19.25
่ 1.1 1

71. จากรูปที่ 19.25(ขวา) เจาะรู Drill โดยใชคาํ สัง่ Part4Placed Features4Hole เมือ่
ปรากฏไดอะล็อค Hole ดังรูปที่15.16 ใหแนใจวาปุม (Drilled) ถูกเลือก แลวกําหนดให
Termination = Blind, Placement = Concentric, Diameter = 20, Depth = 12, Pt. Angle =
180 แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ Select work plane, planar face or [worldXy/
worldYz/worldZx/Ucs]: ใหคลิกเสนขอบโคงจุดที่1 จะปรากฏขอความ Select concentric
edge: ใหคลิกเสนขอบโคงจุดที่ 1 อีกครัง้ จะปรากฏขอความ Select work plane, planar
face or [worldXy/worldYz/worldZx/Ucs]: ใหคลิกเสนขอบโคงจุดที่2 จะปรากฏขอความ
Select concentric edge: ใหคลิกเสนขอบโคงจุดที่ 2 อีกครัง้ แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่
19.26 (ซาย)

chap-19.pmd 457 12/10/2549, 23:57


458 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

3 2
4 1

รูปรูปทีที่ 19.26
่ 1.1

72. จากรูปที่19.26 (ซาย) สรางสวนโคง Fillet โดยใชคําสัง่ Part4Placed Features4Fillet


เลือก Constant และกําหนดรัศมี 3 หนวย แลวคลิกเสนขอบตรงจุดที่ 1, 2, 3, 4
แลวคลิกขวา จะปรากฏสวนโคง Fillet บนเสนขอบทัง้ หมดดังรูปที่ 19.26 (ขวา)
73. คลิกบนปุม 3D Orbit แลวคลิกและลากวงกลม Orbit เพือ่ หมุนใหมองเห็นดานลาง
ของพารทดังรูปที่ 19.27 (ซาย)

รูปรูปทีที่ 19.27
่ 1.1

1
2

74. จากรูปที่19.27 (ซาย) สรางสวนโคง Fillet โดยใชคําสัง่ Part4Placed Features4Fillet


เลือก Constant และกําหนดรัศมี 3 หนวย แลวคลิกเสนขอบตรงจุดที่ 1 และ 2
แลวคลิกขวา จะปรากฏสวนโคง Fillet บนเสนขอบดังรูปที่ 19.27 (ขวา)
เป น อั นว า เราได ศึกษาการขึ้ น รู ปพาร ท Transverse Connection มาเสร็ จสมบรู ณ เรี ยบร อยแล ว
สังเกตุวาการขึ้นรูปพารทชิ้นนี้จุดสําคัญอยูที่การแบงผิวหนาเพื่อใชในการสราง WorkPlane เพราะ
ถาหากเราไมแบงผิวหนาออกเปนสองสวนตามมุมเอียงของฟเจอร เราก็จะไมสามารถสรางระนาบ
WorkPlane ใหเอียงตามเสนแบงผิวหนาไปได เราสามารถนําวิธีการในแบบฝกหัดนี้ ไปประยุกต
ใชในการขึน้ รูปพารทอืน่ ๆ ซึง่ ไมมจี ดุ อางอิงสําหรับสรางระนาบทํางานไดเชนเดียวกัน หลังจากทีเ่ รา
ไดศึกษาวิธกี ารขึน้ รูปพารทมาถึง 7 แบบฝกหัดซึง่ ครอบคลุมการขึน้ รูปพารทแบบตางๆ มาหลายรูป
แบบมาพอสมควรแลว ในแบบฝกหัดตอไป เราจะเริม่ ศึกษาการสรางภาพประกอบแยกชิน้ สวนอยาง
ละเอียด

chap-19.pmd 458 12/10/2549, 23:57

You might also like