You are on page 1of 106

เอกสารประกอบการฝก

หลักสูตรยกระดับฝมือ

Tutorials โดย ชุติพนธ สวิง


สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง
คํานํา
เอกสารเลมนี้จดั ทําขึ้นเพื่อประกอบการฝกอบรมหลักสูตรยกระดับฝมือ สาขาชางเขียนแบบดวย
คอมพิวเตอร AutoCAD 3D Modeling เปนแบบฝกหัด มีคําอธิบายการใชคําสั่งตางๆในโปรแกรม
AutoCADวิธที ําผลิตภัณฑเซรามิก ผลิตภัณฑไมแปรรูป ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม
และงานสถาปตย
สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10ลําปาง หวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารประกอบการฝกชุด
นี้ จะทําให ผูร ับการฝกอบรบ ไดความรูทกั ษะในการฝกอบรม หลักสูตรยกระดับฝมือ และให
ประโยชนแกผูที่สนใจทั่วไปไดเปนอยางดี

นายชุติพนธ สวิง
สารบัญ
หนา
คํานํา

AutoCAD 3D Modeling 1

การทํากระบะ 12

การทําแจกัน 16

AutoCAD กับงานเครื่องกล 21

การทําถวยกาแฟรูปโคง 31

การทําเพลา 41

งานทําทอ 47

การทําเหยือกน้ํา 56

การทําแจกันสีเ่ หลี่ยม 62

การทําที่เขี่ยบุหรี่ 71

การทํางานไม 78

งานประกอบชุด Gear Box 86


เอกสารอางอิง

N R Automation Systems Co., Ltd


1

AutoCAD 3D Modeling
การปรับแตงในการทํางานของโปรแกรม AutoCAD
เริ่มตนการเปดโปรแกรมหนาตา ของ AutoCAD จะเปน 2D Drafting & Annotation

การวางคําสั่งตาง ๆ จะไมเหมือน Version เกาๆ รูปแบบตางๆก็จะเปลีย่ นไป แตคําสั่งพื้นฐานยังคงอยู

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


2

การปรับคําสั่งในรูปแบบ การทํางาน3 มิติ


คลิกที่ ปุม Workspace Switching ดานลางขวามือ
เลือก 3D Modeling

เลือกแบบ AutoCAD Classic รูปแบบ จะเหมือน Version เกา ที่เราเคยใช

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


3

เริ่มตนการใชโปรแกรม AutoCAD เปดหนาใหม คลิกที่ New


เลือกหนวยวัด

เปลี่ยนมุมมองแบบ3มิติ แลวใสสี คลิกที่ Visualize เลือก Realistic ใหสเี หมือนจริง


คลิกที่ รูปบาน เลื่อนเมาสไปมาที่ดานบนขวามือพื้นที่เขียนจะปรับมุมมองเปน Perspective ดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


4

เริ่มใชคําสั่งสําเร็จรูป 3D Modeling Box คลิกที่ปุมสามเหลี่ยม เลื่อนลงคลิกคําสั่ง Box


ใสคาCenter ในการวาง 0,0 แลว Enter ใสคากวางยาว 100,100 Enter ใสคาความสูง 50 Enter
ดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


5

การใชกลุมคําสั่งสําเร็จรูปที่เหลือ ในการใหขนาดก็จะเหมือนกัน แตกตางกันที่รูปทรง


รูปทรงกระบอกคลิกคําสั่ง Cylinder คลิกวางจุดศูนยกลาง ใสคารัศมี Enter ใสคาความสูง Enter

ในการเปลี่ยนสีบนชิ้นงาน ดะเบิ้ลคลิกที่ชนิ้ งาน


แลวเลือกชอง Color ดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


6

กลุมคําสั่งชวยในการทํา 3D Modeling

คําสั่ง Extrude การยืด กอนใชคําสั่งตองสรางเสน2มิติกอน คลิกเสน ลากขึ้นดังรูป

Solid

Surfaces

คําสั่ง Revolve
คลิกเสนที่วาด Enter คลิก จุดหมุน
บน-ลาง Enter

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


7

คําสั่ง Sweep คลิกที่เสน Sketch หนาตัด Enter แลวคลิกเสน Sketch ทางวิ่ง Enter

คําสั่ง Loft คลิกที่ เสน Sketch ทั้งหมด Enter เลือก Cross sections only คลิก OK

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


8

คําสั่ง Press/Pull คลิกเสน Sketch แลวลากเมาสขึ้น ใหคา Enter

คําสั่ง Planar Surface คลิกจุดวางใหคา X,Y Enter

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


9

คําสั่ง Poly Solid คลิกขวาเพื่อแกไขความสูงและความหนาแลวคลิกทีป่ ลายเสนSketch


ทุกจุด Enter ดังรูป

คําสั่งแกไข ในการออกแบบงาน3มิติ
คําสั่ง Fillet เปนการลบมุมใหโคงมน
คลิกคําสั่งคลิกขวา เลือกRadius ใสคา Enter คลิกที่มุมชิ้นงานที่เปน Solid แลว Enter ดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


10

คําสั่ง Chamfer เปนคําสั่งลบมุมตรง


คลิกคําสั่งคลิกขวา เลือก Distance ใสคา ทั้ง2 Distance Enter คลิกที่ขอบชิ้นงาน

กลุมคําสั่ง Solid Editing


คําสั่ง Shell เปนคําสั่งในการขุดผิวเปดออก
คลิกคําสั่ง คลิกที่ขอบชิ้นงาน คลิกผิวหนาที่ตองการเปด Enter ใสคาความหนาจากขอบเขาดานใน Enter
ดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


11

คําสั่ง Union เปนคําสั่งใหชนิ้ งานที่เปน Solid หลายชิ้น รวมเปนเนื้อเดียวกัน


คลิกคําสั่ง แลวเลือกคลิกชิ้นงานทั้ง2ชิ้น Enter ดังรูป

คําสั่ง Subtract เปนคําสั่งตัดชิ้นที่ทับกันออก


คลิกที่คําสั่ง คลิกชิ้นงานที่ตอ งการเอาไว Enter แลวคลิกชิ้นงานที่ตดั ออก Enter ดังรูป

คําสั่ง Intersect เปนคําสั่งที่เนื้อชิ้นงานทั้ง2ชิ้นทับกันคงไว


คลิกคําสั่ง แลวเลือกคลิกชิ้นงานทั้ง2ชิ้น Enter ดังรูป

คําสั่งในการแกไข Solid ยังมีอีกมาก ที่เขียนตัวอยางมานีเ้ ปนคําสั่งหลักๆในการออกแบบงาน3มิติ

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


12

การทํา กระบะ

1. เริ่มตนดวยการ Sketch 2D เขียนรูปสี่เหลี่ยมผื่นผา โดยคลิกที่ไอคอน Rectangle แลว กําหนด


ขนาด โดยใหความกวาง 80 มิลลิเมตร และความยาว 160 มิลลิเมตร ใหไดตามรูปที่ 2-1

รูปที่ 2-1

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


13

2 . คลิกที่ไอคอน SE Isometric เพื่อเปลี่ยนมุมมอง3มิติแลวคลิกที่ไอคอน Extrude


แลวคลิกรูปสี่เหลี่ยม คลิกแลว กด Enter ดังรูปที่ 2-2

รูปที่ 2-2

3 . แลวคลิกที่ Taper Angle ใสคามุม Taper Angle 30 องศา และคา Extrude -30 มิลลิเมตร แลว
กด Enter ดังรูปที่ 2-3

รูปที่ 2-3
4 . จะไดดังรูปที่ 2-4

รูปที่ 2-4
ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง
14

5 . คลิกที่ไอคอน Fillet เพี่อมนคมรัศมี 5 ที่ขอบปากดานขางและดานลาง ทั้ง 8 ขอบแลว


คลิก Enter ตามรูปที่ 2-5

รูปที่ 2-5
6 . จะไดดังรูปที่ 2-6

รูปที่ 2-6

7 . คลิกที่ไอคอน Conceptual Visual Style เพื่อทําการใสสีในรูปแบบของภาพสามมิติ


ตามรูปที่ 2-7

รูปที่ 2-7
ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง
15

8 . คลิกที่ไอคอน Shell ดานบนของกระบะเพื่อขุดดานในใหมีความหนาเทากันทุกดาน


เทากับ 2 คลิกขอบชิ้นงานและคลิกดานบนที่ตองการเปดออก ตามรูปที่ 2-8

รูปที่ 2-8
9 . จะไดดังรูปที่ 2-9

รูปที่ 2-9

10 . ทําการลบมนใหกับขอบชิ้นงานหนวยเทากับ 1 และใสสีตามตองการ ดังรูปที่ 2-10

รูปที่ 2-10
ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง
16

การทําแจกัน

1. เริ่มตนเขียนเสน2มิติ โดยใชคําสั่งLine และArc รูปที่เปนหนาตัดของแจกันนี้ขึ้นมา


กอน ตามขนาดที่กําหนดใหดังรูป

รูปที่1.1

2 . ใชคําสั่ง Region คลิกคลุมชิ้นงานทั้งหมดเพื่อที่จะทําใหเปนเนื้อเดียวกัน

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


17

3. ใชคําสั่ง Revolveโดยไปคลิกที่ไอคอน แลวคลิกเสนแกนทีเ่ ปนศูนยกลางในการหมุน แลว


คลิกขวาหรือ Enter จากนัน้ คลิกปลายเสน ที่เปนจุดหมุน 2 จุด บนลาง Enter ดังรูป

รูปที่1.2 รูปที่1.3

4. สรางเสน 2 มิติ ขึ้นมาเพื่อ ตัดสวนปลายของดานปากแจกันใหมคี วามโคงเอียงตามความตองการ


จากนั้นใชคําสั่ง Region. เสนที่วาดใหเปนเนื้อเดียวกัน

รูปที่1.4

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


18

5. ใชคําสั่ง Extrude เพื่อยืดเสน2มิตอิ อก แลวคลิกขวาแลวกําหนดขนาด ใหมากกวาปาก


แจกันแลว Enter จากนัน้ ใชคําสั่ง Extrude faces เพื่อยืด ออกอีกขาง

รูปที่1.5

6. ใชคําสั่ง Subtract ตัดสวนที่ไมตอ งการออกไป นําเมาสไปคลิกที่ตัวชิ้นงานแลวก็คลิก


ขวาแลว จากนั้นก็ไปคลิกสวนที่ไมตองการแลวก็คลิกขวา Enter สวนที่ไมตองการก็ถูกตัดออกไป
ตามรูป

รูปที่1.6

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


19

7. Sketch เพื่อตัดชองตรงกลางแจกันใหมสี วนโคงตามตองการโดย ใชคําสั่ง ทําวงรี


ใชคําสั่ง Extrude เพื่อยืด คลิกที่วงรี แลวกําหนดขนาดใหยาวกวาแจกัน แลวEnter จากนั้น Extrude
facesบอกขนาดใหยาวกวาแจกัน ใชคําสั่ง Subtract โดยนําเมาสคลิกที่วัตถุที่ตองการเอาไว แลว
คลิกขวา Enter จากนัน้ ก็นําเมาสไปคลิกที่วัตถุ สวนที่ไมตองการออกไป เมือ่ กด OK แลว
โปรแกรมจะทําการตัดชองตรงกลางออกตามรูป รูปที่ 1.8

รูปที่1.7

8 . ลบคมรัศมี 5 ที่ขอบดานใน โดยใชคําสั่ง Fillet คลิกขวาเปลี่ยนคาเทากับ5 ดังรูป

รูปที่1.8 รูปที่1.9

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


20

9. เปดหนาแจกันดานในใหมีความหนาเทากันทุกดาน โดยใชคําสั่ง Shell คลิกที่ขอบ


แจกัน คลิกทีป่ ากดานใน คลิกขวา ใสคาความหนาเทากับ1 ตามรูป 1.12

รูปที่ 1.11 รูปที่1.12


10. ลบคมรัศมี เทากับ 0.5 ที่ขอบของปากแจกันดานนอก ขอบดานในของแจกันเทากับ 0.25 โดย
ใชคําสั่ง Fillet

11. ขั้นตอนสุดทายกําหนดสีของแจกันตามความตองการ
โดยใชคําสั่ง Color Faces ดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


21

AutoCAD กับงานเครื่องกล

1.เริ่มตนดวยการสราง 4 เหลี่ยมที่มีขนาด 100x80 ดวยคําสั่ง Rectangle

2. เปลี่ยนมุมมองเปนภาพ ISOMETRIC ดวยคําสั่ง SE Isometric (บน ICON View)

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


22

3. Extrude รูปสี่เหลี่ยมดังกลาวใหมีความสูง 20 โดยการใชคําสั่ง Extrude บน ICON Modeling


คลิกตรงขอบแลว Enter พิมพขนาดเทากับ 20 แลว Enter อีกครั้งดังรูป

4. เมื่อไดกลอง 4 เหลี่ยมทีม่ ีขนาด 100x80x20 ทําการสราง สี่เหลี่ยมที่มีขนาด 60x20 ดานบนของ


กลอง สี่ เหลี่ยมดังกลาวจาก เสน Line ขึ้นมาตามรูปแลวทําการOffsetโดยการคลิกคําสั่งOffset
แลวพิมพ 10 เสร็จแลว Enter คลิกตรงเสนที่ทําการ Offset เสร็จแลวคลิกวางดานใดดานหนึ่งที่ตองการ
จะ Offset ออกไปหลังจากนั้นใชคําสั่ง Trim เพื่อสราง 4 เหลี่ยมขึ้นมาโดยการคลิกคําสั่งTrim คลิก
เสนที่ตองการเก็บไวเสร็จแลว Enter แลวก็คลิกตรงเสนที่ตองการTrim ออก ดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


23

5. เมื่อไดรูป 4 เหลี่ยมจากนั้นทําใหรูป 4 เหลี่ยมรวมเปนเนื้อเดียวกันโดยใชคําสั่ง Regionโดยการคลิก


คําสั่งแลว Region เสร็จแลวคลิกเสนที่จะทําการ Region จากนั้นEnter เสร็จแลวทําการExtrudeให4
เหลี่ยมดังกลาวสูงขึ้นไปเทากับ 60 คลิกคําสั่งExtrude คลิกตรงขอบ 4 เหลี่ยมที่ทําการRegion เสร็จ
แลว Enter พิมพ 60 เสร็จแลว Enter อีกครั้ง

6. รวมทั้ง 2 สวนเขาดวยกันโดยคําสั่ง Union คลิกคําสั่ง Union แลวคลิกวัตถุทั้ง 2 จากนั้นEnter

7. เจาะรูเสนผานศูนยกลางเทากับ 35 โดยการสรางวงกลมดวยคําสั่ง Circle กอนที่จะสรางวงกลมใหทํา


Mark โดยคําสั่ง Lineโดยคลิกคําสั่ง Line เสร็จแลวคลิกตรงจุด Midpoint ดังรูป แตจะตองสรางจุด
Origin ใหม ขึ้นมากอนเพื่อจะวงกลมในระนาบนั้นๆ ไดจากคําสั่ง 3 Point โดยการคลิกคําสั่ง 3 Point
จากนั้นคลิกตรง Mark จากนั้นคลิกขึ้นไปดานบนและขวาใหไดออกมา
ตามรูป เริ่มสรางวงกลมขนาดเสนผานศูนยกลาง 35 โดยการคลิกคําสั่ง Circle เสร็จแลว
คลิกตรงจุด Origin ที่สรางขึ้นมา คลิกขวาเลือก Diameter พิมพ Diameter เทากับ 35 เสร็จแลว
คลิกคําสั่ง World เพื่อยกเลิกจุด Origin จากนั้นทําการลบเสน Mark

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


24

8.เจาะรูวงกลมเริ่มจากทําการ Extrude วงกลม Z เทากับ 30 เสร็จแลวทําการ ตัดออก โดยการเลือก


คําสั่ง Subtract คลิกเลือกชิ้นที่ตองการเก็บไวเสร็จแลวEnter จากนั้นคลิกเลือกชิ้นที่ไมตองการเก็บ
ไว (วงกลลม) เสร็จแลวEnter อีกครั้ง

9. Fillet รัศมี 10 ที่ขอบวัตถุทั้งหมด 6 ขอบ เริ่มใหเลือกคําสั่ง Fillet จากนั้นคลิกขวาเลือกRadius


พิมพ 10 เสร็จแลว Enter แลวเลือกขอบที่ตอ งการ Fillet ทําการ Enter อีกครั้ง คําสั่งถามวาตอง
การ Fillet 10 อีกหรือไม Enter จากนั้นเลือกขอบที่เหลือเสร็จแลว Enter จะไดดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


25

10. Fillet รัศมี 5 (ทําตามหัวขอที่ 9 การFillet) จะไดดังรูป

11.เจาะรู Diameter10 จํานวน 2 รู เริ่มตนดวยการเลือกคําสั่ง Circle จากนั้นคลิกเลือกตําแหนง


Center ของตําแหนงที่ตองการเจาะรู ดังรูป (จากขอบทั้ง 2 ดานเขาไปดานละ 10) เริ่มจากทําการ
Extrude วงกลมสูงเทากับ-30 เสร็จแลวทําการSubtractโดยเลือกคําสั่ง Subtract
จากนั้นคลิกเลือกชิ้นที่ตองการเก็บไวเสร็จแลวEnter จากนั้นคลิกเลือกชิ้นที่ไมตองการเก็บไว (วงกลม)
เสร็จแลวEnter อีกครั้ง ไดดงั รูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


26

12. เจาะรู Diameter 6 จํานวน 2 รู (ตามหัวขอที่ 11) จะไดดังรูป

13. เจาะรู Diameter 12 จํานวน 2 รู ตําแหนงที่เจาะรู Diameter 6 โดยที่เจาะลึกลงไปเทากับ 4


เริ่มตน เลือกคลิกคําสั่ง Circle จากนั้นคลิกตรงจุด Center รวมกับ Diameter 6
เสร็จแลวทําการ Extrude เลือกคลิกคําสั่ง Extrude คลิกขอบวงกลมทีต่ องการ
เสร็จแลว Enter พิมพ -4 เสร็จแลว Enter อีกครั้ง

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


27

14. ทําการ Subtract โดยเลือกคําสั่ง Subtract จากนั้นคลิกเลือกชิ้นที่ตอ งการเก็บไวเสร็จแลวEnter


จากนั้นคลิกเลือกชิ้นที่ไมตองการเก็บไว (วงกลลมที่สรางขึ้นมากอนหนานี้) เสร็จแลวEnter อีกครั้ง ได
ดังรูป

15. กําหนด Origin ขึ้นมาใหมเพื่อทํารองแบบ T จากนัน้ ใชคําสั่ง Line สรางเสนอางอิงขึ้นมาดังรูป


ใชคําสั่ง Offset เพื่อสรางรูปตัว T ทําการOffset เสนอางอิงในแนวนอนแกนX จํานวน 2 เสนระยะหาง
เทากับ 6 เลือกคําสั่ง Offset พิมพ 6 Enter คลิกตรงเสนที่ทําการ Offset เสร็จแลวคลิกวางดานใด
ดานหนึ่งที่ตองการจะ Offset ออกไปในทีน่ ี้ Offset ขึ้นไปดานบน เสร็จแลวทําการOffset เสนอางอิงใน
แนวตั้งแกนY Offset ออกไปขางละ 10 และ 3 ทั้งสองขางจากนั้นทําการTrim ใหเปนรูปตัว T ตอ
เสนดานลางออกมาพอสมควรดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


28

16. รวมรูปแบบ T เปนชิ้นเดียวกันโดยใชคําสั่ง Regionโดยการคลิกคําสั่ง Region เสร็จแลวคลิก


เสนที่ตองจะทําการ Region จากนั้นEnter เสร็จแลวทําการExtrude ความสูงเทากับ 40 เริ่มตน
คลิกเลือกคําสั่ง Extrude คลิกเลือกขอบรูปตัว T เสร็จแลว Enter พิมพ 40 Enter อีกครั้ง
จากนั้นทําการ Subtract ในการทํารองรูปแบบ T โดยเลือกคําสั่ง Subtract จากนั้นคลิกเลือกชิ้นที่
ตองการเก็บไวเสร็จแลวEnterจากนัน้ คลิกเลือกชิ้นที่ไมตอ งการเก็บไว (รูปตัว T) Enter
อีกครั้ง จะไดรอง แบบตัว T

17. สรางรอง 4 เหลี่ยมขนาด 20x 10 ดานขางเพื่อเจาะทะลุ ระยะหางจากขอบดานหลังถึงขอบรอง


4 เหลี่ยมมีระยะหางเทากับ 25 เริ่มตนดวยการสรางจุด Origin ขึ้นมาใหม (คลายหัวขอที่ 7)
จากนั้นใชคําสั่ง Line ทําเสนอางอิงขึ้นมาสองเสนจากนัน้ ทําการ Offset ใหไดตามคาทีร่ ะบุไว
ขางตน

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


29

18. ทําการ Trim เปนรูป 4 เหลี่ยมที่กําหนดตอเสนออกไปเล็กนอยใหปลายเสนตอชนกัน


จากนั้นทําการ Region เมื่อ Region เสร็จแลวทําการ Extrude ที่ความสูง120
เสร็จแลวทําการ Subtract ก็จะไดรอง 4 เหลี่ยมขนาด 20x10 ขึ้นมา

19. ลบขอบของวงกลมและขอบฐานดานบน ดวยคําสั่ง Chamfer คลิกเลือกคําสั่ง Chamfer คลิก


ขวาเลือก Distance เสร็จแลวพิมพ 1 Enter คําสั่งจะถามหา Distance อีกครั้ง พิมพ 1 Enter
อีกครั้ง เสร็จแลวเลือกขอบที่ตองการ Chamfer เลือกไดแลวคลิก Okเลือกเสร็จแลวยืนยันคําสั่งอีกครั้ง
หลังจากนัน้ เลือกขอบที่ตองการ Chamfer เลือกเสร็จแลว Enter

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


30

20. เปลี่ยนสีดวยคําสั่ง Conceptual Visual Style โดยคลิกเลือกที่ Conceptual Visual Style จะได
ดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


31

การทําถวยกาแฟรูปโคง

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


32

1. ใชคําสั่ง Lineสรางเสนตรง โดยคลิกที่ไอคอน เพือ่ สรางเสน X=27mm.,Y=120mm. ดังรูป

2.จากนั้นใชคําสั่ง Arc โดยคลิกที่ไอคอน Start End Radius


เพื่อสรางเสนโคง รัศมี 150 โดยคลิกที่ปลายเสนทั้งสองขาง แลวใสขนาดจะไดรูปดังนี้

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


33

3 . Offset โดยคลิกที่ไอคอน แลวใสคา40 คลิกที่เสนโคงคลิกคําสั่ง Cricleโดยคลิกที่ไอคอน


สรางวงกลมDiameter 80mm. จะไดรูปดังนี้

4. คลิกคําสั่ง Sweep โดยคลิกที่ไอคอน แลว คลิกวงกลมแลวEnter จากนั้นคลิกเสนที่เรา


Offset ออกไป40mm.ก็จะไดรูปดังนี้

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


34

5. คลิกคําสั่ง Rectangleโดยคลิกที่ไอคอน สรางสี่เหลี่ยมออกมาทั้ง 2 ดานของเสนโคงที่เรา


สรางขึ้นครั้งแรกดังรูป

6.จากนั้นคลิกคําสั่งFree Orbitโดยคลิกที่ไอคอน หมุนหามุมมองกอนการ Extrube

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


35

7. คลิกคําสั่ง Extrude โดยคลิกที่ไอคอน ยืดสี่เหลี่ยมทั้ง2 ออกขางละ 50mm โดยเมื่อคลิก


Extrudeแลวใหคลิกสี่เหลี่ยมทั้ง 2 แลวEnter ใสยาว 50mm. แลวEnter จะไดดังรูป

เสร็จแลวคลิกคําสั่ง Free Orbit โดยคลิกทีไ่ อคอน เพื่อหมุนไปใหคลิกดานที่ตอ งการไดงาย

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


36

8. คลิกคําสั่ง Extrude faces โดยคลิกที่ไอคอน เพือ่ ตอสี่เหลี่ยมทั้ง 2 ออกมาอีก 50mm. โดย


คลิกดานที่เราจะตอแลวEnter ใสคาความยาวไป 50mm. ตอจากนั้นจะมีใหใสชองหนึ่งใหใส 0 แลวEnter
ก็จะไดดังรูป

9. คลิกคําสั่ง Sudtract โดยคลิกที่ไอคอน แลวคลิกสวนที่เรา Sweep กอนแลวEnter แลวคลิก


สี่เหลี่ยมทั้ง 2 แลวEnter ชิ้นงานจะถูกตัดออกดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


37

10.คลิกคําสั่ง Realistlc Visual Style โดยคลิกที่ไอคอน เพื่อ ใหภาพดูทึบ ดังรูป

11. คลิกคําสั่งFillet โดยคลิกที่ไอคอน แลวคลิกขวาเลือกRadius ใส ารัศมีมนคมเทากับ 3 มนคมที่


ขอบดานลาง ดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


38

12.ทําใหผิวทุกผิวมีความหนาเทากัน เทากับ 2 และเปดผิวดานบนทีไ่ มตองการออกดวยโดยใชคําสั่ง


Shell คลิกที่ไอคอน การ Shell ตองคลิกตัวชิ้นงานกอนแลวคลิกหนาตัดที่จะ Shell แลว Enter
ใสคาความหนาลงไป แลว Enter อีกครั้ง ก็จะไดดังรูป

13.ลบคมที่ขอบดานบน ทั้งขอบในและขอบนอก กําหนดรัศมีการมนคมเทากับ 1 จะไดดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


39

14. ก็ถึงขั้นตอนการทําหูจับของแกว โดยการคลิกที่ไอคอนTop และคลิกไอคอน


2D Wireframe ปรับมุมมองเพื่อจะมองไดชัดและเขียนงายขึ้น ตอมาก็ใชคําสั่ง Line เขียนเสนจาก
ปลายเสนดานบนไปตามแบบ 3.50mm. และตอลงอีก55.50mm. และเขียนวงกลมทีป่ ลายเสน
Diameter 36 mm. และ Diameter 45 mm. ดังรูป

15. ทําการTrim สวนที่ไมตอ งการออก และลบเสนที่ไมเกี่ยวออกใหหมด จากนั้นใหคลิกที่ไอคอน


Region แลวไปคลิกทีเ่ สนที่ทําการTrim เรียบรอยแลว Enter อีกครั้ง จากนั้นก็ทําการ Extrude
เหมือนกับขัน้ ตอนที่10และ11 แต Extrudeออกขางๆละ 5mm. แลวก็ทาํ การUnion หูจับกับตัวแกวให
เปนชิ้นเดียวกันโดยคลิกที่ไอคอน แลวคลิกที่แกวแลวหูจับ Enter อีกที ก็จะไดดงั รูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


40

สุดทายลบคมที่ขอบมือจับใหเรียบรอยสวยงามและปรับแตงสีตามตองการ การใสสีดา นในและนอกและ


ที่มีละเอียดคลิกที่ไอคอนColor faces โดยคลิกสวนที่ตองการแลว Enter ใสสีที่ตองการแลวคลิก
OK ดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


41

การทําเพลา

การทําเพลานี้ ทําได 2วิธี วาดตามแบบ ตัดครึ่ง แลวใชคําสั่ง Revolve วิธีที่2 ทําขั้นตอนดังนี้


1. สรางวงกลมขึ้นมาโดยใชคําสั่งCircle เ สนผานศูนยกลาง เทากับ 16

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


42

2. ใชคําสั่ง Extrude คลิกที่เสนของวงกลม แลวใหมคี วามยาวเทากับ 40

3. สรางวงกลมขึ้นที่ทายแกน ใชคําสั่ง Circle เสนผานศูนยกลางเทากับ 20 แลว ใชคําสั่ง


4. Extrude ตอขึ้นไปโดยใหความยาวเทากับ 77

5. จากนั้นใหสรางวงกลม โดยใชคําสั่งเดิม แตมีขนาดเสนผานศูนยกลางเทากับ 24 แลวใชคําสั่


Extrude โดย ใหความยาวเทากับ 23 ดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


43

6. ลบเหลี่ยมตรงใชคําสั่ง Chamfer หัวเพลา และ ทายเพลา ใหขนาดเทากับ 2x45˚ ทั้ง 2 ดาน

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


44

7. ทําลองลิ่ม โดยยายจุด Origin ใชคําสั่ง 3Point คลิกที่ มุมของเพลง 3จุด

8. จากนั้นใหเขียน วงกลมขึ้นมา 2 วง มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 5 ระยะหางระหวางวงกลมวัดจากจุด


ศูนยกลางของวงกลมทั้ง 2 เทากับ 13 สวนวงกลมลูกที่ 1 ใหมีระยะหางจาก หัวเพลา เทากับ 17

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


45

9. สรางเสนตรงไวที่ 2 ขางของวงกลม ใชคําสั่ง Trim ลบ เสนภายในออกดังรูป

10. รวมเสน ทีเ่ ราเขียนเปนเนื่อเดียวกัน ดวยคําสั่ง Region คลิกที่เสนทุกเสน แลว Enter

11. ใชคําสั่ง Extrude ทับตัวเพลา ความลึกเทากับ 5 mm คลิกที่เสนที่เขียนไว Enter ใสคา


เทากับ 5 ลากลง แลว Enter

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


46

12. ตัดตัวลิ่มที่ Extrude ออกโดยใชคําสั่ง Subtract แลว คลิกที่ ตัวเพลาแลว Enter แลวคลิกที่ ตัว
ลิ่ม แลว Enter แลวจะได แบบเพลา ดังภาพ

13. รวมเนือ้ ชิ้นงานทั้งหมดใชคําสั่ง Union คลิกครอบชิ้นทั้งหมดแลว Enter

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


47

การทําทอ Pipe

1. เริ่มตนโดยการเขียนชิน้ งานเปนรูปหนาตัดของทอกอนโดยใชคําสั่ง line และกําหนดขนาดให


ไดดังรูปที่ 1.1

รูปที่ 1.1

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


48

2. ทําการประสานเสนโดยใชคําสั่ง Region คลิกที่เสนที่ตองการ Region แลว Enter เมื่อทําการ


Region แลวลองเช็ดดูใหไดดังรูปที่ 1.2

รูปที่ 1.2

3. เมื่อทําการRegion แลว ใหใชคําสั่ง Revolve โดยการเลือกคลิกที่ชิ้นงานแลว Enter แลวจึง


เลือกจุดอางอิง2จุดบนลาง 360องศา Enter ดังรูปที่ 1.3

รูปที่ 1.3

จะไดรูปที่ Revolve แลวดังรูปที่ 1.4

รูปที่ 1.4

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


49

4. สรางหนาตัดทอแยกตรงกลางของชิ้นงาน ดวยคําสั่ง line ใหมีขนาดดังรูป 1.5 เพื่อใหงายตอ


การ Sketch

รูปที่ 1.5

5. เมื่อ Sketch เสร็จแลวทําการประสานเสนโดยใชคําสัง่ Region จากนั้นทําการ Revolve โดยใช


คําสั่ง Revolve ที่ชิ้นงานเหมือนขั้นตอนขางตน จะไดดังรูปที่ 1.6

รูปที่ 1.6

6. ทําการประสานชิ้นงาน3มิติ ทั้ง 2 ชิ้น เขาดวยกัน โดยใชคําสั่ง Union คลิกชิ้นที่ตองการ


จะไดลักษณะดังรูปที่ 1.7

รูปที่ 1.7

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


50

จากนั้น Enter แลวลองใสเฉดสีดูโดยคลิกที่คําสั่ง Realistic visual style จะไดดังรูปที่ 1.8

รูปที่ 1.8
เมื่อจะกลับรูปลายเสน ใหคลิก 2D Wireframe
7. เขียนวงกลมหนาตัดเสนผานศูนยกลาง เทากับ 80 มม. ภายในของทอ โดยการกําหนดจุด Origin
ตรงกลางจุด Canter ของหนาตัดเพื่อที่จะทําการเจาะรูใหไดลักษณะดังรูปที่ 1.9

รูปที่ 1.9

8. ทําการ Extrude เสนหนาตัดโดยใชคําสั่ง Extrude คลิกเลือกเสนหนาตัด ใหมีความยาว


เทากับ 175 แลว Enter จะไดดังรูปที่ 1.10

รูปที่1.10

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


51

9. ทําการ Extrude เสนหนาตัดตามแบบ ของทออีกดานหนึ่งซึ่งจะใช หลักการทําเหมือน


ขั้นตอนที่8โดยใชคําสง Extrude หนาตัดใหมีความยาวเทากับ 360 แลว Enter จะไดดังรูปที่ 1.11

รูปที่ 1.11

10. ทําการ Subtraet เพื่อเจาะรูภายในของทอ โดยใชคําสั่ง Subtraet เลือกคลิกชิ้นงานที่ตองการ


เอาไวกอน Enter จากนั้นเลือกคลิกเสนหนาตัด ที่ตองการตัดออก Enter จะมีลักษณะดังรูปที่ 1.12

รูปที่ 1.12

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


52

เมื่อทําการ Subtraet เสร็จลองใสเฉดสีดูโดยคลิกที่คําสั่ง Realistic visual style จะลักษณะดังรูปที่


1.13

รูปที่ 1.13

11. เมือลองดูเฉดสีแลววาทําถูก ก็ทําขั้นตอนตอไป คือการเจาะรู ขนาด 19 ที่ทอทางแยกกอนโดยเริ่ม


จากการตั้งจุด Origin แลวสรางเสนอางอิง จากจุด Origin ขึ้นมา ใหมีความยาวเทากับ 80
พรอมกับสรางวงกลมขนาดเสนผานศูนยกลาง 19 ดังรูป 1.14

รูปที่ 1.14
12. จากนั้นใหใชคําสั่ง Extrude เสนวงกลม ใหมีความยาวเทากับ 20 เพื่อที่จะเจาะรู Nut ดัง
รูปที่ 1.15

รูปที่ 1.15

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


53

13. เมื่อ Extrude แลวใชคําสั่ง Arrey ชวยในการสรางรู Nut รอบทอทั่งหมด 8 ตัว โดยเริ่มดวยการ
ใชคําสั่ง 3D Arrey เลือกคําสั่งออกมาจากแทบเครื่องมือ เขาที่ Modify ตามรูปที่ 1.16

รูปที่ 1.16

เลือกคลิกเสนวงกลม Enter เลือก Pola คลิก Enter ใสจํานวน 8 คลิก Enter มุมการหมุน 360 องศาคลิก
Enter คลิก Yes เลือกจุดศูนยกลางของการหมุน จะไดตามรูปที่ 1.17

รูปที่ 1.1

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


54

14. ทําการ Subtraet เพื่อเจาะรูภายใน Nut โดยใชคําสั่ง Subtraet เลือกคลิกชิ้นงานที่ตองการ


เอาไวกอน Enter จากนั้นเลือกคลิกเสนหนาตัด ที่ตองการตัดออก Enter จะมีลักษณะดังรูปที่ 1.18

รูปที่ 1.18

เมื่อทําการ Subtraet เสร็จลองใสเฉดสีดูความถูกตองโดยคลิกที่คําสั่ง Realistic visual style จะลักษณะ


ดังรูปที่ 1.19

รูปที่ 1.19

15. เจาะรู ของทอตรงดานทีเ่ หลือดวย วิธีการขางตนโดยเริ่มจากการตั้งจุด Origin แลวสรางเสน


อางอิง จากจุด Origin ขึ้นมา ใหมีความยาวเทากับ 90 พรอมกับสรางวงกลมขนาดเสนผาน
ศูนยกลาง 19 แลว Extrude เสนวงกลม ใหมีความยาวเทากับ 20 ดังรูป 1.20

รูปที่ 1.20

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


55

16. ใชคําสั่ง 3D Arrey เลือกคลิกเสนวงกลม Enter เลือก Pola คลิก Enter ใสจํานวน 8 คลิก Enter มุม
การหมุน 360 องศาคลิก Enter คลิก Yes เลือกจุดศูนยกลางของการหมุนเลือกคลิกชิน้ งานที่ตองการ
เอาไวกอน Enter เสร็จแลวทําการ Subtraet เพื่อเจาะรูภายใน Nut โดยใชคําสั่ง Subtraet จากนัน้ เลือก
คลิกเสนหนาตัด ที่ตองการตัดออก Enter ตามขั้นตอนขางตน จะไดตามรูปที่ 1.21

รูปที่ 1.21

17. ทําการเจาะรูทออีกขางโดย ใชคําสั่ง 3D Arrey เลือกคลิกเสนวงกลม Enter เลือก Pola คลิก Enter
ใสจํานวน 8 คลิก Enter มุมการหมุน 360 องศาคลิก Enter คลิก Yes เลือกจุดศูนยกลางของการหมุน
เลือกคลิกชิ้นงานที่ตองการ เอาไวกอน Enter เสร็จแลวทําการ Subtraet เพื่อเจาะรูภายใน Nut โดยใช
คําสั่ง Subtraet จากนั้นเลือกคลิกเสนหนาตัด ที่ตองการตัดออก Enter ตามขั้นตอนขางตน จะไดตาม
รูปที่ 1.22

รูปที่ 1.22

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


56

การทําเหยือกน้ํา

รูป 8-1

1. เริ่มตนเขียนชิ้นงาน โดยเราจะเขียนเสน2มิติ ที่เปนหนาตัดของเหยือกน้ํานี้ขึ้นมากอนที่จะทําการ


Revolve โดยหนาตัดดังกลาวจะมีลักษณะตามรูป เมื่อเขียนหนาตัดออกมาไดเรียบรอยแลว กําหนดขนาด
ใหไดดังรูป 8-2

รูป 8-2

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


57

2. ใชคําสั่ง Region เพื่อทําการรวมเสนที่เขียนใหเปนเสนเดียวกันกอนโดยคลิกที่ จากนั้นกด


เมาสคางไวคลุมเสนที่วาดใหหมดและกด Enter จากนัน้ ใชคําสั่ง Revolve ซึ่งเปนคําสั่งสรางรูป
ทรงกระบอกจากหนาตัดที่เขียนขึ้นมา โดยใหคุณคลิกไอคอน แลวคลิกในชิน้ งาน Enter จากนั้น
ลากเมาสที่ชิ้นงาน 2 จุดเพื่อเปนแกนกลางในการ Revolve แลว Enter ใสองศา 360 องศา

รูป 8-3
3. ตัดสวนปลายของดานปากเหยือกน้ําใหมีความโคงเอียง โดยทําการเลือก 2D Wireframe เพื่อสะดวก
ในการมองภาพ จากนัน้ วาดเสน Line ปลายปากเหยือกน้าํ เพื่อตัดสวนปลายของดานปากเหยือกน้ํา ตาม
รูป 8-4

รูป 8-4

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


58

4. จากนั้นทําการ Extrude ออกมาหนึ่งขางกอน โดยคลิกที่ไอคอน คลิกตัวงานที่ทําการ


Extrude แลวกด Enter จากนั้นกําหนดขนาดเทาไหรกไ็ ดแตตองใหงานที่ Extrude มากกวาชิ้นงานตาม
รูป 8-5

รูป 8-5

5. จากนั้นทําการ Extrude Face อีกดานโดยกําหนดขนาดที่ยืดออกมาเทาไหรก็ได แตตองใหยืดเลย


ออกมาตามรูป 8-6 จากนัน้ ทําการ ตัดสวนปลายออกโดยใชคําสั่ง Subtract คลิกไอคอน
คลิกสวนงานที่เอาไวแลว Enter แลวคลิกสวนปลายที่จะตัดแลว Enter จะไดตามรูป 8-7

รูป 8-6

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


59

รูป 8-7

6. ทําใหเหยือกน้ํากลวงดานในใหมีความหนาเทากันทุกดาน เทากับ 1และเปดผิวหนาดานบนของปาก


เหยือกน้ําออกดวย โดยใชคําสั่ง Shell คลิกที่ไอคอน คลิกตัววัตถุแลวคลิกผิวตัดดานบนวัตถุแลว
Enter ใสขนาดเทากับ 1 แลว Enter จะไดตาม รูป 8-8

รูป 8-7 รูป 8-8

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


60

7.ใชคําสั่ง Line เพื่อเขียนทีจ่ บั ของเหยือกน้าํ ใหมีสวนโคงเวาตามตองการ โดยการเขียนที่จับ


เหยือกมา 1เสนกอน จากนั้นใชคําสั่ง Off Set โดยการคลิกที่ไอคอน ใสหนวยเทากับ 2 แลว
Enter คลิกลากเสนแลวทําการปดเสนที่หูจบั กับเหยือกน้ําจะไดตาม รูป 8-9

รูป 8-9

8.จากนั้นทําการ Extrude หูจับเหยือกน้ํามา 1 ขางกอนโดยกําหนดขนาดเทากับ 2.5 จะไดตาม


รูป 8-10

รูป 8-10

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


61

9. ทําการ Extrude Face หูจับของเหยือกอีกดานโดยกําหนดขนาดเทากับ 2.5 จะไดตาม รูป8-11


จากนั้นทําการรวมเนื้อของเหยือกน้ํากับหูจับเขาดวยกันโดยใชคําสั่ง Union คลิกไอคอน
ลากเมาสครอบวัตถุทั้งหมดแลว Enter

รูป8-11

10.ทายสุดลบคมใหกับหูจับเหยือกน้ําที่สรางขึ้นมาใหมใหสวยงามตามรูป 8-12 โดยใชคําสั่ง Fillet


คลิกไอคอน เมาสคลิกขวา Radial แลว Enter กําหนดขนาดเทากับ 2 Enter ลากเมาสคลิกที่
ขอบที่ตองการลบคมแลว Enter 2 ครั้ง จะไดตามรูป 8-12

รูป 8-12

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


62

การทําแจกันสี่เหลี่ยม

1. Sketch 2D เขียนรูปสี่เหลี่ยมที่เปนหนาตัดของแจกันขึ้นมา 1 รูป โดยคลิกที่ไอคอน Rectangle


แลว กําหนดขนาด โดยใหความกวาง 65 มิลลิเมตร และความยาว 70 มิลลิเมตร แลวสรางจุด Origin
ของรูปสี่เหลี่ยม ใหไดตามรูปที่ 1-1
จุด Origin

รูปที่ 1-1

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


63

2 . เขียนรูปสี่เหลี่ยมที่2 และกําหนดขนาด คลิกที่ไอคอน Rectangle แลว กําหนดขนาด โดยให


ความกวาง 24 มิลลิเมตร และความยาว 30 มิลลิเมตร แลวสรางจุด Origin ของรูปสี่เหลี่ยม ใหไดตาม
รูปที่ 1-2

รูปที่ 1-2

3 . เขียนรูปสี่เหลี่ยมที่3 และกําหนดขนาด คลิกที่ไอคอน Rectangle แลว กําหนดขนาด โดยให


ความกวาง 38 มิลลิเมตร และความยาว 45 มิลลิเมตร แลวสรางจุด Origin ของรูปสี่เหลี่ยม ใหไดตาม
รูปที่ 1-3

รูปที่ 1-3

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


64

4 . เปลี่ยนมุมมอง คลิกที่ไอคอน SE Isometric หมุน UCS X 90 องศา แลวคลิกที่ไอคอน


Line สรางเสนตรงจากจุด Origin ขึ้นไปตามแนวแกน Z ยาว 152 มิลลิเมตร ( กดF8ชวย)
ตามรูปที่ 1-4

รูปที่ 1-4

5 . แลวคลิกที่ไอคอน Move รูปสี่เหลี่ยมความกวาง 24 มิลลิเมตร และความยาว 30 มิลลิเมตร เขา


มาวางที่จุดเสน Endpoint ตามรูปที่ 1-5

รูปที่ 1-5

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


65

6 . เขียนเสนตรง คลิกที่ไอคอน Line สรางเสนตรงจากจุด Origin ขึ้นไปตามแนวแกน Z ยาว


202 มิลลิเมตร ตามรูปที่ 1-6

รูปที่ 1-6

7 . แลวคลิกที่ไอคอน Move รูปสี่เหลี่ยมความกวาง 38 มิลลิเมตร และความยาว 45 มิลลิเมตร เขา


มาวางที่จุดเสน Endpoint ตามรูปที่ 1-7

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


66

รูปที่ 1-7
8 . คลิกที่ไอคอน Erase ลบเสนที่ไมตองการออกใหหมด ตามรูปที่ 1-8

รูปที่ 1-8
9 . คลิกที่ไอคอน Loft แลวคลิกเลือกรูปสี่เหลี่ยมทั้งสามรูปแลว Enter แลวเลือก Cross-sections
only แลวคลิก OK ตามรูปที่ 1-9

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


67

รูปที่ 1-9

10 . คลิกที่ไอคอน Fillet เพี่อมนคมรัศมี12 ที่ขอบปากดานขาง ทั้ง 4 ขอบแลวคลิก Enter ดังรูปที่


1-10

รูปที่ 1-10

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


68

11 . คลิกที่ไอคอน Fillet เพี่อมนคมรัศมี 10 ที่ขอบปากดานลาง แลวคลิก Enter ตามรูปที่ 1-11

รูปที่ 1-11
12 . คลิกที่ไอคอน Conceptual Visual Style เพื่อทําการใสสีในรูปแบบของภาพสามมิติ ตามรูปที่
1-12

รูปที่ 1-12

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


69

13 . เปดผิวหนาแจกันออก คลิกที่ไอคอน Shell คลิกขอบแจกันแลวคลิกดานบนขางใน Enterให


ความหนา เทากับหนวยเทากับ 2 Enter ตามรูปที่ 1-13

รูปที่ 13

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


70

14 . ทําการลบคมใหกับขอบปากใหพอสวยงามและใสสีตามตองการ ดังรูปที่ 1-14

รูปที่ 1-14

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


71

การทําที่เขี่ยบุหรี่

1. เขียนวงกลมโดยการคลิกคําสั่ง Circle คลิกจุดใดจุดหนึ่งลากเมาส คลิกขวาและเลือกคําสั่ง


Diameter กําหนดขนาดเสนผานศูนย กลางเทากับ 80 มิลลิเมตร และEnter เพื่อทําการตกลง

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


72

2. เปลี่ยนมุมมองคลิกคําสั่ง SE ISOmetric เพื่อดูมุมมองเปน3มิติ

3. กําหนดความสูงใหกับวงกลมที่เขียนขึน้ มาเทากับ 30 มิลลิเมตร โดยคลิกที่เสนวงกลมและใช


คําสั่ง Ex trude จะไดรปู ทรงกระบอกกลมที่มีเสนผานศูนยกลางและความสูงตามที่
ตองการ

4. ลบคมทั้งบนลางคลิกไอคอน Fillet แลวคลิกขวาเลือก Radius ใสคา เทากับ 5 มม.แลวคลิกที่


ขอบของเสนวงกลมดานบนและดานลางจากนั้นทําการกด Enterเพื่อทําการตกลงคําสั่ง

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


73

5. ใชคําสั่งLine วาดเสนกวาง 12 ม.ม. ตามรูป

6. วาดวงกลม ใชคําสั่ง Circle ระยะของรัศมีเทากับ25 ม.ม.

7. ใชคําสั่ง Trim ตัดสวนที่ไมตองการออกตามรูป แลวรวมเนื้อเดียวกัน ใชคําสัง่ Region

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


74

8. เปลี่ยนมุมมอง Top View

9. คัดลอกรูปที่วาดเสร็จคลิกที่คําสั่งArray แบบ Polar เพื่อทําการคัดลอกใหครบทั้ง 3 อัน


โดยคลิกที่ Select objects และไปคลิกที่ตวั ชิ้นงานทีว่ าดไว กดEnter เพื่อเลือกชิ้นงานที่จะทําการ
คัดลอก จากนัน้ กําหนดจํานวนชิ้นงานทีT่ otal number of items เทากับ3 และกําหนดจุดศูนยกลางที่
จะทําการคัดลอก Center –pointเลือก ศูนยกลางที่เขี่ยบุหรี และกด OK เพื่อทําการตกลงจะไดทวี่ าง
บุหรี่ทั้ง 3 อันดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


75

10. ดูมุมมอง Isometric View

11. คลิกคําสั่งExtrud จากนั้นคลิกที่วาดไวทั้ง 3 อัน และกําหนดขนาดเพื่อทําการ Extrud


เทากับ ลบ 6 มิลลิเมตร Enter

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


76

12. ใชคําสั่ง Fillet เพื่อลบคมที่ขอบดานลางทั้ง 2 ขอบโดยใสคา Fillet เทากับ 6 มิลลิเมตร


ทั้ง3อันดังรูป

13. ตัดชิ้นงานทั้ง3ออก โดยใชคําสั่ง Subtract คลิกที่เขี่ยบุหรี่ แลว Enter คลิกงานที่ Extrud


ทั้ง 3อันแลว Enter ดังรูป

14. Fillet เสนขอบรองเทากับ 2.3 mm. ดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


77

15. ใชคําสั่ง Extrude Faces แลวคลิกที่วงกลมดานบนที่เขี่ยบุหรีโ่ ดยกําหนดระยะเทากับ


ลบ15 มิลลิเมตร ดังรูป

16. ใชคําสั่ง Shell เพือ่ ขุดดานในออก คลิกคําสั่งแลวคลิกที่เขี่ยบุหรี่ เลือกคลิกพื้นดานในทัง้ 2


ดาน Enter ใสคา เทากับ 2 Enter

ลบคม ขอบดานบนใหเรียบรอยใสสีตามใจชอบ
เปนอันวาเสร็จ ครับ

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


78

การทํางานไม (ที่เสียบของ)

1. ใชคําสั่ง Poly gon ทํารูป 3 เหลี่ยมหนวยเทากับ 142.56

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


79

2 .ใชคําสง Circle ทํารูวงกลม รัศมีเทากับ 60 3วงกลม ดังรูป

3. ใชคําสง Tan,Tan,Radius แลวคลิกทีว่ งกลมทีละ 2 วง โดยใช รัศมี 350 แลวทําให


คบทั้งสามดาน แลวใชคําสง trim ตัดเสนที่ไมตองการออกดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


80

4. ใชคําสงRegion เพื่อใหเสนทั้งหมดเปนเนื้อเดียวกันแลวใชคําสง Extude ขึ้น 15 mm

5. ใชคําสง Line เขียนเสนอางอิงทําเปนรูป3 เหลียม เพื่อจะหาจุดศูนยกลาง แลวสราง

รูป 6 เหลียมขนาด 92.60 โดยใชคําสง Polygon แลวใชคําสง Off set เขาขางใน 3 mm

6. ใชคําสง Extrude แลวคลิกรูป 6 เหลี่ยมทั้ง 2 รูป Extrude ขึ้นหนวยเทากับ 115 mm


แลวคลิกคําสง Subtract คลิกรูป 6 เหลี่ยมดานนอกกอนเพื่อตองการใหรูปนั้นอยู แลวคอยคลิก
รูปดานใน Enter ดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


81

7. ใชคําสง Circle ทํารูปวงกลม ในจุดศูนยกลางของรูป 6 เหลียม โดยใช รัศมี 75 mm แลวใชคํา


สง Extrude ลง -15 mm แลว ใชคําสง Subtract โดยเอา วงกลมขางในออก

8.ใชคําสง Se Iso matiric เพื่อเปลี่ยนมุมมองเปนรูป Iso แลวใชคําสง Union


แลวคลิกคลุมชิ้นงานทั้งหมด เพื่อใหชิ้นสวนทุกชิน้ มาเปนเนื้อเดียวกัน Enter

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


82

9. ใชคําสง 3D Miror แลวคลิกจุดที่เราตองการจะ Miror ใหคลิก 3 จุดแลวจะไดรูป


ชิ้นงานก็จะคัดลอกแบบกระจก

10. ใชคําสง Union ทําใหเปนเนื้อเดียวกัน


ทั้ง 2 ชิ้นดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


83

11. ใชคําสง Line สรางเสนอางอิงจากขอบ6เหลี่ยม ออกมา 60 mm


แลวใชคําสง Rectagle ทํารูปสี่เหลี่ยม ผืนผาขนาด 60x15 mm แลวใชคําสง Move ไปวาง
ที่ปลายเสนที่เราใชอางอิง

12. ใชคําสง Extrude ขึ้นไป 230 mm ดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


84

13. ใชคําสง Line สรางเสนอางอิงเพื่อทําจุดศูนยกลางของวงกลมจากนั้นสรางวงกลม โดยใช


คําสง Circle โดยใชรัศมี 45 mm ดังรูป

14. ใชคําสง Extrude เขาขาวในหนวยเทากับ 15 mm แลวใชคําสง Subtract


โดยเอาวงกลมขางในออกใหหมด

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


85

15. ใชคําสง 3D Array แลวคลิกชิ้นงานที่เราตองการจะ Array บอกจํานวนชิ้นงานที่ตองการ แลว


คลิก จุดศูนยกลาง 2 จุด บนและลาง Enter

16. ใชคําสง Union ทําใหเปนเนื้อเดียวกัน

17.ใชคําสง Fillet ลบเหลียมรัศมีเทากับ 5


เปนอันวาเสร็จครับ

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


86

งานประกอบ 3มิติ ชุด Gear Box


New AutoCAD เปนหนวยวัด Metric เลือกเมนู คลิก Insert คลิกBlock คนหาฐาน Gear Boxในแผน CD

จะปรากฎ ไดอะล็อกขื้นมา และคลิก OK

คลิกวางจุดใดจุดหนึ่ง แลวเปลี่ยนมุมมอง SE IsoMetric ดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


87

ใชคําสั่ง Insert Block คนหาชิ้นงานจนครบดังรูป

ใชคําสั่ง Move ในการยายชิ้นงาน คลิกขวาที่แถบเครื่องมือดานลาง Object Snap เลือกเอา Center


อยางเดียวดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


88

หมุนหนาจอทัง้ หมดโดยใชคาํ สั่ง Free Orbit ดังรูป

ยายรองเพลาใหรวมศูนยกับฐาน โดยใชคําสั่ง Move และ ใช Object Snap ตองรวมศูนยกนั ดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


89

ตรวจสอบความถูกตอง เปลี่ยนมุมมอง Top View คลิก 2D Wire Frane เอาสี่ออก

ควรตรวจสอบดูทุกมุมมองดังรูป

คัดลอกชิ้นฐานและรองเพลาแบบกระจก 3D Mirror ที่ Modify – 3D Operation – 3D Mirror

เปด Object Snap ใชงาน

คลิกคําสั่ง Mirror คลิกชิ้นงาน2ชิ้น Enter คลิกขอบของฐาน3จุด คลิก No ไมลบตนแบบ ดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


90

ใชคําสั่ง Move ยายเพลารวมศูนยกับรองเพลา ดังรูป

เปลี่ยนมุมมอง ใช Osap Center ยายลิ่มรวมศูนยกับรองลิ่มของเพลา ดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


91

ยายเฟองรวมศูนยกับเพลา

ตรวจสอบความถูกตองเปลี่ยนมุมมองเอาสีออกดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


92

ยายแหวน สลักเกลียว แปนเกลียว ใหรวยศูนยกับรูเจะของฐานดังรูป

คัดลอกใชคําสั่ง Copy คัดลอกแหวน แลวหมุนภาพดานหลังยายแหวนและแปนเกลียว ดังรูป

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


93

คัดลอกแหวน สลักเกลียว แปนเกลียวแลวยายรวมศูนยกบั รูที่เหลือของฐานดังรูป

ตรวจสอบความถูกตองเปลี่ยนมุมมอง

ชุติพนธ สวิง สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค10 ลําปาง


30
1 2 77
R1 10 15 17 18
35
0 A 2x45~

5
f 0.013 A
f 0.013 A
15

D R2.5 5 1.5 1.5


B

13
A
n1
0-3 1.5
H

n24
1.5
60

n16 B n20h7
B-B 40 2x45~

n60
n40
140

n28
n40
130
15

0.8 18
3 5

R2 R8
.5 Spur Gear

Module 3
25

n46.5
n54
n28

n60

18
Number of teeth 18
Reference Pitch
A 15 Dimeter 54

10
45
70
A-A Pressure angle 20
R3
b 0.013 D
28
H
2-2
n1 19
30

35
4 5
15 20
1.5
1.5 M10x1.5
15

18.5
R1

n28H8
0

n20
n38

15
C1x45~

°
16

30
n14.5
42
n1

6 7 8 13 0.8
M10x1.5 8 0
8

n1 C f 0.013 C
Designed by Checked by Approved by - date Filename Date Scale
.5
R2
18.5

Mr. Chonchet Kawin Mr. Somphong Swing 31/01/2007

สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค
Title:
n
5

14
16 .5 T=2 Edition Sheet
10 ลำปาง
DWG.No.
Gear Box 1/2
3.2 1.6 3.2 1.6 3.2
1 ( ) 2 ( ) R 4
4 18 37
R4
A-A ( 1 : 1 )
3H

0
A n

R1
10 10
R 10 92
1.6
พิมพลาย

23
f 0.02 B

15
3.2

15

M8x1
5 12
40

10
M12x1.5
D

105
100

16
80

+ 0.20
2H n10 - 0.00
18
4 5 1x45~
f 0.02 D
2 25
35
23

1.6

20
3
7 7
+ 0.20 M8x1
8 - 0.00 10

R1
°
18 8

27
A B R

15
0
20

DIN 934

n8 -
+ 0.01 3.2 3.2 7 2 นัต DIN 934 M8x1 ST 37
0.00 6 6 2 แหวน ST 37
M12x1.5 C1x45~ n
16
n
18 5 2 สลักเกลียว ST 37
มือ หมุน
n8
n10

4 1 ST 37
3 1 แกนเกลียว St 37
n
2 2 แขนจับ ST 37
8.
2 1 1 ฐาน St 37
8 4
ITEM QTY PART NUMBER STANDARD MATERIAL
16 T=1
r 1.002 C Parts List
C 105 Designed by Checked by Approved by - date Filename Date SCALE
119 1:1

125 3 สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน ยกระดับงานฝึกฝีมือ


ชุดถอดลูกปืน
Edition Sheet
ภาค10ลำปาง
R5
B-B ( 0.30 : 1 )

45

50
60
10

153

R1

R8
4 0

R8
0
n
30

R16
4 R112
R 122
R1
0 9

R154
B R99 B
R8
R8

Designed by Checked by Approved by - date Date

Administrator 29/1/2549

สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน
Edition Sheet
ภาค10 ลำปาง 1 / 1
1 3 3.2
124
D
57 50 10
25 0
30 6°
0' R1
0" พิมพลาย
8

n6
n11

n12

14
7

M6x1 - 6g
n6
C T=10
45~x2 B 3.5
4 f 0.1 D

4
1 1
3.5 1
3
R3
2
B (5:1)
C (4:1) 3
13.5 2
2 A
x1 - 6H
M6 3 ปากเปิด n30x12 mm. ST35 1

2 หัวขุนล็อด n12.7x25 mm. ST35 1

1 ดามจับ n 12.7x160 mm. ST35 1

A ชีนที รายการ ขนาดวัสดุ วัสดุ หมายเลขแบบ จำนวน


A-A ( 1.50 : 1 )
สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน ทีเปิดฝานำอัดลม
ภาค10ลำปาง
Edition Sheet
มาตราสวน 1.5:1 สงวนลิขสิทธิ 2535 /
R22
128 15
19
R
35

n10

75
1
1 R1
R1
15

40 40 25 20 60
130 100

Designed by Checked by Approved by - date Date

Administrator 1/27/2006

สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน
ภาค10ลำปาง งานไม
Edition
1
Sheet
/ 1
6.3 3.2 u n0.04 r 0.005 A
, M6x1 - 2Hole 3.2 M6x1 f 0.05 A
M6x1 3.2
3.2 6

R6
R6 R3

3.2
M6x1

6
45

n10
32

n14
12
n8

57 A 52

36
74

29
5 12
90

11
M6x1 20

3.2
2
°
143 5


°
n 156

15
6
6

3.2
C1x45~ b 0.04 A A
n6 2

3.2
17
n 48 n1 36 62
76 9
60 n
A
TR
n4

R
1 1 3.2 3.2 UE
R

36
R5
R4 R5
n6

R3

18

48
35
3.2

32
3 3.2
A
8
10 f 0.002 A

8
15 r 0.005 A

3.2
15 23 14 31
17
27 A ( 1.60 : 1 ) 155
e 0.008
11 6 n8 a 0.2 A
A
3.2

6 13 R

3.2
1 3.2 7

n11
1
2

M6x1

20
R6

3
13
n37

n24
n28
n20

n32
n16
12

12
12

3
n10

3.2
1
C1x45~ A 18 1
6 n4
9 n 10 3.2 20 30 30 30 34 40
20 n
e 0.008 10
3.2 M6x1 n
f 0.002 A
7
3.2

Designed by Checked by Approved by - date Filename Date Scale


A
3.

Nattawut
2

S. swing 24/8/06 1:1


7 3.2
16 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Big gun
3.2

13
Edition Sheet
ภาค 10 ลำปาง Drawing 1 / 2
10 4
Assembly
3

10 กระบอกปืน n32x190 st 37 010 1


9 หัวเพลากระบอกปืน n10x13 st 37 009 2
Explode 8 ฝาครอบดุมลอ n13x18 st 37 008 2
8 7 ขอบลอ n73x15 st 37 007 2
6 ซีลอ n6x27 st 37 006 16
5 ดุมลอ n20x16 st 37 005 2
4 เพลากระบอกปืน n8x57 st 37 004 1
3 นอต M6x1 003 2
2 เพลาลอ n12x90 st 37 002 1
1 ฐาน o45x155x1 st 37 001 1
ON Part name Dimansion Material Drawing QTY
Designed by Checked by Approved by - date Filename Date Scale
Nattawut S. swing 24/8/06 1:1
9 5 2
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Big gun
Edition Sheet
ภาค 10 ลำปาง Drawing 2 / 2
189.17
182.09
169.98
155.02
141.92
84.60
62.16
34.53

9.51
0
A 27.63
R2
.0

0
.0 42.08
R5
B

n17.17
n23.26
B
R368.91

C
n457.04

n420.04

n380.02

n420.04
.58
R69

36.49
54.17

A
0
.0
R2

A-A ( 1 : 5 )
C ( 0.40 : 1 )
B-B ( 1 : 5 )
59.99
n38.10

2.00x45~

Designed by Checked by Approved by Date Date

User S.Swing 27/9/2543

สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน ออกแบบลอรถ
ภาค10ลำปาง Tire Rim
Edition Sheet
1/1
H
58 -6
10 . 75
8 23 x 1
12
M

22
22
n20

25
25
0.4
30
.00 30

n
° M12x1.75 - 6g .00

20
°

2 1 DIN 6915 - M12 Hex Nut


1 1 DIN 6914 - M12 x 50 Hex-Head Bolt
ITEM QTY PART NUMBER DESCRIPTION
Parts List
Designed by Checked by Approved by Date Date
Somphong Swing 10/27/2006

แบบฝึกหัด 3D
สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค10ลำปาง Edition Sheet
M12x1.75 1/2

You might also like