You are on page 1of 12

รายงานการศึกษา

อิทธิพลแนวคิดตะวันออกกับการเมืองการ
ปกครอง

โดย
นายสุระชัย ชูผกา
เลขทะบียน 5007300030

เสนอ
2

รศ.ดร. สุรัตน์ เมธีกุล

รายงานนี เ้ ป็ นส่วนหนึ่ งของการศึกษาวิชาการสื่อสาร


และความคิดทางการเมือง
(วส.811)

ภาคการศึกษาที่ 2 ปี การศึกษา 2550

อิทธิพลแนวคิดตะวันออกกับการเมืองการปกครอง
สุระชัย ชูผกา

ความสำาคัญแห่งแนวคิดทางการเมืองตะวันออก

ปั จจุบันหลายประเทศในเอเชียได้ปรับเปลีย
่ นระบอบ
การเมืองการปกครองสู่ระบอบประชาธิปไตยตามหลักการและ
3

แนวคิดที่สอดคล้องกับปรัชญาเสรีนิยมจากตะวันตก ซึ่งรวมถึง
ประเทศไทยที่ได้มีการเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครองจาก
ระบอบสมบ่รณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐ
สภาเมื่อพ.ศ. 2475 จวบจนปั จจุบัน
แม้สังคมประเทศในเอเชียได้ปรับเปลี่ยนระบบสังคม
การเมืองสู่ความเป็ นประชาธิปไตยทีส
่ อดคล้องกับทิศทางการ
พัฒนาเศรษฐกิจในระบบทุนนิยม แตูรากฐานมรดกทาง
วัฒนธรรมแบบตะวันออกไมูวูาจะเป็ นแนวคิดทางด้านศาสนา
ปรัชญา ขนบประเพณีที่สืบทอดมาแตูครัง้ โบราณกาลก็ยังคงฝั ง
ลึกอยู่ตัวบุคคลที่ขับเคลื่อนระบบสังคมการเมืองแบบแยกแยะได้
ยาก
ผลพวงแหูงการปะทะสังสรรค์ของหลักการประชาธิปไตยที่
นำ าเข้าจากตะวันตกกับรากฐานวัฒนธรรมตะวันออกมักปรากฏให้
ได้เห็นอยู่เสมอๆ ไมูวูาจะเป็ นการสาบานตูอหน้ าพระพุทธร่ปของ
นั กการเมืองวูาจะไมูซ้ ือเสียงในการเลือกตัง้ ทัว
่ ไปเพื่อเรียกความ
เชื่อมัน
่ จากประชาชน การกราบไหว้พระภ่มิเจ้าที่กูอนเข้ารับ
ตำาแหนู งรัฐมนตรีในกระทรวงตูางๆ ตามความเชื่อวูาจะเป็ นสิริ
มงคลของนั กการเมืองไทย หรือการต้องไปเคารพศาลเจ้า
บรรพบุรุษที่เสียชีวิตในชูวงสงครามโลกของนายกรัฐมนตรีของ
ประเทศญี่ปูุนที่แสดงถึงความศรัทธาและเคารพบรรบุรุษแม้จะ
เรื่องนี้จะเป็ นประเด็นขัดแย้งทางการเมืองระหวูางประเทศกับจีน
ก็ตาม
4

แบบอยูางที่กลูาวมา ล้วนไมูจำาเป็ นในระบอบประชาธิปไตย


แตูเป็ นสิ่งที่ขาดไมูได้ในการดำารงอยู่ของสังคมประเทศนั น
้ ๆ จน
ไมูอาจกลูาวได้วูาสังคมการเมืองของประเทศในเอเชียทีย
่ ึดตาม
ระบอบประชาธิปไตยในเชิงเนื้ อหาและร่ปแบบจะดำาเนิ นไปใน
ทิศทางที่สอดคล้องกับหลักการและแนวคิดประชาธิปไตยของ
ประเทศต้นกำาเนิ ดในสังคมตะวันตก หากดำาเนิ นไปอยูางผสาน
สอดคล้องกับเลือดเนื้ อทางความคิด ความเชื่อแบบตะวันออกเป็ น
สำาคัญ
รายงานฉบับนี้จึงมูุงทบทวนรากฐานคติความเชื่อในสังคม
ตะวันออกที่ได้สูงผลตูอความเป็ นไปในระบอบการเมืองการ
ปกครอง โดยเลือกเน้ นมองผูานจากบางชูวงตอนของสังคมไทย
และญี่ปูน
ุ ที่มีพัฒนาทางสังคมการเมืองในทิศทางเดียวกัน เพื่อ
ค้นหาแงูมุมการดำารงอยู่ของแนวคิดทางการเมืองแบบตะวันออก
ในระบบประชาธิปไตยของประเทศ

แนวคิด พราหมณ์ -พุทธกับสังคมการเมืองไทย

การกำาเนิ ดขึ้นของอาณาจักรสุโขทัย ได้ใช้เงื่อนไขทางพุทธ


ศาสนามาเป็ นแกูนกลางในการยึดโยงผ้่คนเข้าหากันในสมัย
5

อาณาจักรสุโขทัยรูุงเรือง ผ้่ปกครองของอาณาจักรถึงขนาดมีการ
เชิญพระจากประเทศศรีลังกามาเข้ารูวมพิธีทางศาสนาที่วังจัดขึ้น
จากการศึกษาของ ประภัสสร เธียรปั ญญา(2550)ทีร่ ะบุวูา
นครรัฐอิสระตูางๆ ในลูุมแมูน้ำ าเจ้าพระยาร้่จักทัง้ ศาสนาพุทธและ
พราหมณ์มาเป็ นเวลานานแตูได้เลือกนั บถือศาสนาพุทธนิ กาย
เถรวาท เพื่อใช้เป็ นหลักในการรวบรวมผ้่คนหลายชนเผูาและเชื้อ
ชาติเข้ามาอยู่ในสังคมของนครรัฐเดียวกันได้ หลักคำาสอนของ
ศาสนาพุทธเถรวาทสามารถทำาให้ผีบรรพบุรุษของชนเผูาตูางๆ
อยู่รูวมกันได้อยูางสงบสุข และมีสิ่งยึดเหนี่ ยวอันเดียวกันผสาน
สังคมหลายวัฒนธรรมเข้ามาเป็ นหนึ่ งเดียวได้
อยูางไรก็ตามกูอนกำาเนิ ดอาณาจักรอยุธยานั น
้ ขอมหรือ
เขมรเป็ นเจ้าอาณาจักรในพื้นที่แถบลูุมภาคกลางของไทยมา
ตัง้ แตูกูอนศตวรรษที่ 11 และเมื่อถึงราวกลางศตวรรษที่ 17
ลพบุรีได้กลายเป็ นเมืองศ่นย์การปกครองในแถบนี้ โดยยึดหลัก
ความเชื่อในทางศาสนาพราหมณ์ที่ถือวูาผ้่ปกครองเป็ นตัวแทน
ของเทพ ตลอดจนยึดคติทางพราหมณ์ภายใต้แนวคิดของศาสนา
ฮินด่แบบเขมรเจ้าผ้่ปกครอง มีมีการแบูงชนชัน
้ หรือระบบไพรูกับ
นายอันเป็ นโครงสร้างทางสังคม
ขณะเดียวกันอิทธิพลแนวคิดเกี่ยวกับพุทธศาสนาที่มีความ
เจริญรูุงเรืองจากอาณาจักรสุโขทัยก็ได้แผูเข้ามาผสมผสานทาง
สังคมจนเป็ นเงื่อนไขที่นำาไปสู่การเปลี่ยนโฉมระบบการเมืองใน
ยุคสมัยนั น
้ และเป็ นจุดเริ่มต้นของอาณาจักรอยุธยา
6

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (Kennon Breazeale :1999) นั ก


วิชาการผ้่เชี่ยวชาญที่สุดคนหนึ่ งของไทยให้คำาอธิบายของจุด
กำาเนิ ดอยุธยาวูา ผ้่นำาของลพบุรีได้ขยายอาณาเขตมาใช้อยุธยา
เป็ นเมืองทูาสำาคัญเพื่อมูุงค้าขายทางทะเลกับตูางชาติ ซึ่งเป็ นการ
เปิ ดพื้นที่ให้เหลูาพูอค้า ประชาชนผ้่มีความชำานาญทางการค้าได้
เข้ามามีบทบาท และเป็ นสูวนหนุนนำ าไปสู่การกำาเนิ ดขึ้นของ
อาณาจักรอยุธยาในศตวรรษที่ 19
ในประเด็นนี้สุจิตต์ วงษ์เทศ (กรุงเทพธุรกิจ: 2551) ศิลปิ น
แหูงชาติผ้่ครำ่าหวอดอยู่กับการศึกษาประวัติศาสตร์สังคมการเมือง
ไทย ชี้ประเด็นวูา
“ประเด็นอยูท
ู ี่อยุธยาเปลีย
่ นศาสนาคือเดิมทีอยุธยานับถือ
ฮินดูกับพุทธมหายานจากละโว้ เราเรียกวูาขอม วันดีคืนดี
มีอโยธยาศรีรามเทพนคร เกิดเป็ นพุทธเถรวาทขึ้นมา ก็
เพราะพูอค้าขึ้นเป็ นกษัตริย์ เถราวาทเปิ ดชูองให้พูอค้าขึ้น
เป็ นกษัตริย์ได้ เขาเรียกวูาผู้มีบุญ ถ้าเป็ นพราหมณ์กับ
มหายานนี่กลูุมอื่นไมูมีทางเป็ นเจ้าได้”
(กรุงเทพธุรกิจ,จุดประกาย 1 ม.ค. 2551. กำาพืด
อยุธยา ภาคพลเมือง น 1)

ร่ปลักษณ์ทางการปกครองของอยุธยาได้รับอิทธิพลแหูงการ
ผสมผสานอยูางชัดเจนระหวูางศาสนาฮินด่ กับพุทธศาสนา ดังที่
David K. Wyatt (1996) เน้ นให้เห็นอิทธิพลดังกลูาวที่ปรากฏ
7

ผูานพระนามของปฐมกษัตริย์แหูงอยุธยาที่ใช้ช่ ือวูา “รามาธิบดี”


พร้อมกับการจัดให้มีการจัดพระราชพิธีด่ ืมนำ้ าพิพัฒน์ สัตยาขึ้นซึ่ง
เป็ นไปตามลักษณะพิธีการกวนเกษียรสมุทรในคติพราหมณ์ ขณะ
เดียวกันกษัติรย์ก็นับถือและให้ความเคาราพตูอพุทธศาสนาเป็ น
อยูางยิ่ง ดังเห็นได้วูาในอาณาเขตของอยุธยามีการสร้างวัดไว้ใน
วังเป็ นไปตาคติพุทธศาสนาในการสร้างพระบรมาติเจดีย์ไว้กลาง
เมือง และที่ตูางๆรอบอาณาเขตอยูางกว้างขวาง
ลักษณะดังกลูาวเป็ นสูวนสำาคัญที่ผ้่ปกครองแหูงอยุธยา
เลือกใช้คติพราหมณ์มาสถาปนาอำานาจแหูงการปกครองในฐานะ
สมมติเทพ ซึ่งมีความชอบธรรมอยูางส่งสุดในการปกครองผ้่คน
และคัดค้านอำานาจจากเขมรในฐานะที่ผ้่ปกครองก็มีสถานะเดียว
กับผ้่ปกครองแหูงเขมร แตูในเวลาเดียวกันการให้ความสำาคัญตูอ
ศาสนาพุทธและปรับเอาคติพท
ุ ธมาผสมกับคติพราหมณ์ในการ
ควบคุมกำาลังคนของอาณาจักร โดยเห็นได้จากการสืบทอดระบบ
นาย กับไพรูมาจากอาณาจักรละโว้ แตูก็เปิ ดให้มีการเลื่อนลำาดับ
้ ได้ ไมูวูาจะเป็ นเรื่องยศ บรรดาศักดิ ์ ตลอดจนการ
จากชนชัน
บัญญัติกฎมณเฑียรบาล แม้แตูหากไพรูได้กระทำาความดีในทาง
หนึ่ งทางใดอันเป็ นไปในทางทีส
่ อดคล้องกับหลักธรรมะการทำาดี
ได้ดี ทำาชัว
่ ได้ชัว
่ หาใชูใช้ระบบวรรณะยึดโยงผ้่คนอยูางตายตัวไมู
การผสมผสานคติทางพราหมณ์ฮินด่ และพุทธศาสนาได้
ดำารงอยู่เรื่อยมาในยุคอยุธยา ดังที่สุจิตต์ วงษ์เทศขนานนามวูา
“ความเป็ นอยุธยาเป็ นเบ้าหลอมรวมสุวรรณภ่มิ ทวารวดี มัน
ตกผลึกที่นี่ เป็ นรัฐจารีตรัฐสุดท้ายกูอนจะขึ้นเป็ นรัฐสมัยใหมู สิ่ง
8

ที่เรียกวูาจารีตประเพณีดัง้ เดิมมาจากไหนก็มาจากอยุธยา”
(กรุงเทพธุรกิจ: อ้างแล้ว)
แนวคิดแหูงการผสมผสานคติดังกลูาวได้มีการปรับ
ประยุกต์ข้ ึนใหมูอีกครัง้ เพื่อการรับใช้สังคมการเมืองไทยอีกครัง้
ในการการสถาปนายุคสมัยรัตนโกสินทร์ผูานระบบกฎหมายตรา
สามดวง ซึ่งปภัสสร (2550) ได้ระบุวูาเป็ นแหลูงรวมจักรวาล
วิทยาสยามของทัง้ พุทธเป็ นแกนหลัก และมีความเชื่อทางด้าน
พราหมณ์และผีมาหนุนเสริม โดยใช้อำานาจของกฎแหูงกรรมใน
พุทธศาสนาคอยควบคุมคนที่เน้ นสภาพที่เป็ นอยู่ในชาตินี้เป็ นผล
จากการกระทำาในชาติที่แล้ว และให้ทำาบุญหวังผลในชาติหน้ า
ผูานข้อบัญญัติและคำาอธิบายในตัวกฎหมายตราสามดวงหมวด
ตูางๆ
ขณะเดียวกันกฎหมายตราสามดวงได้อำานวยพลังอำานาจ
จากเทพเจ้าจากคติพราหมณ์มาหนุนนำ าอำานาจการปกครองของ
กษัตริย์พร้อมเปิ ดพื้นที่ดลบันดาลให้ผ้่บ่ชาได้ประสบความสำาเร็จ
ไปด้วย และมีคติความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องผีบรรพบุรุษมาให้ความ
คุ้มครองระดับครัวเรือนอยูางสอดประสาน
จากลักษณะดังกลูาวจึงเห็นได้วูาผ้่ปกครองของไทยได้
สถาปนากฎหมายตราสามดวงโดยผสมผสานคติความเชื่อที่ดำารง
อยู่และที่มีมาแตูโบราณกาลเพื่อหนุนเสริมอำานาจของชนชัน

ปกครองและเป็ นเครื่องมือในการให้อำานาจความชอบธรรมใน
การกระทำาการควบคุมผ้่คนและดำารงการยอมรับในสถานภาพ
แหูงสถาบันปกครองส่งสุดตูอสังคมที่ดำารงอยู่มาจวบจนปั จจุบัน
9

แนวคิดขงจือ
้ กับสังคมการเมืองญี่ปุ่น

แนวคิดของสำานั กขงจื้อ (Confucious)หรือเรียกอีกอยูางวูา


สำานั กหยู่ มีแนวความคิดทางการเมืองการปกครองแบบจารีต
หรือประเพณีนิยมจีมีขงจื้อเป็ นผ้่กูอตัง้ สำานั กคิดนี้ มีหลักคิดเน้ น
ในหลักปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับฐานะ ตำาแหนู ง หน้ าทีท
่ ี่ตนมีอยู่
โดยต้องทำาหน้ าที่ให้ถ่กต้อง ตามหลักประเพณี ศีลธรรมที่มีแตู
โบราณ ตลอดจนเน้ นให้ทุกฝู ายรักษาหลักคุณธรรม การสร้าง
สำานึ กผิดชอบชัว
่ ดี ความร้่สึกละอายตูอความชัว
่ ผ้่ปกครองต้องซื่
สัตย์เห็นแกูคุณธรรมและต้องสร้างความนู าเชื่อถือให้เกิดขึ้นแกูผ้่
ใต้ปกครองเป็ นสำาคัญ(สุโขทัยธรรมาธิราช : 2549 น. 216-217)
ในประเทศญี่ปูุนนั กวิชาการที่สนใจการศึกษาอิทธิพล
ปรัชญาขงจื้ออยูาง Nisida (Christopher : 2005) ระบุวูา ตัง้ แตู
ยุคโตกุกาวาเป็ นต้นมาได้มีการนำ าเอาหลักแนวคิดของเหลูา
ปรัชญาเมธีสำานั กขงจื้อในประเทศญี่ปูุนเข้ามาเป็ นแนวปฏิบัติของ
กลูุมโชกุนฝู ายตูางๆ จนกลายเป็ นกุญแจสำาคัญในการกำาหนดขึ้น
เป็ นหลักกฎหมายส่งสุดของญี่ปูุนเพื่อสร้างเสถียรภาพและความ
เป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกันให้กับสังคมญี่ปูุน โดยกฎหมายส่งสุดอัน
ถือได้วูาเป็ นรัฐธรรมน่ญของประเทศได้เน้ นหลักปฏิบัติในเรื่อง
ของระบบอาวุโส และการแบูงลำาดับขัน
้ ในตำาแหนู งหน้ าที่ความรับ
ผิดชอบ ตลอดจนการยึดในหลักความมีระเบียบวินัยในการ
ปฏิบัติตูอตนเองและผ้่อ่ ืน และการมูุงสร้างสังคมแหูงความเป็ น
อันหนึ่ งอันเดียวกันอยูางสันติสข
ุ อันเป็ นหลักสำาคัญของปรัชญา
10

ขงจื้อซึ่งพัฒนาสอดคล้องขึ้นมาพร้อมๆ กับวิถีซาม่ไรเป็ นอยูางยิ่ง


จึงทำาให้หลักคิดของขงจื้อได้กระจายตัวไปยังผ้่คนในสังคม
ลักษณะการประพฤติปฏิบัติตามวิถีขงจื้อได้กลายมาเป็ น
สูวนหนึ่ งของการวางระบบอาวุโส ความมูุงมัน
่ อดทนตูอการ
ปฏิบัติตามหน้ าที่และภาระกิจ ตลอดจนการสำานึ กละอายตูอการก
ระทำาความผิด การยึดมัน
่ ในระบบอาวุโสและระบบคุณธรรมตูางๆ
ยังคงเป็ นที่สืบทอดสู่สังคมการเมืองญี่ปูุนตัง้ แตูอดีตจนถึงใน
ปั จจุบัน ดังเห็นได้จากลักษณะการทำางานอยูางมูุงมัน
่ ของคน
ญี่ปูุน การให้ความสำาคัญกับความจงรักภักดีตูอระบบงานหรือ
หนู วยงานต้นสังกัดซึ่งจะคอยด่แลให้ความคุ้มครอง การให้ความ
นั บถืออยูางส่งสุดตูอบรรพบุรุษ เจ้านาย หัวหน้ างาน อยูางเป็ น
ลำาดับขัน
้ ตูางๆ แนวปรัชญาขงจื้อจึงถือได้วูาเป็ นหลักสำาคัญที่ทุก
ฝู ายยึดถือ และเป็ นสิ่งที่แทรกซึมอยู่วิถีที่ใช้กำากับควบคุมผ้่คน
ทุกฝู ายให้ดำารงอยู่รูวมกันตัง้ แตูในระบบเล็กจนถึงระบบใหญู

จากการศึกษาที่ผูานมาได้แสดงให้เห็นอยูางเดูนชัดแล้ววูา
แนวความคิดและหลักความเชื่อตูางๆ ของผู้คนในแถบถิ่นเอเซีย
ไมูวูาจะเป็ นความเชื่อในทางศาสนาพุทธ คติพราหมณ์ และ
ปรัชญาขงจื้อ นับเป็ นสูวนหนึ่งในการกลูอมเกลาและขับเคลื่อน
ความเป็ นไปในสังคมการเมือง ทัง้ ผูานทางเงื่อนกำาหนดจากฝู าย
ปกครอง ระบบกฎหมาย วิถีปฏิบัติ ตลอดจนความรู้สึกนึกคิด
ของผู้คนในสังคม ที่ไมูวูาจะมีระบบการปกครองในรูปแบบทัน
11

สมัยอยูางไร แนวคิดตะวันออกที่กลูาวมาล้วนเป็ นแกูนแท้แหูง


รูปแบบการเมืองการปกครองทัง้ สิ้น

หนั งสืออ้างอิง

กรุงเทพธุรกิจ,จุดประกายศิลปะวัฒนธรรม 1 มกราคม พ.ศ.


2551.กำาพืดอยุธยา ภาคพลเมือง.

ประภัสสร เธียรปั ญญา. จักรวาลวิทยาสยาม ความเชื่อผสมผสาน


พุทธ-พราหมณ์-ผี จาก
กฎหมายตราสามดวง. เอกสารประกอบการอภิปรายในการ
สัมมนาทางวิชาการเรื่อง กติกาและอำานาจในสังคมไทย.
โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก รูวมกับโครงการ
ปริญญาเอกสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 25
กันยายน พ.ศ. 2550.

สุโขทัยธรรมาธิราช. ประมวลสาระชุดวิชาแนวคิดทางการเมือง
และสังคม หนู วยที่ 1-7.
สำานั กพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พิมพ์ครัง้ ที่ 2
พ.ศ. 2549.
12

Christopher S Goto-Jones. Political Philosophy in Japan


Nishida, the Kyoto School and
Co-Prosperity. 2005. London. Routledge.

Watt, David K. Studies in Thai History. 1996.


SilkwormBook. Bangkok.

Kennon Breazeale, editor. From Japan to Arabia:


Ayutthaya’s Maritime Relation with
Asia. 1999. The Foundation for the Promotion of
Social Science and Humanities Textbooks Project.

You might also like