You are on page 1of 43

รายละเอียดของหลักสูตร

หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต
สาขาวิชามานุษยวิทยา
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2553

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา ศูนย์ทา่ พระจันทร์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

หมวดที่ 1. ข้อมูลทั่วไป
1. ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา
ภาษาอังกฤษ Master of Arts Program in Anthropology

2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ภาษาไทย ชื่อเต็ม สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา)
ชื่อย่อ สม.ม. (มานุษยวิทยา)
ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม Master of Arts (Anthropology)
ชื่อย่อ M.A. (Anthropology)

3. วิชาเอก
ไม่มี

4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 39 หน่วยกิต

5. รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาโท ระยะเวลาศึกษา 2 ปีครึ่ง ถึง 4 ปี
5.2 ภาษาที่ใช้ ภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา รับนักศึกษาไทยเป็นหลัก และนักศึกษาต่างชาติที่ใช้ภาษาไทยได้
เป็นอย่างดี
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น เป็นหลักสูตรเฉพาะของสถาบันที่จัดการเรียนการสอน
โดยตรง
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร
หลั ก สู ต รปรั บ ปรุ ง พ.ศ. 2553 ปรั บ ปรุ ง จากหลั ก สู ต รสั ง คมวิ ท ยาและมานุ ษ ยวิ ท ยา
มหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา พ.ศ. 2543 กาหนดเปิดสอนใน ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา
2553
ได้พิจารณากลั่นกรองโดยคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย ในการประชุมครั้งที่ 9 / 2553
เมื่อวันที่ 31 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2553
ได้พิจารณากลั่นกรองโดยคณะอนุกรรมการสภามหาวิทยาลัยด้านหลักสูตรและการจัด
การศึกษา ในการประชุมครั้งที่ 2/2553 เมื่อวันที่ 10 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2553
ได้รับอนุมัต/ิ เห็นชอบหลักสูตรจากสภามหาวิทยาลัย ในการประชุมครั้งที่ 6/2553 เมื่อวันที่
21 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2553

7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
ปีการศึกษา 2556 (หลังจากเปิดสอนเป็นเวลา 3 ปี)

8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังจบการศึกษา
มหาบัณฑิตทางมานุษยวิทยา มีความรู้ความสามารถในการทาความเข้าใจปรากฏการณ์ทาง
สังคม วัฒนธรรม ที่มีความเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ทั้งสามารถวิเคราะห์ถึงความเชื่ อมโยงของ
ปัจจัย ต่า งๆ อย่า งชั ดเจนและเป็นระบบ จึงสามารถเข้าทางานทั้งในภาครัฐและเอกชนได้อย่าง
กว้างขวาง ในฐานะนักวิจัย นักพัฒนา ครู อาจารย์ และงานทางด้านวัฒนธรรม รวมถึงประกอบ
อาชีพอิสระ

2
9. ชื่อ เลขประจาตัวประชาชน ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
เลขประจาตัวบัตร ตาแหน่งทาง
ชื่อ –สกุล คุณวุฒิการศึกษา/สถาบัน/ปีการศึกษาที่จบ
ประชาชน วิชาการ
3120600670922 อาจารย์ ยุกติ มุกดาวิจิตร Ph.D. (Anthropology), University of Wisconsin-Madison,U.S.A. (2550)
M.A. (Anthropology), University of Wisconsin-Madison,U.S.A. (2543)
สม.ม. (มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2538)
ศ.บ. (เศรษฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2533)
3100901220888 อาจารย์ สายพิณ ศุพุทธมงคล Ph.D. (Anthropology), Harvard University, U.S.A. (2550)
สม.ม. (มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2542)
ร.บ. (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2526)
3101200692562 อาจารย์ รัตนา โตสกุล Ph.D. (Anthropology), University of Washington, U.S.A (2540)
M.A. (Development Studies), Institute of Social Studies, Netherlands
(2529)
อ.บ. (ภาษาเยอรมัน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2522)

10. สถานที่จัดการเรียนการสอน
10.1 สถานที่: โครงการบัณฑิตศึกษาคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ตึกอเนกประสงค์ 3
(อาคารสานักหอสมุดเดิม) ชั้น 3 และคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (ตึกสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
ชั้น4) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
10.2 อุ ป กรณ์ ก ารสอน: โครงการบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาคณะสั ง คมวิ ท ยาและมานุ ษ ยวิ ท ยา
มีอุปกรณ์การเรียนการสอน ได้แก่ ห้องอ่านหนังสือที่มีหนังสือ ตารา วารสาร วิทยานิพนธ์ และ
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่เรียน ห้องปฏิบัติการวิจัย (คอมพิวเตอร์) ไว้ให้บริการแก่นักศึกษา
ตลอดจนมีโสตทัศนูปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องขยายเสียง เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ เครื่องฉาย ภาพนิ่ง
เครื่องฉายวีดีทัศน์ และเครื่อง LCD เป็นต้น

11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็นต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร
11.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
การพั ฒ นาทางเศรษฐกิ จ ของประเทศ ท าให้ วิ ถี ชี วิ ต ของประชาชนถู ก ผลั ก ดั น ให้
มีการแข่งขันสูง รวมทั้งตลาดแรงงานที่มีการแข่งขันสูงไปด้วย ส่งผลให้มีผู้ต้องการศึกษาต่อ
ในระดับ ที่สูง กว่า ระดับปริญญาตรีมากขึ้นทุกปี สถาบันการศึกษาต่างๆ จึงเปิด หลักสูตรระดับ
บัณฑิตศึกษาในหลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอกเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย ไม่ว่าจะเป็นหลักสูตร
โครงการพิเศษ (โครงการเลี้ยงตัวเอง) ที่มีค่าใช้จ่ายในการเรียนค่อนข้างสูง หรือหลักสูตรโครงการ
ปกติที่ มี ค่ า ใช้ จ่า ยในการเรีย นถู ก ไม่ ก่ อ ให้เ กิ ดภาระทางด้า นเศรษฐกิ จแก่ ผู้เรีย น เช่นเดี ย วกั บ

3
หลั ก สู ต รสั ง คมวิ ท ยาและมานุ ษ ยวิ ท ยามหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช ามานุ ษ ยวิ ท ยานี้ ที่ เ ป็ น หลั ก สู ต ร
โครงการปกติ เรีย นเต็ม เวลาในวันเวลาราชการ เน้นการเรี ย นการสอนในเชิ งวิชาการ ทาให้
นักศึกษาสามารถศึกษาหาความรู้และใช้ทรัพยากรของคณะและมหาวิทยาลัยได้อย่างเต็มที่
11.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม
ความเจริญก้ า วหน้า ด้า นเศรษฐกิ จ เทคโนโลยี และการสื่อสาร ทาให้ส ภาพสังคมและ
วัฒนธรรมไทยเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซับซ้อน และเกิดความขัดแย้งทางสังคมในระดับ
ต่างๆอย่างกว้างขวาง จึงมีความจาเป็นที่จะต้องใช้ความรู้ทางสังคมศาสตร์โดยเฉพาะสาขาวิชา
มานุษยวิทยามาทาความเข้าใจวิถีในสังคมไทย ตลอดจนปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรม
ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นตลอดเวลา

12. ผลกระทบจาก ข้อ 11.1 และ 11.2 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจ


ของสถาบัน
12.1 การพัฒนาหลักสูตร
เน้นและสนับสนุนให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้ในเรื่องที่ตนเองมีความสนใจอย่างเต็มที่
นักศึกษามานุษยวิทยาจะได้รับการฝึกฝนให้เป็นผู้ที่คิดเป็น สามารถมองเห็นความเชื่อมโยงระหว่าง
ปัจจัยต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับมนุษย์ สามารถอธิบายได้อย่างมีเหตุผล สามารถวิพากษ์และ
เสนอความคิดได้อย่างครอบคลุมและชัดเจน รวมทั้งสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในสาขาอาชีพต่างๆ
ได้อย่างกว้างขวาง
12.2 ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน
มหาบั ณ ฑิ ต ทางมานุ ษ ยวิ ท ยาจะได้ รั บ การคาดหวั ง ให้ เ ป็ น ก าลั ง ส าคั ญ ในสั ง คม
ที่จะทาหน้าที่ทางด้านการสอน การวิจัย การทางานพัฒนาทางด้านวัฒนธรรมทั้ งในภาครัฐและ
เอกชน นอกจากจะผลิตทรัพ ยากรทางแรงงานให้แก่ สังคมแล้ว หลัก สูตรปรารถนาที่จะสร้าง
สมาชิกสังคมที่สามารถตั้งคาถามที่ท้าทาย สามารถวิพากษ์วิจารณ์วิถีการมีชีวิตอยู่ของตนเองใน
สังคมไทยภูมิภาค และระบบโลกได้อย่างสร้างสรรค์และเป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรม

13. ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน
13.1 รายวิชาที่เปิดสอนโดยมหาวิทยาลัย/คณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น
-ไม่มี-
13.2 รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนให้มหาวิทยาลัย/คณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่นที่ต้องมา
เรียน
- ไม่มี-

4
13.3 การบริหารจัดการ
- ไม่มี-

หมวดที่ 2. ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร

1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร


1.1 ปรัชญา
มานุษยวิทยาเป็นแขนงหนึ่งของสังคมศาสตร์ ที่ปรารถนาจะทาความเข้าใจมนุษย์ ทั้ง
ในแง่ที่มนุษย์เป็นผลิตผลของระบบสังคมวัฒนธรรมที่เขามีชีวิตอยู่ และในแง่ที่มนุษย์เป็นศูนย์กลาง
ในการสร้ า งสรรค์ ควบคุ ม และเปลี่ ย นแปลงสภาพชี วิ ต รอบๆ ตั ว ของเขา ดั ง นั้ น เนื้ อ หาของ
มานุษยวิทยาจึงมีขอบเขตที่กว้างขวางครอบคลุมความรู้เกี่ยวกับมนุษย์ทั้งทางด้านกายภาพ วิถีชีวิต
พฤติกรรม ความคิดความเข้าใจ การให้ความหมาย ตลอดไปจนถึงอารมณ์ความรู้ สึก มานุษยวิทยา
เน้นการพิ จารณาปั ญหาอย่ างรอบด้าน แต่ใ นขณะเดีย วกั นก็ มีวิธีก ารศึก ษาที่เจาะลึก เฉพาะเรื่อง
เฉพาะกลุ่ ม ในระดั บ ชุ ม ชนและปั จ เจกบุคคล มีแ นวทางการค้น คว้าข้ อเท็ จจริ งในระดับ ที่เป็ น
ประสบการณ์ของบุคคล และเชื่อมโยงประสบการณ์นั้นเข้ากับโครงสร้างหรือระบบที่ใหญ่และ
กว้างกว่าบุคคล

1.2 ความสาคัญ
มหาบัณฑิตทางมานุษยวิทยาจะได้รับการคาดหวังให้เป็นกาลังสาคัญในสังคมที่จะทา
หน้าที่ทางด้านการสอน การวิจัย การทางานพัฒนาทางด้านวัฒนธรรม ทั้งในภาครัฐและเอกชน
นอกจากนั้น หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สาขามานุษยวิทยาปรารถนาที่จะสร้างสมาชิก
สังคมที่สามารถตั้งคาถามที่ท้าทาย สามารถวิพากษ์วิจารณ์วิถีการมีชีวิตอยู่ของตนเองในสังคมไทย
ภูมิภาคและระบบโลกได้อย่างสร้างสรรค์ และเป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรม

1.3 วัตถุประสงค์
1) เพื่อศึกษาและพัฒนาความรู้มานุษยวิทยาสากล ความรู้ทางมานุษยวิทยาสากลสั่งสม
จากการเปรีย บเที ย บลั ก ษณะของสัง คมวัฒนธรรมในที่ต่า ง ๆ ของโลก จนท าให้เ กิ ดข้อ เสนอ
เกี่ยวกับลักษณะของสังคมวัฒนธรรมมนุษย์ในด้านต่าง ๆ อาทิ ครอบครัว ความคิดความเชื่อ ระบบ
เศรษฐกิจ อานาจ บุคลิกภาพของบุคคล ความรู้เหล่านี้มีการไตร่ตรอง วิพากษ์วิจารณ์ และมีการ
พัฒนาอย่างรวดเร็วอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นนักศึกษาจึงจาเป็นต้องมีความรู้มานุษยวิทยาที่เป็นสากล ใน
ระดับที่ได้มาตรฐาน เพื่อเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการทาความเข้าใจปรากฏการณ์ต่าง ๆ

5
2) เพื่อศึกษาและพัฒนาความรู้ความเข้าใจวิถีชีวิตในสังคมไทย การศึกษาสังคมไทย
อาศัยแนวทฤษฎีมาพินิจพิเคราะห์ อธิบาย และวิพากษ์วิจารณ์ปรากฏการณ์ เพื่อนาไปสู่ความเข้าใจที่
สาคัญเกี่ ยวกับ ชีวิตในสังคมไทย การศึก ษาทางมานุษยวิทยาจึง ต้องสนองตอบต่อประเด็นหรือ
ปั ญ หา และความต้ อ งการของสั ง คมในแต่ ล ะยุ ค สมั ย ซึ่ ง มี ค วามเปลี่ ย นแปลงอยู่ เ สมอ การ
เปลี่ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ว กระแสทางเศรษฐกิ จ การเมืองและวัฒนธรรมที่ก่อตัวขึ้นเองภายใน
สังคมไทยก็ดี หรือความเปลี่ยนแปลงที่ ถาโถมมาจากภายนอกก็ดี ล้วนมีผลกระทบอย่างลึกซึ้งและ
กว้างไกล ส่งผลให้เกิดประเด็นปัญหา และความสนใจใหม่ๆ ขึ้นตลอดเวลา เงื่อนไขเหล่านี้ทาให้
เกิดความจาเป็นที่จะต้องพัฒนาหลักสูตรเดิม เพื่อให้สามารถตอบรับกับสภาพการณ์ในปัจจุบันได้
3) เพื่อให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้ในเรื่องที่ตนเองมีความสนใจอย่างเต็มที่ นักศึกษา
มานุษยวิทยาจะได้รับการฝึกฝนให้เป็นผู้ที่คิดเป็น สามารถมองเห็นความเชื่อมโยงระหว่างปัจจัย
ต่างๆ ที่มีค วามเกี่ยวข้องกั บมนุษ ย์ สามารถอธิบายได้อย่างมีเหตุผล สามารถวิพากษ์ และเสนอ
ความคิดได้อย่างครอบคลุมและชัดเจน รวมทั้งสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในสาขาอาชีพต่าง ๆ ได้
อย่างกว้างขวาง

2. แผนพัฒนาปรับปรุง
คาดว่าจะดาเนินการให้แล้วเสร็จครบถ้วนภายในรอบการศึกษา (4 ปี)
การพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน/ตัวบ่งชี้
1. แผนการพัฒนาการเรียนการ 1. ส่งเสริมให้อาจารย์ผู้สอน 1. จานวนงานวิจัยของอาจารย์
สอนที่เน้นการวิจัยเป็นหลัก ทาวิจัยและเชื่อมโยงงานวิจัย 2. จานวนผลงานวิชาการและ
สู่การเรียนการสอน วิทยานิพนธ์ของนักศึกษาที่
2. ฝึกให้นักศึกษาทาวิจัย ได้รับการนาเสนอ ตีพิมพ์
ตั้งแต่การเรียนรายวิชาไป ในการประชุมวิชาการ
จนถึงการทาวิทยานิพนธ์ ระดับชาติ ระดับนานาชาติ
3. ส่งเสริมกิจกรรมวิชาการที่ 3. จานวนโครงการกิจกรรม
เกี่ยวเนื่องกับการทาวิจัย เช่น วิชาการที่คณะจัด/พานักศึกษา
การสัมมนา เสวนา การพา เข้าร่วมประชุมสัมมนา
นักศึกษาออกศึกษานอก ภายนอกสถาบัน
สถานที่ การเก็บข้อมูล
ภาคสนาม

6
การพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน/ตัวบ่งชี้
2. แผนการส่งเสริมการเรียนการ 1. เพิ่มพูนทักษะอาจารย์ใน 1. ผลการประเมิน
สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การส่งเสริมผู้เรียนเป็น ประสิทธิภาพการจัดการเรียน
ศูนย์กลางในการเรียนรู้ การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
2. พัฒนา/ปรับปรุงระบบ ศูนย์กลาง
อาจารย์ที่ปรึกษาและ 2. ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อ
กิจกรรมให้สะท้อนความเอื้อระบบอาจารย์ที่ปรึกษาและ
อาทรและให้ความสาคัญต่อ กิจกรรมเสริมหลักสูตรของ
ผู้เรียน คณะ
3. พัฒนาระบบสารสนเทศที่ 3. ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อ
สนับสนุนการเรียนรู้ด้วย ระบบสารสนเทศที่สนับสนุน
ตนเองอย่างต่อเนื่อง การเรียนรู้ด้วยตนเอง
4. ส่งเสริมการประเมินผลที่
4. จานวนรายวิชาที่ใช้การ
เน้นพัฒนาการของผู้เรียน ประเมินผลที่เน้นพัฒนาการ
ของผูเ้ รียน
5. ผลการประเมินการมีส่วน
ร่วมของผู้เรียนในการจัดการ
เรียนการสอน กิจกรรมทาง
วิชาการและกิจกรรมอื่น ๆ ของ
คณะ
3. แผนการพัฒนาทักษะ 1. พัฒนาทักษะการสอนของ 1. จานวนโครงการการพัฒนา
การสอน/การประเมินผลของ อาจารย์ที่เน้นการสอนด้าน ทักษะการสอนและ
อาจารย์ตามผลการเรียนรู้ทั้ง 5 คุณธรรมจริยธรรมด้าน การประเมินผลของอาจารย์
ด้าน ความรูท้ ักษะ ทางปัญญา, ตามผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง 2. ระดับความพึงพอใจของ
บุคคลและความรับผิดชอบ นักศึกษาต่อทักษะการสอน
ทักษะในการวิเคราะห์และ ของอาจารย์ที่มุ่งผลการเรียนรู้
การสื่อสาร ทั้ง 5 ด้าน

7
หมวดที่ 3. ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร
1. ระบบการจัดการศึกษา
1.1 ระบบ
ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ
1 ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ และอาจเปิดภาคฤดูร้อนได้ โดยใช้
เวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ แต่ให้เพิ่มชั่วโมงการศึกษาในแต่ละรายวิชาให้เท่ากับภาคปกติ
ภาคฤดูร้อนเป็นภาคการศึกษาที่ไม่บังคับ
1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน
ไม่มี
1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค
ไม่มี

2. การดาเนินการหลักสูตร
2.1 วัน – เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน
วัน-เวลาราชการปกติ
ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – กันยายน
ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน - กุมภาพันธ์
ภาคฤดูร้อน เดือนมีนาคม - พฤษภาคม
2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษาต้องเป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่า
ด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 และมีคุณสมบัติดังนี้
เป็นผู้สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าระดับปริญญาตรี โดยไม่จากัดสาขาจาก
สถาบันการศึกษาในหรือต่างประเทศ ซึ่งสภามหาวิทยาลัยรับรองวิทยฐานะ
การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา
1) ผู้เข้าศึกษาต้องผ่านการสอบข้อเขียนและการสอบสัมภาษณ์
2) ผู้เข้าศึกษาต้องส่งผลทดสอบภาษาอังกฤษ TU-GET หรือ TOEFL หรือ IELTS
(ผลสอบต้องไม่เกิน 2 ปีนับถึงวันสมัคร)
3) เงื่อนไขอื่นๆ ให้เป็นไปตามประกาศรับสมัครบุคคลเข้าศึกษาในระดับ
บัณฑิตศึกษาของคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
2.3 ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า
ไม่มี

8
2.4 กลยุทธ์ในการดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา / ข้อจากัดของนักศึกษาในข้อ 2.3
ไม่มี
2.5 แผนการรับนักศึกษาและผู้สาเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี
รับปีละ 15 คน และคาดว่าจะมีผู้สาเร็จการศึกษาปีละ 15 คน

ปีการศึกษา
นักศึกษา
2553 2554 2555 2556 2557
ชั้นปีที่ 1 15 15 15 15 15
ชั้นปีที่ 2 - 15 15 15 15
ชั้นปีที่ 3 - - 15 15 15
รวม 15 30 45 45 45
จานวนบัณฑิตที่คาดว่าจะจบ - - 15 15 15

2.6 งบประมาณตามแผน (ปีงบประมาณ 2553)

นักศึกษารวม 400 คน เฉลี่ย คิดรายละเอียด ค่าใช้จ่ายรวม นักศึกษารวม ค่าใช้จ่ายต่อคน


ปริญญาโท 45 คน = 45*100/400 11.25 = 11.25%*16,452,200 1,850,872.50 45 41,130.50
ปริญญาตรี 340 คน =340*100/400 85.00 = 85%*16,452,201 13,984,370.00 340 41.130.50
ประกาศนียบัตร 15 คน = 15*100/400 3.75 = 3.75%*16,452,202 616,957.50 15 41.130.50
16,452,200.00 400

2.7 ระบบการศึกษา
√ จัดการศึกษาแบบชั้นเรียน
�แบบทางไกลผ่านสื่อสิ่งพิมพ์เป็นหลัก
�แบบทางไกลผ่านสื่อแพร่ภาพและเสียงเป็นสื่อหลัก
�แบบทางไกลทางอินเตอร์เนต
�อื่น ๆ (ระบุ)
2.8 การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย
เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา
พ.ศ. 2553

9
3. โครงสร้างหลักสูตร
3.1 หลักสูตร
3.1.1 จานวนหน่วยกิตรวมและระยะเวลาศึกษา
จานวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 39 หน่วยกิต
ระยะเวลาศึกษา เป็ น หลั ก สู ต รแบบศึ ก ษาเต็ ม เวลา นั ก ศึ ก ษาต้ อ งใช้
ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตรอย่างน้อย 5 ภาคการศึกษาปกติ และอย่างมากไม่เกิน 8 ภาค
การศึกษาปกติ
3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร
แผนการศึกษา แผน ก แบบ ก2
วิชาบังคับ 15 หน่วยกิต
วิชาเลือก 12 หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต

ลักษณะของหลักสูตรทางด้านเนื้อหา องค์ประกอบหลักได้แก่
1) ความรู้พื้นฐานทางมานุษยวิทยา โดยเฉพาะทางด้านสังคมและวัฒนธรรม
ซึ่งประกอบด้วยแนวคิดทฤษฎีและงานศึกษาทางชาติพันธุ์ที่สาคัญ
2) ความรู้เฉพาะด้านทางมานุษยวิทยา ตามความเชี่ยวชาญของผู้สอนและ
ความสนใจของนักศึกษา
3) ความรู้และความชานาญในการวิเคราะห์ ได้แก่ความเข้าใจในกรอบทฤษฎี
การหาข้อมูลภาคสนาม และการเชื่อมโยงความคิดที่เป็นนามธรรมกับข้อมูลรูปธรรม
4) ความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวคิด ในการทาความเข้าใจประเด็นปัญหา
ร่วมสมัยในสังคมไทยและสังคมต่างๆ ทางด้านวิธีการศึกษา หลักสูตรเน้นการที่นักศึกษาแต่ละคน
เป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ตามความสนใจของตนเอง โดยมีอาจารย์และเพื่อนนักศึกษาเป็นชุมชน
ที่จะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิพากษ์วิจารณ์ซึ่งกันและกัน

10
3.1.3 รายวิชาในหลักสูตร
3.1.3.1 รหัสวิชา
รหัสวิชาในหลักสูตร ประกอบด้วยอักษรย่อ 1 ตัว 2 ตัวและตัวเลข 3 ตัว มีความหมายดังนี้
อักษรย่อ ม. และ AN หมายถึงรายวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
มหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา
เลขรหัสวิชาในหลักสูตรประกอบด้วย 3 หลัก มีความหมายดังนี้
เลขหลักหน่วย หมายถึง ลาดับวิชาของแต่ละกลุ่มวิชา
เลขหลักสิบ หมายถึง กลุ่มของลักษณะวิชา
เลข 0 หมายถึง กลุ่มวิชาบังคับ
เลข 1 หมายถึง กลุ่มมานุษยวิทยาเฉพาะทาง
เลข 2 หมายถึง กลุ่มภาษา สัญลักษณ์ และจักรวาลวิทยา
เลข 3 หมายถึง กลุ่มชาติพันธุ์ศึกษาและอาณาบริเวณศึกษา
เลข 4 หมายถึง กลุ่มการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม
เลข 5 หมายถึง กลุ่มวัฒนธรรมร่วมสมัย
เลข 9 หมายถึง กลุ่มการศึกษาเฉพาะเรื่องและการศึกษาเอกเทศ
เลขหลักร้อย หมายถึง ระดับของวิชา
เลข 6 หมายถึง รายวิชาระดับมหาบัณฑิต
เลข 8 หมายถึง วิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิต

3.1.3.2 รายวิชา
1) วิชาบังคับ นักศึกษาต้องศึกษาวิชาบังคับทั้ง 5 วิชา
รวม 15 หน่วยกิต ดังนี้

11
รหัสวิชา รายวิชา จานวนหน่วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
ม.601 ทฤษฎีมานุษยวิทยาพื้นฐาน 3 (3-0-9)
AN 601 Theories and Concepts in Anthropology

ม.602 ทฤษฎีมานุษยวิทยาร่วมสมัย 3 (3-0-9)


AN 602 Contemporary Theories and Concepts in Anthropology

ม.603 ชาติพันธุ์ศึกษา 3 (3-0-9)


AN 603 Ethnic Studies

ม.604 การวิจัยทางมานุษยวิทยา 3 (3-0-9)


AN 604 Anthropological Research

ม.605 สัมมนาหัวข้อวิทยานิพนธ์ 3 (3-0-9)


AN 605 Pre-fieldwork Seminar

2) วิชาเลือก นักศึกษาต้องศึกษาวิชาเลือกไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต


โดยเลือกศึกษาจากรายวิชาในสาขากลุ่มใดก็ได้ อย่างน้อย 9 หน่วยกิต ส่วนอีก 3 หน่วยกิต สามารถ
เลือกศึกษาจากวิชาเลือกในสาขาหรือนอกสาขา (ทั้งในและนอกคณะ) โดยได้รับอนุมัติจากอาจารย์
ที่ปรึกษาและผู้อานวยการบัณฑิตศึกษา
หมายเหตุ: คาว่ากลุ่มในที่นี้เป็นคาใช้เรียกเพื่อจัดแบ่งประเภทของรายวิชา ไม่มีข้อจากัดในการเลือก
นักศึกษาสามารถจะเลือกวิชาในกลุ่มเดียวกัน หรือคนละกลุ่มได้อย่างอิสระ

12
รหัสวิชา รายวิชา จานวนหน่วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
1. กลุ่มมานุษยวิทยาเฉพาะทาง
ม.611 มานุษยวิทยากายภาพ 3 (3-0-9)
AN 611 Physical Anthropology

ม.612 ครอบครัวและเครือญาติ 3 (3-0-9)


AN 612 Family and Kinship

ม.613 มานุษยวิทยาเพศสภาพ 3 (3-0-9)


AN 613 Anthropology of Gender

ม.614 มานุษยวิทยาการเมือง 3 (3-0-9)


AN 614 Political Anthropology

ม.615 มานุษยวิทยาเศรษฐกิจ 3 (3-0-9)


AN 615 Economic Anthropology

ม.616 มานุษยวิทยาการแพทย์ 3 (3-0-9)


AN 616 Medical Anthropology

ม.617 มานุษยวิทยานิเวศน์ 3 (3-0-9)


AN 617 Ecological Anthropology

ม.618 วัฒนธรรมเมือง 3 (3-0-9)


AN 618 Urban Culture

ม.619 โบราณคดีเชิงมานุษยวิทยา 3 (3-0-9)


An 619 Anthropological Archaeology

13
รหัสวิชา รายวิชา จานวนหน่วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
2. กลุ่มภาษา สัญลักษณ์ และจักรวาลวิทยา
ม.621 มานุษยวิทยาภาษา 3 (3-0-9)
AN 621 Linguistic Anthropology

ม.622 มานุษยวิทยาศาสนาและความเชื่อ 3 (3-0-9)


AN 622 Anthropology of Religion and Beliefs

ม.623 พิธีกรรมวิเคราะห์ 3 (3-0-9)


AN 623 Ritual Analysis
3. กลุ่มชาติพันธุ์ศึกษาและอาณาบริเวณศึกษา
ม.631 ประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ของกลุ่มคนพูดภาษาตระกูลไต 3 (3-0-9)
AN 631 Ethno-History of the Tai Speaking Peoples

ม.632 ฉานศึกษา 3 (3-0-9)


AN 632 Shan Studies

ม.633 มานุษยวิทยาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3 (3-0-9)


AN 633 Anthropology of Southeast Asia

ม.634 มานุษยวิทยาเอเชียตะวันออก 3 (3-0-9)


AN 634 Anthropology of East Asia
4. กลุ่มการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม
ม.641 การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม 3 (3-0-9)
AN 641 Cultural Resource Management

ม.642 พิพิธภัณฑ์ศึกษา 3 (3-0-9)


AN 642 Museum Studies

14
รหัสวิชา รายวิชา จานวนหน่วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
5. กลุ่มวัฒนธรรมร่วมสมัย
ม.651 วัฒนธรรมข้ามพรมแดนและโลกาภิวัตน์ 3 (3-0-9)
AN 651 Transnational Culture and Globalization

ม.652 หลังชาวนาศึกษาในโลกสมัยใหม่ 3 (3-0-9)


AN 652 Post-Peasant Studies in the Modern World

ม.653 วัฒนธรรมการท่องเที่ยว 3 (3-0-9)


AN 653 Cultural of Tourism

ม.654 วัฒนธรรมศึกษา 3 (3-0-9)


AN 654 Cultural Studies
6. กลุ่มการศึกษาเฉพาะเรื่องและการศึกษาเอกเทศ
ม.691 สัมมนาปัญหาเฉพาะทางมานุษยวิทยา 1 3 (3-0-9)
AN 691 Special Topics Seminar in Anthropology 1

ม.692 สัมมนาปัญหาเฉพาะทางมานุษยวิทยา 2 3 (3-0-9)


AN 692 Special Topics Seminar in Anthropology 2

ม.693 สัมมนาปัญหาเฉพาะทางมานุษยวิทยา 3 3 (3-0-9)


AN 693 Special Topics Seminar in Anthropology 3

ม.700 การศึกษาเอกเทศ 3 (3-0-9)


AN 700 Independent Study
3.1.3.3 วิทยานิพนธ์
รหัสวิชา รายวิชา จานวนหน่วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
ม.800 วิทยานิพนธ์ 12
AN 800 Thesis

15
3.1.4 แสดงแผนการศึกษา

ปีการศึกษาที่ 1
ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
ม.601 ทฤษฎีมานุษยวิทยาพื้นฐาน 3 หน่วยกิต ม.602 ทฤษฎีมานุษยวิทยาร่วมสมัย 3 หน่วยกิต
ม.603 ชาติพันธุ์ศึกษา 3 หน่วยกิต วิชาเลือก 3 หน่วยกิต
ม.604 การวิจัยทางมานุษยวิทยา 3 หน่วยกิต วิชาเลือก 3 หน่วยกิต

รวม 9 หน่วยกิต รวม 9 หน่วยกิต

ปีการศึกษาที่ 2
ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
ม.605 สัมมนาหัวข้อวิทยานิพนธ์ 3 หน่วยกิต ม.800 วิทยานิพนธ์ 6 หน่วยกิต
วิชาเลือก 3 หน่วยกิต
วิชาเลือก 3 หน่วยกิต

รวม 9 หน่วยกิต รวม 6 หน่วยกิต

ปีการศึกษาที่ 3
ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
ม.800 วิทยานิพนธ์ 6 หน่วยกิต
-
รวม 6 หน่วยกิต

3.1.5 คาอธิบายรายวิชา
3.1.5.1 วิชาบังคับ
ม.601 ทฤษฎีมานุษยวิทยาพืน้ ฐาน 3 (3-0-9)
AN 601 Theories and Concepts in Anthropology
ทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานสาหรับการศึกษาทางมานุษยวิทยา ได้แก่ผลงานของนักทฤษฎีสังคม
เช่น Emile Durkheim, Max Weber, Karl Marx และแนวทฤษฎีมานุษยวิทยาในยุคแรกมาจนถึง
ประมาณช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เช่น วิวัฒนาการ โครงสร้างการหน้าที่ ความสัมพันธ์อุปถัมภ์
การเปลี่ยนแปลง นิเวศวิทยา เป็นต้น

16
ม.602 ทฤษฎีมานุษยวิทยาร่วมสมัย 3 (3-0-9)
AN 602 Contemporary Theories and Concepts in Anthropology
แนวความคิ ด ทางปรั ช ญาที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ความคิ ด มานุ ษ ยวิ ท ยาร่ ว มสมั ย ได้ แ ก่
phenomenology, hermeneutics, semiology, deconstruction และแนวความคิดทางมานุษยวิทยา
ได้แก่ structuralism, post-structuralism, postmodern anthropology, cultural studies.

ม.603 ชาติพันธุ์ศึกษา 3 (3-0-9)


AN 603 Ethnic Studies
แนวทฤษฎีและวิธีวิทยาในการศึกษาทางชาติพันธุ์ ได้แก่ พรมแดนชาติพันธุ์ อัตลักษณ์ชาติ
พันธุ์ ชาติพันธุ์ธารง ความขัดแย้งทางชาติพันธุ์ ประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ เป็นต้น ประเด็นทางชาติ
พันธุ์ศึกษาในปัจจุบัน เช่น ชนชาติกับรัฐ -ชาติ ชาตินิยมกับชนชาตินิยม ชาติพันธุ์ธารงแนวใหม่
กลุ่มชาติพันธุ์ส่วนน้อยกับรัฐ ชาติพันธุ์ธารงในบริบทของวัฒนธรรมข้ามพรมแดนและโลกาภิวัตน์

ม.604 การวิจัยทางมานุษยวิทยา 3 (3-0-9)


AN 604 Anthropological Research
กระบวนการสร้างความรู้ของนักมานุษยวิทยา เงื่อนไขทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ
ต่อการสร้างความรู้ทางมานุษยวิทยา การเชื่อมโยงทฤษฎีเข้ากับประสบการณ์ภาคสนาม ประเด็น
ปั ญ หาเกี่ ย วกั บ การเก็ บ ข้ อ มู ล ภาคสนาม การวิ เคราะห์ การตี ความ และการสร้ า งข้ อ สรุป หรื อ
ข้อเสนอทางวิชาการ แนวคิดเชิ งวิพากษ์และบททบทวนวิธีการทางมานุษยวิทยาที่สาคัญๆ ได้แก่
การสั ง เกตอย่ า งมี ส่ ว นร่ ว ม มานุ ษ ยวิ ท ยาประวั ติ ศ าสตร์ มานุ ษ ยวิ ท ยาทั ศ นา มานุ ษ ยวิ ท ยา
อินเทอร์เน็ต ปัญหาของภาพตัวแทนเชิงชาติพันธุ์นิพนธ์

ม.605 สัมมนาหัวข้อวิทยานิพนธ์ 3 (3-0-9)


AN 605 Pre-fieldwork Seminar
แนวความคิดและทฤษฎี ที่เป็นพื้ นฐานในการศึก ษาประเด็นที่จะเป็นหัวข้อวิทยานิพนธ์
การสารวจงานวิจัยและเอกสารที่เกี่ยวข้อง และพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์โดยเอกเทศ การสัมมนาเชิง
ปฏิบัติการเป็นระยะ ๆ เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะ รับฟังข้อคิดเห็น และข้อวิพากษ์วิจารณ์ต่าง ๆ ระหว่าง
นักศึกษากับผู้สอน

17
3.1.5.2 วิชาเลือก
1. กลุ่มมานุษยวิทยาเฉพาะทาง
ม.611 มานุษยวิทยากายภาพ 3 (3-0-9)
AN 611 Physical Anthropology
มานุษยวิทยากายภาพในฐานะสาขาย่อยของมานุษยวิทยาที่มีความเข้าใจน้อยที่สุดในวงการ
มานุษยวิทยาไทย ทฤษฎีวิวัฒนาการ วิธีการทางวิทยาศาสตร์สาหรับใช้ศึกษาวิวัฒนาการของมนุษย์
เอกสารเกี่ยวกับหลักฐาน การตีความ และข้อถกเถียงเรื่องกาเนิดและความเป็นมาของมนุษยชาติ
ความสับสนทางมโนทัศน์ในวงวิชาการไทยในประเด็นเกี่ยวกับเชื้อชาติทางชีววิทยา เชื้อชาตินิยม
และกับดักเชิงอุดมการณ์ในการศึกษาเรื่องถิ่นกาเนิดและความเป็นมาของคนไทย

ม.612 ครอบครัวและเครือญาติ 3 (3-0-9)


AN 612 Family and Kinship
ประเภท ลักษณะ และบทบาทของครอบครัวในวัฒนธรรมต่างๆ กฎเกณฑ์การเลือกคู่และ
การแต่ ง งาน การนิ ย ามความเป็ น เครื อ ญาติ แ ละความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งญาติ ก ารเปลี่ ย นแปลง
ความหมายและองค์ประกอบของครอบครัวและเครือญาติ ทั้งในมิติวัฒนธรรม กฎหมาย เศรษฐกิจ
และการเมือง

ม.613 มานุษยวิทยาเพศสภาพ 3 (3-0-9)


AN 613 Anthropology of Gender
ประเด็นคาถามที่นักมานุษยวิทยาใช้ในการศึกษาเพศสภาพ ประเด็นปัญหาทางเพศสภาพที่
สัมพันธ์และแฝงฝังอยู่ในสังคมและประสบการณ์ชีวิตของกลุ่มคนในวัฒนธรรมต่างๆ ทัศนะเชิง
วิพ ากษ์ ต่องานเขี ย นทางชาติพันธุ์วรรณนาและงานเขียนอื่นๆที่เกี่ ย วข้องกับประเด็นเพศสภาพ
ประเด็ น และแนวคิ ด ทางเพศสภาพที่ ส าคั ญ ๆ อาทิ อั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศสภาพ ความเป็ น หญิ ง
ความเป็นชาย เพศวิถี

ม.614 มานุษยวิทยาการเมือง 3 (3-0-9)


AN 614 Political Anthropology
การจัดระบบการเมืองการปกครองในระบบวัฒนธรรมดั้งเดิม และสมัยใหม่ วัฒนธรรมของ
ผู้ น า ชนชั้ น น า และผู้ ใ ต้ ป กครอง ทฤษฎี เ กี่ ย วกั บ อ านาจ กระบวนการตั ด สิ น ใจทางการเมื อ ง
การต่อต้านต่อรอง และขบวนการทางการเมืองในวัฒนธรรมต่างๆ

18
ม.615 มานุษยวิทยาเศรษฐกิจ 3 (3-0-9)
AN 615 Economic Anthropology
แนวคิดและทฤษฎีทางด้านมานุษยวิทยาเศรษฐกิจสานักต่างๆ อาทิ แนวคิดเศรษฐศาสตร์
ชาวนา เศรษฐศาสตร์การเมืองของมาร์กซ์ และนีโอมาร์กซิสต์ เศรษฐกิจในสังคมบริโภค รวมทั้ง
ข้อถกเถียงระหว่างสานักเหล่านั้น ในงานชาติพันธุ์วรรณนา การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง
พฤติกรรมทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อม

ม.616 มานุษยวิทยาการแพทย์ 3 (3-0-9)


AN 616 Medical Anthropology
แนวคิดและทฤษฎีในการศึกษาความรู้และวิถีการเยียวยารักษาโรคภัยไข้เจ็บในฐานะระบบ
วัฒ นธรรม ความสัม พั น ธ์ ร ะหว่ า งคนป่ ว ยกั บ ผู้ ใ ห้ ก ารเยี ย วยารั ก ษาในการแพทย์ พื้ น บ้ า นและ
การแพทย์สมัยใหม่ที่ตั้งอยู่บนฐานของความรู้ทางชีววิทยา การแพทย์และเภสัชกรรมในฐานะธุรกิจ
การเมืองเรื่องสุขภาพ ทั้งในระดับรัฐและนานาชาติ

ม.617 มานุษยวิทยานิเวศน์ 3 (3-0-9)


AN 617 Ecological Anthropology
แนวคิ ด และทฤษฎี ใ นการวิ เ คราะห์ ค วามสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งมนุ ษ ย์ วั ฒ นธรรม และ
สิ่งแวดล้อม เช่น แนวคิดระบบนิเวศน์ วัฒนธรรมนิเวศน์ ชาติพันธุ์นิเวศน์ วิวัฒนาการและสังคม
นิเวศน์และยุทธิวิธีในการปรับตัว รวมทั้งการนาแนวคิดเหล่านี้ไปใช้ในภูมิวัฒนธรรมต่างๆ

ม.618 วัฒนธรรมเมือง 3 (3-0-9)


AN 618 Urban Culture
แนวคิดทางมานุษยวิทยาและศาสตร์สาขาอื่นที่เกี่ยวข้องกับการทาความเข้าใจเมืองและวิถี
ของเมือง อาทิ การเกิดและลักษณะของเมือง ความคิดเรื่องความเป็นเมืองในวัฒนธรรมตะวันออก
และตะวันตก ชุมชนเมือง โลกทัศน์และรสนิยมของชาวเมือง รวมทั้งกรณีศึกษาเกี่ยวกับชุมชนเมือง
ปัญหาในชุมชนเมือง จากหลายวัฒนธรรม

ม.619 โบราณคดีเชิงมานุษยวิทยา 3 (3-0-9)


AN 619 Anthropological Archaeology
แนวคิด ทฤษฎี และวิธีวิทยา ในการแปลความหลักฐานทางโบราณคดีในเชิงมานุษยวิทยา
ข้อถกเถียงและประเด็นร่วมสมัยทางโบราณคดี เน้นการทาความเข้าใจสังคม-วัฒนธรรมในอดีตผ่าน
วัตถุทางวัฒนธรรมและหลักฐานข้อมูลทางโบราณคดี การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบและเชื่อมโยงกับ

19
ปรากฏการณ์ในสังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย ตลอดจนบทบาทของความรู้ทางโบราณคดีในสังคม
ปัจจุบัน เช่น ในการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม และในวัฒนธรรมการท่องเที่ยว เป็นต้น

2. กลุ่มภาษา สัญลักษณ์ และจักรวาลวิทยา


ม.621 มานุษยวิทยาภาษา 3 (3-0-9)
AN 621 Linguistic Anthropology
ความสั ม พั น ธ์ร ะหว่ า งภาษาในฐานะระบบการสื่ อสาร กั บ วัฒนธรรมซึ่ งภาษาเป็ นสื่ อ
ตลอดจนความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรมด้านต่างๆ เช่น ความสัมพันธ์เชิงอานาจ ชนชั้น
เพศภาวะ ที่เกี่ยวข้องกับภาษา งานชาติพันธุ์วรรณนาทางมานุษยวิทยาภาษาศาสตร์

ม.622 มานุษยวิทยาศาสนาและความเชื่อ 3 (3-0-9)


AN 622 Anthropology of Religion and Beliefs
แนวคิ ด และทฤษฎี ของนั ก คิ ด ที่ ศึ ก ษาระบบความเชื่ อ แบบต่ า งๆ ทั้ ง ความเชื่ อ ใน
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เวทมนตร์คาถา มนต์ดา จนถึง “ศาสนาของโลก” อาทิ อีมิล เดอไคฮ์ม แม็กซ์ เวเบอร์
โรเบิร์ต เบลลาห์ รวมถึงกรณีศึกษาลัทธิและขบวนการทางศาสนาในสังคมร่วมสมัย

ม.623 พิธีกรรมวิเคราะห์ 3 (3-0-9)


AN 623 Ritual Analysis
ความหมายและบทบาทหน้า ที่ของพิ ธีก รรมทั้งในสังคมขนาดเล็ก และสังคมสมัย ใหม่
แนวคิดและทฤษฎีในการวิเคราะห์สัญลักษณ์ในพิธีกรรม ทั้งพิธีกรรมที่มีนัยทางศาสนา พิธีกรรมใน
ชีวิตประจาวัน และรัฐพิธี ทั้งที่สืบทอดจากอดีต และที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นใหม่ในสังคมปัจจุบัน

3. กลุ่มชาติพันธุ์และอาณาบริเวณศึกษา
ม.631 ประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ของกลุ่มคนพูดภาษาตระกูลไต 3 (3-0-9)
AN 631 Ethno-History of the Tai Speaking Peoples
งานเขียนอันเนื่องด้วยประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ของกลุ่มคนพูดภาษาตระกูลไต ซึ่งปัจจุบัน
พบการกระจายตัวกว้างขวางในประเทศจีนตอนใต้ ภาคเหนือของเวียดนาม ภาคเหนือของพม่า
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย รวมถึงในพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศไทยและลาว คุณูปการ
ของงานเขียนเหล่านั้นต่อการสร้างองค์ความรู้เรื่องประวัติการตั้งถิ่นฐาน และการแพร่กระจายของ
กลุ่มคนดังกล่าว รวมถึงในแง่การตกอยู่ภายใต้อุดมการณ์แบบต่างๆ

20
ม.632 ฉานศึกษา 3 (3-0-9)
AN 632 Shan Studies
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ วั ฒนธรรม และการตั้งถิ่นฐานของกลุ่มคนพูดภาษาตระกูลไต
ในพม่าตอนบน ที่ คนพม่าเรียกว่า “ฉาน” ภาพการดารงอยู่อย่างสัมพัทธ์ต่อพื้นที่และกาลเวลา
รวมถึงพลวัตทางวัฒนธรรมของกลุ่มคน “ฉาน” ในบริบทพหุชาติพันธุ์ และการเมืองที่ปรับเปลี่ยน
ของพม่า

ม.633 มานุษยวิทยาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3 (3-0-9)


AN 633 Anthropology of Southeast Asia
แนวคิ ด ทฤษฎี และวิ ธี วิ ท ยาในการศึ ก ษาสั ง คม วั ฒ นธรรม และกลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์ ต่ า งๆ
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ปรากฏในงานชาติพันธุ์วรรณนา ลักษณะทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มชาติพันธุ์กับรัฐ -ชาติ อาณา
นิคมตะวันตก และกระแสโลกาภิวัตน์

ม.634 มานุษยวิทยาเอเชียตะวันออก 3 (3-0-9)


AN 634 Anthropology of East Asia
ทฤษฎีและวิธีวิทยาในการเปรียบเทียบสังคม วัฒนธรรม และกลุ่มชาติพันธุ์ ต่างๆ ในจีน
เกาหลี ญี่ปุ่น ที่ปรากฏในงานชาติพันธุ์วรรณนา ลักษณะทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลง
ทางสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มชาติพันธุ์กับรัฐ -ชาติ อาณานิคมตะวันตก และ
กระแสโลกาภิวัตน์

4. กลุ่มการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม
ม.641 การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม 3 (3-0-9))
AN641 Cultural Resource Management
ประวั ติ ค วามเป็ น มาของการจั ด การทรั พ ยากรวั ฒ นธรรม แนวคิ ด และทฤษฎี เ กี่ ย วกั บ
วัฒนธรรมและการจัดการวัฒนธรรม ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรทาง
วัฒนธรรม เช่น การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม วัฒนธรรมประดิษฐ์ การสร้างอานาจต่อรอง การเมือง
ในวัฒนธรรม

21
ม.642 พิพิธภัณฑ์ศึกษา 3 (3-0-9)
AN642 Museum Studies
ประวั ติ แ ละพั ฒ นาการของพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ความรู้ พื้ น ฐานส าหรั บ การด าเนิ น งานและการ
บริหารงานพิพิธภัณฑ์ เช่น การวิจัยเพื่อการนาเสนอและจัดแสดงพิพิธภัณฑ์ การศึกษาสังคมผ่าน
วัตถุทางวัฒนธรรม รวมถึงการศึกษาบทบาทและหน้าที่ของพิพิธภัณฑ์ต่อสังคม

5. กลุ่มวัฒนธรรมร่วมสมัย
ม.651 วัฒนธรรมข้ามพรมแดนและโลกาภิวัตน์ 3 (3-0-9)
AN 651 Transnational Cultures and Globalization
แนวคิ ด ทางมานุ ษ ยวิ ท ยาว่ า ด้ว ย เรื่ อ งวั ฒ นธรรมข้ า มพรมแดนในกระแสโลกาภิ วั ต น์
ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งวั ฒ นธรรมข้ า มพรมแดนกั บ รั ฐ -ชาติ การเปลี่ ย นแปลงความหมายของ
พรมแดนรัฐชาติที่มีผลกระทบต่อวิธีคิดและยุทธศาสตร์ในการปฏิบัติของผู้คนข้ามแดน การสร้าง
นิยามความหมายใหม่ๆในเรื่องวัฒนธรรมข้ามพรมแดนในลักษณะต่างๆโดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับ
เรื่ องอัต ลัก ษณ์ และพื้ นที่ ข องผู้ ค นข้ า มแดนภายใต้ ก ารจั ด ระเบี ย บโลกใหม่ ต ามแนวเศรษฐกิ จ
การเมืองแบบทุนนิยมเสรี

ม.652 หลังชาวนาศึกษาในโลกสมัยใหม่ 3 (3-0-9)


AN 652 Post-Peasant Studies in the Modern World
ประวั ติ ศ าสตร์ ค วามคิ ด ในการศึ ก ษาสั ง คมชาวนาชาวไร่ แ ละแนวโน้ ม ใหม่ ๆ ในเรื่ อ ง
“หลังชาวนาศึกษา” การสร้างความรู้ว่าด้วยเรื่องชาวนาชาวไร่ภายใต้บริบทความสัมพันธ์ ระหว่าง
self, other, time และ space นับตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา การปรับตัวของชาวนา
ชาวไร่ในโลกสมัยใหม่ การสร้างอัตลักษณ์ยืดหยุ่น หลากหลาย ในท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงสังคม
ชนบทแบบจารีตประเพณีไปสู่สังคมทันสมัย

ม.653 วัฒนธรรมการท่องเที่ยว 3 (3-0-9)


AN 653 Culture of Tourism
แนวคิ ด ในการศึ ก ษาเรื่ อ งการท่ อ งเที่ ย ว ทั้ ง ในเชิ ง เศรษฐกิ จ สั ง คม และวั ฒ นธรรม
ประวัติศาสตร์ของการท่องเที่ยวในสังคม รสนิยมคนชั้นกลางกับการท่องเที่ยว การรื้อฟื้นประเพณี
ประดิษฐ์และการสถาปนาความเป็นประเพณีในรูปแบบต่างๆ เช่น กระบวนการ romanticization
การโหยหาอดีต การสร้างอัตลักษณ์ท้องถิ่น การให้คุณค่ากับความเป็นของแท้ในทางวัฒนธรรม
ในท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงสังคมจารีตประเพณีไปสู่สังคมทันสมัยสู่ความเป็นวัฒนธรรมโลก

22
นโยบายอนุรักษ์วัฒนธรรมของรัฐ และผลกระทบที่เกิดขึ้นทางวัฒนธรรม การสร้างความหมายและ
การต่อรองทางความหมายของกลุ่มสังคมต่างๆที่เกี่ยวข้อง

ม. 654 วัฒนธรรมศึกษา 3 (3-0-9)


AN 654 Cultural Studies
แนวโน้ ม ใหม่ ๆ เชิ ง สหศาสตร์ ใ นการศึ ก ษาวั ฒ นธรรมร่ ว มสมั ย ซึ่ ง มี อ งค์ ป ระกอบ
จากแนวคิดหลายสานัก เช่น มาร์กซิสต์ แนวคิดหลังโครงสร้างนิยม เฟมมินิสต์ ทฤษฏีวัฒนธรรม
ร่ ว มสมั ย เชิ ง วิ พ ากษ์ ทฤษฎี ว รรณกรรมวิ จ ารณ์ และแนวคิ ด หลั ง อาณานิ ค ม รวมทั้ ง แนวทาง
การศึ ก ษาตามประเพณี ท างสั ง คมวิ ท ยา มานุ ษ ยวิ ท ยา และการศึ ก ษาเชิ ง ชาติ พั น ธุ์ ว รรณนา
วัฒนธรรมในฐานะที่เป็นเครื่องมือในการการผลิตทางอุดมการณ์ การสร้างความรู้และความหมาย
รวมทั้ ง วั ฒ นธรรมในบริ บ ทโลกสมั ย ใหม่ และวั ฒ นธรรมที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ พื้ น ที่ ท างสั ง คมและ
ความสัมพันธ์เชิงอานาจในลักษณะต่างๆ เช่น วัฒนธรรมย่อย วัฒนธรรมสมัยนิยม และสื่อมวลชน
ศึกษา

6. กลุ่มประเด็นศึกษาเฉพาะ
ม.691 สัมมนาปัญหาเฉพาะทางมานุษยวิทยา 1 3 (3-0-9)
AN 691 Special Topics Seminar in Anthropology 1
การสัมมนาประเด็นเฉพาะบางประเด็นทางมานุษยวิทยาในระดับลึก ของกลุ่มนักศึกษาและ
อาจารย์หรือผู้เชี่ยวชาญประเด็นดังกล่าว

ม.692 สัมมนาปัญหาเฉพาะทางมานุษยวิทยา 2 3 (3-0-9)


AN 692 Special Topics Seminar in Anthropology 2
การสัมมนาประเด็นเฉพาะบางประเด็นทางมานุษยวิทยาในระดับลึก ของกลุ่มนักศึกษาและ
อาจารย์หรือผู้เชี่ยวชาญประเด็นดังกล่าว

ม.693 สัมมนาปัญหาเฉพาะทางมานุษยวิทยา 3 3 (3-0-9)


AN 693 Special Topics Seminar in Anthropology 3
การสัมมนาประเด็นเฉพาะบางประเด็นทางมานุษยวิทยาในระดับลึก ของกลุ่มนักศึกษาและ
อาจารย์หรือผู้เชี่ยวชาญประเด็นดังกล่าว

23
ม.700 การศึกษาเอกเทศ 3 (3-0-9)
AN 700 Independent Study
การค้นคว้าหัวข้อหรือประเด็นเฉพาะทางมานุษยวิทยา ตามความสนใจของนักศึกษาแต่ละ
คนภายใต้การแนะนาดูแลของอาจารย์

3.1.5.3 วิทยานิพนธ์
ม.800 วิทยานิพนธ์ 12
AN 800 Thesis
การสร้างโครงการและการดาเนินการวิจัยประเด็นเฉพาะเรื่องทางมานุษยวิทยา การเขียน
และนาเสนอวิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิตทางมานุษยวิทยา จริยธรรมในการวิจัยและการเผยแพร่
ผลงานวิชาการ

3.2 ชื่อ สกุล เลขประจาตัวบัตรประชาชน ตาแหน่งและคุณวุฒิของอาจารย์


เลขประจาตัวบัตร ตาแหน่งทาง ชื่อ –สกุล คุณวุฒิการศึกษา/สถาบัน/ปีการศึกษาที่จบ
ประชาชน วิชาการ
3.2.1 อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตร
3120600670922 อาจารย์ ยุกติ มุกดาวิจิตร Ph.D. (Anthropology), University of Wisconsin-Madison,U.S.A. (2550)
M.A. (Anthropology), University of Wisconsin-Madison,U.S.A. (2543)
สม.ม. (มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2538)
ศ.บ. (เศรษฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2533)
3100901220888 อาจารย์ สายพิณ ศุพุทธมงคล Ph.D. (Anthropology), Harvard University, U.S.A. (2550)
สม.ม. (มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2542)
ร.บ. (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2526)
3101200692562 อาจารย์ รัตนา โตสกุล Ph.D. (Anthropology), University of Washington, U.S.A (2540)
M.A. (Development Studies), Institute of Social Studies, Netherlands
(2529)
อ.บ. (ภาษาเยอรมัน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2522)
3.2.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร
5101400054869 อาจารย์ ธีรยุทธ บุญมี เทียบเท่าปริญญาโท (ปรัชญาและสังคมวิทยา) Institute of Social
Studies,The Hague; The Netherlands (2527)
วศ.บ. (ไฟฟ้า) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2516)
5100900113995 อาจารย์ ปฐมฤกษ์ เกตุทัต M.S. (Anthropology), University of Pennsylvania, U.S.A. (2522)
ศศ.บ. (โบราณคดี) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2515)

24
เลขประจาตัวบัตร ตาแหน่งทาง ชื่อ –สกุล คุณวุฒิการศึกษา/สถาบัน/ปีการศึกษาที่จบ
ประชาชน วิชาการ
3.2.2 อาจารย์ประจา
รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก 2
3.2.3 อาจารย์พิเศษ
รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก 3

4. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม
-ไม่มี-

5. ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์
5.1 คาอธิบายโดยย่อ
การสร้างโครงการและการดาเนินการวิจัยประเด็นเฉพาะเรื่องทางมานุษยวิทยา การ
เขียนและนาเสนอวิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิตทางมานุษยวิทยา จริยธรรมในการวิจัยและการ
เผยแพร่ผลงานวิชาการ
5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้
วิทยานิพนธ์ที่มีคุณภาพเพียงพอในระดับที่จะผ่านได้นั้น จะต้องเป็นงานเขียนที่เสนอ
ข้ อ มู ล ใหม่ ท างสั ง คม วั ฒ นธรรม หรื อ ชาติ พั น ธุ์ จากการท างานภาคสนาม หรื อ เสนอผล
การวิ เ คราะห์ โ ดยใช้ แ นวความคิ ด ทางมานุ ษ ยวิ ท ยา หรื อ เสนอข้ อ สรุ ป ใหม่ ท างทฤษฎี ที่ เ ป็ น
ประโยชน์ต่อการพัฒนาวิชาการ
5.3 ช่วงเวลา
ตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 2 ของปีการศึกษาที่ 2
5.4 จานวนหน่วยกิต
12 หน่วยกิต
5.5 ข้อกาหนดการทาวิทยานิพนธ์
5.5.1 การเตรียมการทาวิทยานิพนธ์
1) นักศึกษาจะจดทะเบียนทาวิทยานิพนธ์ได้ เมื่อศึกษารายวิชามาแล้ว ไม่น้อยกว่า
3 ภาคการศึกษาปกติ และจะต้องมีหน่วยกิตในวิชาบังคับสะสมไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต โดยมีค่า
ระดับเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.00
2) นักศึกษาต้องทาวิทยานิพนธ์เป็นภาษาไทย

25
3) หลังจากจดทะเบียนทาวิทยานิพนธ์แล้ว นักศึกษาต้องเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์
ต่อคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เพื่อให้คณบดี คณะสังคมวิทยา
และมานุษยวิทยาแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และกรรมการวิทยานิพนธ์ ซึ่งจะให้คาแนะนา
นักศึกษา รวมทั้งสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ และสอบวิทยานิพนธ์
4) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
และอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (หากจาเป็น) โดยมีคุณสมบัติ ดังนี้
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก ต้องเป็นอาจารย์ประจามีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ
เทียบเท่า หรือเป็นผู้ดารงตาแหน่งทางวิชาการไม่ต่ากว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือ
สาขาวิชาที่สัมพันธ์กันและต้องมีประสบการณ์ในการทาวิจัยที่มิใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษา
เพื่อรับปริญญา
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (หากมี) ต้องเป็นอาจารย์ประจาหรือผู้ทรงคุณวุฒิ
ภายนอกสถาบัน มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือเป็นผู้ดารงตาแหน่งทางวิชาการไม่ต่ากว่า
รองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และต้องมีประสบการณ์ในการทาวิจัย
ที่มิใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา
5.5.2 การสอบวิทยานิพนธ์
1) อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องประกอบด้วยอาจารย์ประจาและผู้ทรงคุณวุฒิ
ภายนอกสถาบัน อาจารย์ประจาและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกดังกล่าวต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ
เทียบเท่า หรือเป็นผู้ดารงตาแหน่งทางวิชาการไม่ต่ากว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือ
สาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และต้องมีประสบการณ์ในการทาวิจัยที่มิใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษา
เพื่อรับปริญญา
2) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก (และอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
ร่วม หากมี) อาจเป็นกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ได้ แต่ต้องไม่เป็นประธานกรรมการและต้อง
เข้าสอบวิทยานิพนธ์ด้วยทุกครั้ง
3) นักศึกษาจะสอบวิทยานิพนธ์ได้เมื่อสอบภาษาต่างประเทศผ่านแล้ว
4) การสอบวิทยานิพนธ์ ให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วย
วิทยานิพนธ์ พ.ศ.2535 และฉบับที่ 2 พ.ศ.2549 และการสอบวิทยานิพนธ์ที่จะได้ผลระดับ S ต้อง
ได้มติเป็นเอกฉันท์จากคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์

26
หมวดที่ 4. ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล

1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา
คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธ์หรือกิจกรรมของนักศึกษา
1.1 ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ - ให้ผู้ที่สอบภาษาอังกฤษได้ไม่ถึงเกณฑ์
มาตรฐานของมหาวิทยาลัย ไปศึกษาและสอบ
ผ่านวิชา มธ.005 และมธ.006 (ภาษาอังกฤษ1
และภาษาอังกฤษ2)
- เน้นการอ่านตาราที่เป็นภาษาอังกฤษในทุก
รายวิชา
1.2 ความสามารถในการเก็บข้อมูลภาคสนาม - จัดกิจกรรมวิชาการลักษณะเสวนา สัมมนา
บรรยายพิเศษ เกี่ยวกับเทคนิคในการเก็บข้อมูล
ภาคสนาม
- ฝึกการวิจัยภาคสนามในรายวิชาต่างๆ
1.3 มีจรรยาบรรณต่อแหล่งข้อมูล - บรรจุเนื้อหาเรื่องจรรยาบรรณต่อแหล่งข้อมูล
ให้นัก ศึกษาได้ตระหนักในรายวิชาต่างๆ และ
กากับดูแลให้นักศึกษาปฏิบัติตามจรรยาบรรณ
ในระหว่างการทาวิทยานิพนธ์

2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน
2.1 คุณธรรม จริยธรรม
2.1.1 ผลการเรียนรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม
มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็น
มนุษย์ พยายามทาความเข้าใจ และมีความอดกลั้นในความแตกต่างของความเชื่อ ความคิด และ
วัฒนธรรมอันหลากหลายทั้งที่อยู่รอบตนและสังคม วัฒนธรรมอื่นซึ่งอยู่ห่างออกไป
2.1.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
เน้นและสนับสนุนฝึกฝนให้นักศึกษาสามารถมองเห็นความเชื่อมโยงของ
ปรากฏการณ์ทางสังคมวัฒนธรรม จากระดับส่วนตัวสู่ส่วนรวม เพื่อนาไปสู่ความเข้าใจอย่าง
แท้จริงเกี่ยวกับสังคมวัฒนธรรม ทั้งของตนเองและของผู้อื่น

27
2.1.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
ใช้วิธีการประเมินหลากหลายวิธี ทั้งการประเมินระหว่างเรียน ภายหลังสิ้นสุดวิชา
และภายหลังสาเร็จการศึกษา
1) ประเมินระหว่างเรียนและหลังสิ้นสุดวิชา โดยผู้เรียนประเมินตนเอง ประเมิน
โดยผู้อื่น (เพื่อน อาจารย์ผู้สอน ผู้ใช้บัณฑิตและชุมชน) โดยใช้วิธีการประเมินที่หลากหลาย ทั้ง
การสัมภาษณ์ การสังเกต ใช้แบบสอบถาม
2) ประเมินภายหลังจากสาเร็จการศึกษาแล้ว โดยให้บัณฑิตประเมินตนเอง
ประเมินจากผู้ใช้บัณฑิต ผู้ร่วมงานและ/หรือชุมชน โดยใช้แบบสอบถาม หรือการสัมภาษณ์
2.2 ความรู้
2.2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้มานุษยวิทยาสากลในระดับที่ได้มาตรฐาน
เพื่อเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการทาความเข้าใจปรากฏการณ์ทางสังคมวัฒนธรรมทั้งของสังคมที่
ตนเองสังกัดและสังคมวัฒนธรรมอื่น ทั้งยังสามารถนาแนวทฤษฎีที่ตนเองสนใจมาพิจารณา
อธิบายและวิพากษ์วิจารณ์ปรากฏการณ์ทางสังคม ซึ่งมีความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอและ
อาจสามารถนาเสนอข้อคิดเห็นหรือทางออกต่อสังคมในวงกว้างได้
2.2.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้
ใช้กลวิธีการสอนที่หลากหลายทั้งการบรรยายร่วมกับการอภิปราย ค้นคว้า
วิเคราะห์และใช้กรณีศึกษา การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยมุ่งเน้นและ
สนับสนุนให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้ในเรื่องที่ตนเองสนใจอย่างเต็มที่
2.2.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้
ประกอบด้วย การประเมินหลายวิธี/กิจกรรม เพื่อให้ครอบคลุมการประเมินผล
ด้านความรู้ ทั้งการเรียนในห้องเรียนและการเรียนด้วยตนเอง เช่น การสอบ การนาเสนอรายงาน
การค้นคว้าการวิเคราะห์กรณีศึกษา และการนาเสนอโครงการ
2.3 ทักษะทางปัญญา
2.3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
สามารถคิด วิเคราะห์ทั้งในระดับปัจเจก และสังคม ได้อย่างเป็นระบบและ
สร้างสรรค์ สามารถมองเห็นความเชื่อมโยงของปัจจัยต่างๆที่มีความเกี่ยวข้องกับมนุษย์และสังคม
สามารถเสนอความคิด อธิบายความเชื่อมโยงและความสัมพันธ์ดังกล่าว และวิพากษ์ได้อย่างชัดเจน
มีเหตุผลและสร้างสรรค์
2.3.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา

28
ใช้การสอนที่หลากหลาย ประกอบด้วยการบรรยาย อภิปราย กรณีศึกษา และ
ค้นคว้าด้วยตนเองภายใต้การชี้แนะอย่างใกล้ชิดของผู้สอน
2.3.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
การประเมินหลายวิธีและกิจกรรม ทั้งในระหว่างการเรียนและหลังการสิ้นสุด
การศึกษา โดยให้บัณฑิตประเมินตนเอง ประเมินจากผู้ใช้บัณฑิต โดยใช้แบบสอบถามและการวิจัย
2.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
2.4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามารถใน
การรับผิดชอบ
มีความเคารพ ยอมรับ และอดกลั้นต่อความแตกต่างระหว่างบุคคลและวัฒนธรรม
มีความเคารพในศักดิ์ศรีและคุณค่าของความเป็นมนุษย์ ปรับตัวในปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและใน
ชุมชนได้อย่างสร้างสรรค์พร้อมที่จะคิดริเริ่มในการคิด วิเคราะห์ วิพากษ์ปัญหาอย่างอิสระ และมี
ความรับผิดชอบต่อการแสดงออกดังกล่าว ขณะเดียวกันก็มีความรับผิดชอบในบทบาทหน้าที่ของ
ตนเองที่มีต่อสังคม
2.4.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลและความรับผิดชอบ
เน้นการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ร่วมกันถกเถียง แลกเปลี่ยน วิพากษ์วิจารณ์
ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน และผู้เรียนด้วยกันเองอย่างอิสระ สร้างสรรค์ และด้วยความรับผิดชอบโดย
คานึงถึงการมีอยู่ร่วมกันของความแตกต่างในทางความคิดและแนวคิดในการศึกษาวิเคราะห์
2.4.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ
ความรับผิดชอบ
มี ก ารประเมิ นผลหลายด้าน ทั้งในระหว่างการเรีย นและภายหลังจากสิ้นสุด
การศึ ก ษาโดยการประเมิ นความสามารถในการทางานร่วมกั น กั บผู้อื่น การแสดงออกในการ
ถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์ การประเมินการแสดงออกของการ
ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
2.5 ทักษะในการวิเคราะห์และการสื่อสาร
2.5.1 ผลลัพธ์การเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์และการสื่อสาร
สามารถอธิบาย เชื่อมโยงปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมได้อย่างมี
หลักการและเหตุผล สามารถตั้งคาถามที่ท้าทาย วิพากษ์วิจารณ์สังคมวัฒนธรรมทั้งของตนเองและ
ผู้อื่นได้อย่างชัดเจนและสร้างสรรค์ และสามารถพัฒนาตนเองให้สามารถทาการสอน และทางาน
วิจัยเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมได้

29
2.5.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์และการ
สื่อสาร
1) จัดกิจกรรมการเรียน การสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนฝึกทักษะการพูด การเขียน
และการสื่อความที่มีความประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ทั้งในและนอกห้องเรียน
2) เปิดโอกาสและสนับสนุนให้ผู้เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง
เหมาะสมต่อยุคสมัย ทั้งในการศึกษาค้นคว้า และนาเสนอผลงานต่อผู้อื่นในวงกว้าง
2.5.3 กลยุทธ์การประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์และการสื่อสาร
ให้ความสาคัญที่กลยุทธ์ ดังนี้
ประเมินผลงานตามกิจกรรมการเรียน การสอนโดยใช้แบบสอบถาม การ
สัมภาษณ์

3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา
(Curriculum Mapping)
3.1 คุณธรรม จริยธรรม
1. มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2. เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
3. พยายามทาความเข้าใจและมีความอดกลั้นในความแตกต่างของความเชื่อ ความคิดและ
วัฒนธรรมอันหลากหลายทั้งที่อยู่รอบตน สังคมอื่นรอบข้างและสังคม วัฒนธรรมอื่นซึ่งอยู่ห่าง
ออกไป
3.2 ความรู้
1. มีความรู้และความเข้าใจองค์ความรู้มานุษยวิทยาที่สากล เพื่อเป็นเครื่องมือพื้นฐานใน
การทาความเข้าใจปรากฏการณ์ทางสังคมวัฒนธรรมทั้งของ สังคมที่ตนเองสังกัดและสังคม
วัฒนธรรมอื่น
2. สามารถนาแนวทฤษฎีที่ตนเองสนใจมาพิจารณา อธิบายและวิพากษ์ วิจารณ์
ปรากฏการณ์ทางสังคม ซึ่งมีความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
3. สามารถนาเสนอข้อคิดเห็นหรือทางออกต่อสังคมในวงกว้างได้
3.3 ทักษะทางปัญญา
1. สามารถคิด วิเคราะห์ปรากฏการณ์ทั้งในระดับปัจเจกและสังคมได้อย่างเป็นระบบและ
สร้างสรรค์
2. สามารถมองเห็นความเชื่อมโยงของปัจจัยต่างๆที่มีความเกี่ยวข้องกับมนุษย์และสังคม
3. สามารถเสนอความคิด อธิบายความเชื่อมโยงและความสัมพันธ์ดังกล่าว และวิพากษ์
ได้อย่างชัดเจนและมีเหตุผลและสร้างสรรค์

30
3.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1. มีความเคารพ ยอมรับ และอดกลั้นต่อความแตกต่าง ระหว่างบุคคลและวัฒนธรรม
มีความเคารพในศักดิ์ศรีและคุณค่า ของความเป็นมนุษย์
2. ปรับตัวในปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และในชุมชนได้อย่างสร้างสรรค์
3. พร้อมที่จะคิดริเริ่มในการคิด วิเคราะห์ วิพากษ์ปัญหาอย่างอิสระและมีความรับผิดชอบ
ต่อการแสดงออกดังกล่าว
4. มีความรับผิดชอบในบทบาทหน้าที่ของตนเองที่มีต่อสังคม
3.5 ทักษะในการวิเคราะห์และการสื่อสาร
1. สามารถอธิบายเชื่อมโยงปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมได้อย่างมีหลักการและมี
เหตุผล
2. สามารถตั้งคาถามที่ท้าทาย วิพากษ์วิจารณ์สังคมวัฒนธรรมทั้งของตนเองและผู้อื่น
ได้อย่างชัดเจนและสร้างสรรค์
3. สามารถพัฒนาตนเองให้สามารถทาการสอน และทางานวิจัยเกี่ยวกับสังคมและ
วัฒนธรรมได้

31
3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
* ความรับผิดชอบหลัก O ความรับผิดชอบรอง
4. ทักษะความสัมพันธ์
1. คุณธรรม 5. ทักษะการวิเคราะห์
2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา ระหว่างบุคคลและ
รายวิชา จริยธรรม และการสือ่ สาร
ความรับผิดชอบ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3
1) รายวิชาบังคับ
ม.601 ทฤษฎีมานุษยวิทยาพืน้ ฐาน * * * * * * * * * * * * * * * *
ม.602 ทฤษฎีมานุษยวิทยาร่วมสมัย * * * * * * * * * * * * * * * *
ม.603 ชาติพันธุ์ศึกษา * * * * * * * * * * * * * * * *
ม.604 การวิจัยทางมานุษยวิทยา * * * * * * * * * * * * * * * *
ม.605 สัมมนาหัวข้อวิทยานิพนธ์ * * * * * * * * * * * * * * * *
2) รายวิชาเลือก
1. กลุ่มมานุษยวิทยาเฉพาะทาง
ม.611 มานุษยวิทยากายภาพ * * * * * * * * * * * * * * * *
ม.612 ครอบครัวและเครือญาติ * * * * * * * * * * * * * * * *
ม.613 มานุษยวิทยาเพศสภาพ * * * * * * * * * * * * * * * *
ม.614 มานุษยวิทยาการเมือง * * * * * * * * * * * * * * * *
ม.615 มานุษยวิทยาเศรษฐกิจ * * * * * * * * * * * * * * * *
ม.616 มานุษยวิทยาการแพทย์ * * * * * * * * * * * * * * * *
ม.617 มานุษยวิทยานิเวศน์ * * * * * * * * * * * * * * * *
4. ทักษะความสัมพันธ์ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิง
1. คุณธรรม
2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา ระหว่างบุคคลและ ตัวเลข สื่อสาร และการใช้
รายวิชา จริยธรรม
ความรับผิดชอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3
ม.618 วัฒนธรรมเมือง * * * * * * * * * * * * * * * *
ม.619 โบราณคดี * * * * * * * * * * * * * * * *
2. กลุ่มภาษา สัญลักษณ์ และจักรวาลวิทยา
ม.621 มานุษยวิทยาภาษา * * * * * * * * * * * * * * * *
ม.622 มานุษยวิทยาศาสนาและความเชื่อ * * * * * * * * * * * * * * * *
ม.623 พิธีกรรมวิเคราะห์ * * * * * * * * * * * * * * * *
3. กลุ่มชาติพันธุ์ศึกษาและอาณาบริเวณศึกษา
ม.631 ประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ของกลุ่มคน
* * * * * * * * * * * * * * * *
พูดภาษาตระกูลไต
ม.632 ฉานศึกษา * * * * * * * * * * * * * * * *
ม.633 มานุษยวิทยาเอเชียตะวันออก-
* * * * * * * * * * * * * * * *
เฉียงใต้
ม.634 มานุษยวิทยาเอเชียตะวันออก * * * * * * * * * * * * * * * *
4. กลุ่มการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม
ม.641 การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม * * * * * * * * * * * * * * * *
ม.642 พิพิธภัณฑ์ศึกษา * * * * * * * * * * * * * * * *
5. กลุ่มวัฒนธรรมร่วมสมัย
ม.651 วัฒนธรรมข้ามพรมแดนและโลกาภิวัตน์ * * * * * * * * * * * * * * * *

33
4. ทักษะความสัมพันธ์ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิง
1. คุณธรรม
2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา ระหว่างบุคคลและ ตัวเลข สื่อสาร และการใช้
รายวิชา จริยธรรม
ความรับผิดชอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3
ม.652 หลังชาวนาศึกษาในโลกสมัยใหม่ * * * * * * * * * * * * * * * *
ม.653 วัฒนธรรมการท่องเที่ยว * * * * * * * * * * * * * * * *
ม.654 วัฒนธรรมร่วมสมัยศึกษา * * * * * * * * * * * * * * * *
6. กลุ่มการศึกษาเฉพาะเรื่องและการศึกษาเอกเทศ
ม.691 สัมมนาปัญหาเฉพาะทางมานุษยวิทยา 1 * * * * * * * * * * * * * * * *
ม.692 สัมมนาปัญหาเฉพาะทางมานุษยวิทยา 2 * * * * * * * * * * * * * * * *
ม.693 สัมมนาปัญหาเฉพาะทางมานุษยวิทยา 3 * * * * * * * * * * * * * * * *
ม.700 การศึกษาเอกเทศ * * * * * * * * * * * * * * * *
3) วิทยานิพนธ์
ม.800 วิทยานิพนธ์ * * * * * * * * * * * * * * * *

34
หมวดที่ 5. หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา

1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ ในการให้ระดับคะแนน (เกรด)


1.1 การวัดผลการศึกษาแบ่งเป็น 9 ระดับ มีชื่อและค่าระดับต่อหนึ่งหน่วยวิชา
ดังต่อไปนี้

ระดับ A A- B+ B B- C+ C D F

ค่า
4.00 3.67 3.33 3.00 2.67 2.33 2.00 1.00 0.00
ระดับ

1.2 การนับหน่วยกิตที่ได้จะนับรวมเฉพาะหน่วยกิตลักษณะวิชาที่นักศึกษาได้
ค่าระดับ S หรือระดับไม่ต่ากว่า C เท่านั้น รายวิชาที่นักศึกษาได้ค่าระดับ D หรือ F ไม่ว่า
จะเป็นรายวิชาบังคับหรือรายวิชาเลือก ให้นามาคานวณค่าระดับเฉลี่ยสาหรับภาคการศึกษา
นั้นและค่าระดับเฉลี่ยสะสมทุกครั้งไป
1.3 นักศึกษาที่ได้ระดับ U ระดับ D หรือ ระดับ F ในรายวิชาใดที่เป็นรายวิชา
บังคับในหลักสูตร จะลงทะเบียนศึกษาซ้าในรายวิชานั้นได้อีกเพียง 1 ครั้ง และครั้งหลังนี้
จะต้องได้ค่าระดับ S หรือระดับไม่ต่ากว่า C มิฉะนั้นจะถูกถอนชื่อออกจากทะเบียน
นักศึกษา
รายวิชาที่ได้ค่าระดับตามความในวรรคแรกนั้น หากเป็นรายวิชาเลือก นักศึกษา
อาจจะลงทะเบียนศึกษาซ้าในรายวิชานั้นอีก หรืออาจจะลงทะเบียนศึกษารายวิชาเลือก
อื่นแทนก็ได้
นักศึกษาที่ได้ค่าระดับไม่ต่ากว่า C ในรายวิชาใด ไม่มีสิทธิจดทะเบียนศึกษาซ้า
ในรายวิชานั้นอีก เว้นแต่หลักสูตรจะกาหนดไว้เป็นอย่างอื่น
1.4 การวัดผลวิทยานิพนธ์ แบ่งเป็น 2 ระดับ คือระดับ S (ใช้ได้) และระดับ U
(ใช้ไม่ได้) หน่วยกิตที่ได้จะไม่นามาคานวณค่าระดับเฉลี่ย
1.5 การวัดผลสอบภาษาต่างประเทศ แบ่งเป็น 2 ระดับ คือระดับ P (ผ่าน) และ
ระดับN (ไม่ผ่าน) และไม่นับหน่วยกิต
1.6 เงื่อนไขอื่น ๆ ให้เป็นไปตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553

35
2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา
2.1 มีคณะกรรมการทวนสอบที่ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 1 ใน 3 คน
2.2 คัดเลือกรายวิชาทั้งวิชาบังคับและวิชาเลือกในสาขาวิชาตามเกณฑ์การคัดเลือก
ที่คณะกรรมการทวนสอบกาหนด
2.3 คณะกรรมการทวนสอบตรวจสอบผลการให้คะแนนกับข้อสอบรายงาน รายงาน
ประจาภาค และ/หรือ โครงงานอื่นๆที่ผู้เรียนได้รับมอบหมาย
2.4 กรณีวิทยานิพนธ์ ต้องปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
พ.ศ.2548 ของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ
เรื่องการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ และระเบียบ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยวิทยานิพนธ์ พ.ศ. 2535
3. เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
3.1 สอบผ่านรายวิชาต่าง ๆ ครบตามหลักสูตร มีหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า 39 หน่วยกิต
และปฏิบัติตามเงื่อนไขต่าง ๆ ที่กาหนดไว้ครบถ้วน
3.2 ได้ค่าระดับเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.00
3.3 ได้ค่าระดับ P (ผ่าน) ในการสอบภาษาต่างประเทศ ตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกาหนด
3.4 ได้ระดับ S ในการสอบวิทยานิพนธ์ โดยการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดย
คณะกรรมการที่คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาแต่งตั้ง และนาวิทยานิพนธ์ที่พิมพ์และเย็บเล่ม
เรียบร้อยแล้วมามอบให้มหาวิทยาลัยตามระเบียบ
3.5 ผลงานวิทยานิพนธ์จะต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยดาเนินการให้ผลงานหรือ
ส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการ หรือเสนอต่อ
ที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานการประชุม (proceeding)

หมวดที่ 6. การพัฒนาคณาจารย์
1. การเตรียมการสาหรับอาจารย์ใหม่
1.1 อาจารย์ใหม่ทุกคนเข้าโปรแกรมปฐมนิเทศที่ประกอบด้วย
1.1.1 บทบาทหน้าที่ของอาจารย์
1.1.2 สิทธิผลประโยชน์ของอาจารย์ และกฎระเบียบต่างๆ
1.1.3 หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนในคณะและกิจกรรมต่างๆของคณะ
1.2 คณะมอบหมายอาจารย์อาวุโสเป็นอาจารย์พี่เลี้ยง โดยมีหน้าที่
1.2.1 ให้คาแนะนาและการปรึกษาเพื่อเรียนรู้และปรับตัวเองเข้าสู่การเป็นอาจารย์ใน
คณะ

36
1.2.2 ร่วมสอนวิชาเดียวกันในวิชาที่คณะจะมอบหมายให้อาจารย์ใหม่รับผิดชอบสอน
ต่อไป
1.2.3 ประเมินและติดตามความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานของอาจารย์ใหม่
1.3 อาจารย์ทุกคนได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึงในด้านจัดการเรียนการสอนและความรู้
ที่ทันสมัย ตลอดจนการวิจัย โดยจัดกิจกรรมพัฒนาวิชาการภายในคณะและส่งเสริมให้เข้าร่วม
ประชุม สัมมนาและอบรมในสถาบันการศึกษาอื่น ดังนี้
1.3.1 สนับสนุนให้เข้าร่วมอบรม ประชุมวิชาการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
1.3.2 ศึกษาดูงาน อบรม ร่วมประชุมวิชาการในต่างประเทศ
1.3.3 สนับสนุนให้เป็นสมาชิกในหน่วยวิจัย (research unit) ของคณะ
1.3.4 ร่วมทีมวิจัยกับนักวิจัยอาวุโสในคณะ หรือภายนอกคณะ และตีพิมพ์ผลงาน
1.3.5 เข้าร่วมประชุมเสนอผลงานวิจัยทั้งในและต่างประเทศ

2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์
2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล
2.1.1 จัดระบบการประเมินผลด้านการสอนและการประเมินผลอย่างมีส่วนร่วม
ระหว่างผู้สอน ผู้บริหาร และผู้เรียน
2.1.2 จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อทบทวน/ประเมินผลการจัดการเรียนการสอน
2.1.3 สนับสนุนอาจารย์เข้าร่วมประชุมวิชาการและดูงานเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ
สอนและการประเมินผล
2.1.4 จัดอาจารย์พี่เลี้ยง (mentor) ให้แก่อาจารย์ใหม่
2.1.5 พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้านอื่นๆ
2.2.1 การให้อาจารย์มีส่วนร่วมในกิจกรรมบริการวิชาการแก่ชุมชน
2.2.2 ส่งเสริมการทาวิจัย สร้างองค์ความรู้ใหม่
2.2.3 ส่งเสริมให้อาจารย์เข้าร่วมอบรมทักษะปฏิบัติ

หมวดที่ 7. การประกันคุณภาพหลักสูตร

1. การบริหารหลักสูตร
ในการบริหารหลัก สูตร จะมี คณะกรรมการบัณฑิ ตศึก ษา อันประกอบด้วยรองคณบดี
ฝ่ายบัณฑิตศึกษา และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรรับผิดชอบ โดยมีคณบดีเป็นผู้กากับดูแลและ

37
คอยให้ คาแนะนา ตลอดจนกาหนดนโยบายปฏิบัติให้แก่อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเป็ นผู้กากับ
ดูแลและคอยให้คาแนะนา ตลอดจนกาหนดนโยบายปฏิบัติให้แก่อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จะวางแผนการจัดการเรียนการสอนร่วมกับผู้บริหารของ
คณะและอาจารย์ผู้สอน ติดตามและรวบรวมข้อมูล สาหรับใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร
โดยกระทาทุกปีอย่างต่อเนื่อง

เป้าหมาย การดาเนินการ การประเมินผล


1. พัฒนาหลักสูตรให้ 1. พิจารณาปรับปรุงหลักสูตรทุก - หลักสูตรสามารถอ้างอิงกับ
ทันสมัยเพื่อเป็นผู้นาใน 5 ปี หลักสูตรมาตรฐานได้
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ 2. กาหนดวุฒิการสอนของ - จานวนรายชื่อคณาจารย์
2. ตรวจสอบและ อาจารย์ผู้สอนตามเกณฑ์ของ และประวัติ
ปรับปรุงหลักสูตรให้มี สกอ. และเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัย - จานวนบุคลากรผู้สนับสนุน
คุณภาพมาตรฐาน กาหนด การศึกษา
3. ประเมินมาตรฐานของ 3. ส่งเสริมให้อาจารย์เป็นผู้นา - ผลการประเมินการสอน
หลักสูตรอย่างสม่าเสมอ ด้านวิชาการ ของอาจารย์
4. มีการประเมินหลักสูตรโดย - ประเมินหลักสูตรโดย
คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ภายในทุก 2 ปี และภายนอกอย่าง ภายในทุก 2 ปี
น้อยทุก 5 ปี - ประเมินหลักสูตรโดย
5. ประเมินความพึงพอใจของ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
หลักสูตรและการเรียนการสอน ภายนอกทุก 5 ปี
โดยมหาบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษา - ประเมินความพึงพอใจของ
หลักสูตรและการเรียน
การสอนโดยมหาบัณฑิตที่
สาเร็จการศึกษาทุก 2 ปี

2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน
2.1 การบริหารงบประมาณ
จัดสรรงบประมาณเพื่อจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานสากล
เช่น สัดส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์ต่อนักศึกษา 1 : 10

38
2.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนที่มีอยู่เดิม
อุปกรณ์การสอน : โครงการบัณฑิตศึกษาคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีอุปกรณ์
การเรียน การสอน ได้แก่ ห้องอ่านหนังสือที่มีหนังสือ ตารา วารสาร วิทยานิพนธ์ และเอกสาร
ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่เรียน ห้องปฏิบัติการวิจัย (คอมพิวเตอร์) ไว้ให้บริการแก่นักศึกษา
ตลอดจนมีโสตทัศนูปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องขยายเสียง เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ เครื่องฉาย ภาพนิ่ง
เครื่องฉายวีดีทัศน์ และเครื่อง LCD เป็นต้น
2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม
2.3.1 มีคณะกรรมการวางแผนจัดหาและติดตามการใช้ทรัพยากรการเรียน
การสอนของคณะ
2.3.2 ให้อาจารย์ผู้สอนและผู้เรียนเสนอรายชื่อตารา วารสาร หรือฐานข้อมูล
ในสาขาวิชา แล้วทางคณะกรรมการฯ รวบรวมเสนอสานักหอสมุดของมหาวิทยาลัยจัดซื้อ
2.3.3 คณะจัดสรรงบประมาณเพื่อจัดซื้อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ใหม่ๆ รวมทั้ง
สื่อต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ทางมานุษยวิทยา มาใช้ในการเรียนการสอน
2.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร
2.4.1 คณะกรรมการใน 2.3.1 วางแผนการประเมินอย่างมีส่วนร่วมกับผู้สอน
ผู้ใช้และบุคลากรที่รับผิดชอบทุกฝ่าย อย่างเป็นระบบ
2.4.2 ประเมินความเพียงพอจากความต้องการใช้ของอาจารย์ และผู้เรียน
2.4.3 จัดทาระบบติดตามการใช้ทรัพยากรทั้งตาราหลัก สิ่งพิมพ์ และสื่อต่างๆที่
เหมาะสมกับสถานการณ์ของคณะ และนาผลมาใช้ในการบริหารทรัพยากร

3. การบริหารคณาจารย์
3.1 การรับอาจารย์ใหม่
3.1.1 กาหนดคุณสมบัติอาจารย์ให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยและ
ความต้องการของหลักสูตร
3.1.2 ประกาศและเสาะหาผู้มีคุณสมบัติตามต้องการ
3.1.3 สืบค้นประวัติ และคุณสมบัติของผู้สมัครจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้อย่าง
เป็นระบบ และมีการตรวจสอบข้อมูลอย่างเป็นธรรม
3.1.4 ทดสอบความสามารถในการสอนและการใช้สื่อการศึกษา
3.1.5 เสนอแต่งตั้งและประเมินการปฏิบัติงานตามระเบียบของมหาวิทยาลัย

39
3.2 การมีส่วนร่วมของคณาจารย์ในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตร
3.2.1 อาจารย์ร่วมกับผู้เรียนประเมินรายวิชาเมื่อสิ้นสุดรายวิชาทุกรายวิชา
3.2.2 อาจารย์ร่วมในการสัมมนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนเมื่อสิ้นสุด
ปีการศึกษาทุกปี
3.2.3 อาจารย์เสนอข้อมูลต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพื่อรวบรวมและ
จัดทาร่างการปรับปรุงหลักสูตร
3.3 การแต่งตั้งคณาจารย์พิเศษ
3.3.1 การจัดจ้าง/เชิญอาจารย์พิเศษทาการสอน จะทาเฉพาะหัวข้อเรื่องที่ต้องการ
ความเชี่ยวชาญพิเศษ หรือในกรณีที่คณะฯ มีความจาเป็นเท่านั้น
3.3.2 คณะกรรมการบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา ผู้ อ านวยการบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษากลั่ น กรอง
ความต้องการเชิญอาจารย์พิเศษที่อาจารย์ในสาขาวิชาหรือผู้ประสานงานรายวิชาเสนอ พร้อมทั้ง
เสนอประวัติ รวมทั้งผลงานที่ตรงกับข้อที่จะสอนเพื่อเสนอคณบดีอนุมัติ
3.3.3 คณะกรรมการบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา ผู้ อ านวยการบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาพิ จ ารณาให้
ความเห็นชอบตามข้อ 2) ในกรณีที่มีความจาเป็นต้องการจัดจ้างอาจารย์พิเศษ เพื่อเสนอคณบดี
อนุมัติ
3.3.4 การจัดจ้างอาจารย์พิเศษ มีการวางแผนล่วงหน้าเป็นรายภาคการศึกษา
3.3.5 คณะกรรมการจัดให้มีการประเมินการสอนของอาจารย์พิเศษ

4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน
4.1 การกาหนดคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง
การกาหนดคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งให้เป็นไปตามความต้องการของคณะและ
นโยบายของมหาวิทยาลัย
4.2 การเพิ่มทักษะความรู้เพื่อการปฏิบัติงาน
4.2.1 จัดให้มีการทัศนศึกษาตามความเหมาะสม
4.2.2 ให้บุคลากรวางแผนความต้องการในการพัฒนาตนเองโดยรวบรวมเป็นแผน
ประจาปีเพื่อให้คณะสนับสนุนงบประมาณได้เหมาะสม
4.2.3 คณะมีหน่วยวิจัยสถาบันและวิจัยเพื่อพัฒนา โดยมีการสนับสนุน
งบประมาณประจาปี เช่นเดียวกับหน่วยวิจัยอื่น ๆ ตามความเหมาะสม

5. การสนับสนุนและการให้คาแนะนานักศึกษา
5.1 การให้คาปรึกษาด้านวิชาการ และอื่นๆ แก่นักศึกษา
5.1.1 คณะแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาให้แก่ผู้เรียนทุกคนพร้อมกาหนดบทบาทหน้าที่

40
5.1.2 คณะแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ เพื่อให้คาแนะนาและดูแล
นักศึกษาตลอดกระบวนการทาวิทยานิพนธ์
5.1.3 อาจารย์ทุกคนจัดทาตารางการทางานแสดงให้นักศึกษารับรู้
5.2 การอุทธรณ์ของนักศึกษา
ใช้หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัตติ ามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วย
วินัยนักศึกษา พ.ศ. 2547 หมวดที่ 4 เรื่องการอุทธรณ์

6. ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต


6.1 อัตราการได้งานทา/การศึกษาต่อ ของบัณฑิตใน 1 ปี หลังสาเร็จการศึกษาเท่ากับ
ร้อยละ 100
6.2 ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อคุณภาพบัณฑิตในภาพรวมไม่น้อยกว่า 3.5
จาก 5 โดยมีความพึงพอใจในด้านความสามารถทางวิชาการ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ
ความสามารถในด้านการใช้ภาษาอังกฤษ ในระดับไม่น้อยกว่า 4 จาก 5

7. ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators)


ดัชนีบ่งชี้ผลการดาเนินงาน ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ปีที่ 5
1) อาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้อย 80% มีส่วนร่วมในการวางแผน
    
ติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลักสูตร
2) มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบ
    
มาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ
3) มีรายละเอียดของรายวิชา ตามแบบ มคอ.3 อย่างน้อยก่อนการเปิด
    
สอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
4) จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา ตามแบบ มคอ.5
ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุก     
รายวิชา
5) จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7
   
ภายใน 60 วันหลังสิ้นสุดปีการศึกษา
6) มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้
    
ที่กาหนดใน มคอ.3 อย่างน้อย 25% ของรายวิชาที่เปิดสอนแต่ละปี
7) มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน
หรือ การประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการประเมินการดาเนินงาน    
ที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว

41
ดัชนีบ่งชี้ผลการดาเนินงาน ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ปีที่ 5
8) อาจารย์ใหม่ทุกคนได้รับการปฐมนิเทศหรือคาแนะนาด้านการ
    
จัดการเรียนการสอน
9) อาจารย์ประจาหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/
    
หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
10) จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอนได้รับการพัฒนา และ/
    
หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 50% ต่อปี
11) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อ
   
คุณภาพหลักสูตรเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0
12) ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อคุณภาพของบัณฑิต
 
เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0
13) มีอาจารย์รับผิดชอบหลักสูตร ตามเกณฑ์ของสานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา     

14) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน และ


ทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5     
จากคะแนนเต็ม 5.0

หมวดที่ 8. การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของหลักสูตร

1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน
1.1 การประเมินกลยุทธ์การสอน
คณะจัดให้มีการประเมินรายวิชา ประเมินการสอนและประเมินผลสัมฤทธิ์ของแต่ละ
รายวิชา โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรจะพิจารณาโดยเปรียบเทียบกับ รายละเอียดหลักสูตร
และรายวิชา
1.2 การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอน
1.2.1 ผู้เรียนประเมินการสอนของอาจารย์ทุกคน เมื่อสิ้นสุดรายวิชา และส่งตรง
ต่อคณะโดยใช้แบบประเมินการสอนตามที่กาหนด
1.2.2 ผลการประเมิน (feedback) ส่งตรงต่ออาจารย์และผู้อานวยการบัณฑิตศึกษา
ของคณะฯ เพื่อปรับปรุงต่อไป

42
1.2.3 คณะรวบรวมผลการประเมินที่เป็นความต้องการในการปรับปรุงทักษะ
การสอนและวางแผนการพัฒนาให้สอดคล้องและ/หรือปรับปรุงกลยุทธการสอนให้เหมาะสมกับ
รายวิชา และสถานการณ์ของคณะ

2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม
2.1 โดยนักศึกษาและบัณฑิต
2.1.1 แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหลักสูตรที่ประกอบด้วยตัวแทนสาขาวิชา
ตัวแทนผู้เรียนปัจจุบัน
2.1.2 คณะกรรมการฯ วางแผนการประเมินหลักสูตรอย่างเป็นระบบ
2.1.3 ดาเนินการสารวจข้อมูลเพื่อประกอบการประเมินหลักสูตรจากผู้เรียน
ปัจจุบันทุกชั้นปีและจากผู้สาเร็จการศึกษาที่ผ่านการศึกษาในหลักสูตร
2.2 โดยผู้ทรงคุณวุฒิ และ/หรือจากผู้ประเมินภายนอก
คณะกรรมการประเมินหลักสูตร ทาการวิเคราะห์และประเมินหลักสูตรในภาพรวมและ
ใช้ข้อมูลย้อนกลับของผู้เรียน ผู้สาเร็จการศึกษา ผู้ใช้บัณฑิต เพื่อประกอบการประเมิน
2.3 โดยผู้ใช้บัณฑิต และ/หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ
ติดตามบัณฑิตใหม่โดยสารวจข้อมูลจากนายจ้าง และ/หรือผู้บังคับบัญชา
โดยแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์

3. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร
ให้ประเมินตามตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานที่ระบุไว้ในหมวด 7 ข้อ 7 โดยคณะกรรมการ
ประเมินอย่างน้อย 3 คน ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิในสาขา/สาขาวิชาเดียวกันอย่างน้อย 1 คน

4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง
- คณะกรรมการประเมินหลักสูตรของคณะจัดทารายงานการประเมินผล และเสนอ
ประเด็นที่จาเป็นในการปรับปรุงหลักสูตร
- จัดประชุมสัมมนาเพื่อการปรับปรุงหลักสูตร
- เชิญผู้ทรงคุณวุฒิอ่านหลักสูตรและให้ข้อเสนอแนะ

43

You might also like