You are on page 1of 3

Additional sheet : Cell-cell communication Printable, med-kku.

com Edition
: Membrane Receptor + other enlarged illustration
By โอธ FT MED38
กลไกของโรคดังกล่าว เกิดจากการสร้างสารพิษซึงไปรบกวนการ
เนื อ หาบางส่ วนในไฟล์ ชีทที อ.ละเอี ยดแจก (พาวเวอร์ พอนต์ ) มีขนาดเล็ก
ทํางานของจีโปรตีน ในทางยา กว่า 60% ก็ออกฤทธิAผา่ นวิถีน ี
และยากต่ อการทําความเข้ าใจ ผมจึ งได้ ค้นคว้ า และแปลเนื อ หาส่ วนที สาํ คัญใน
เรื อง Membrane receptor มาให้ เพือนๆอ่ านทําความเข้ าใจเพิมเติม
ในชี ทเสริ มฉบับนี เ ป็ นฉบับแรก รวมถึงผมไม่ เชี ยวชาญด้ านภาษามากนัก
จึ งอาจทําออกมาได้ ไม่ ดีเท่ าที ควร ขออภัยมา ณ ที นี และหากเพือนๆมีข้อสงสั ย
หรื อพบข้ อผิดพลาดประการใด กรุ ณาแจ้ งผมเพือปรั บปรุ ง (โอธ 2553)

โมเลกุลสัญญาณทีละลายนําได้ส่วนใหญ่ จะจับกับบริเวณ
จําเพาะของโปรตีนตัวรับซึงฝังอยูใ่ นเยือ หุม้ เซลล์ หลังจากจับ  จีโปรตีนเกาะอยูด่ า้ นไซโตพลาสซึ มอย่างหลวมๆ ทําหน้าทีเหมือนสวิทซ์
สัญญาณแล้ว โปรตีนตัวรับดังกล่าวก็จะส่งสัญญาณ (ทีแปลงแล้ว) เปิ ดปิ ด ซึ งขึนกับ GDP-GTP (GTP เป็ นสารพลังงานสู งชนิ ดหนึ ง หากงง
ให้เพือนนึ กถึง ATP) จีโปรตีนจะไม่ทาํ งานเมือเกาะอยูก่ บั GDP การทํางาน
ไปยังส่วนต่างๆของเซลล์เพือตอบสนองต่อสัญญาณต่อไป
ของจีโปรตีนมักต้องอาศัยเอนไซม์ดว้ ย
โปรตีนตัวรับ (Receptor Protein) แบ่งได้เป็ น 3 ประเภท
ใหญ่ๆด้วยกัน
1. G-protein-linked receptor
2. Receptor tyrosine kinase
3. ion channel receptor
 G-protein-link receptor
 เมือมีโมเลกุลสัญญาณทีเหมาะสมมาเกาะกับตัวรับทีดา้ นนอก ตัวรับจะ
โปรตีนนีเป็ นโปรตีนตัวรับ
ทํางานและเปลียนแปลงรู ปร่ าง ในด้านในเซลล์ตวั รับจะจับกับจีโปรตีน
บนเยือ หุม้ เซลล์ซ ึงทําหน้าที เหนี ยวนําให้ GTP มาเกาะแทน GDP
ร่ วมกับโปรตีนจี (G protein)
โมเลกุลสัญญาณจํานวนมาก
เช่น แฟกเตอร์สืบพันธุ์ของยีสต์
(yeast mating factor) ,อิพิ
เนฟฟี น (epinephrine),
ฮอร์โมนหลายชนิด และสารสื อ
ประสาทใช้ g-protein-linked receptor ในการถ่ายทอด
 เมือโมเลกุลสัญญาณหลุดออกจากตัวรับ จีโปรตีนก็จะหลุดจากตัวรับด้วย
สัญญาณ
และเข้าจับกับเอนไซม์ก่อให้เกิดการตอบสนองทีหลากหลาย เมือเอนไซม์ทาํ งาน
โปรตีนตัวรับชนิดนี (G-protein-link receptor) มีส่วนรับ กระบวนการตอบสนองของเซลล์ก็เริ มต้นขึน
(binding site)ทีหลากหลาย เพือจดจําโมเลกุลสัญญาณ และจดจํา
จีโปรตีนด้วย อย่างไรก็ตาม โครงสร้างพืนฐานของมันก็เหมือนกัน
มาก โดยจะประกอบด้วย เกลียวแอลฟา 7 เกลียว ดังแสดงในรู ป
ข้างบน
เพือนๆจะสังเกตเห็น loop ทีเชือมต่อกันระหว่างเกลียวทัง 7
loop ดังกล่าวนี เองทีใช้เป็ น binding site ของโมเลกุลสัญญาณ
(ใน interstitial fluid สี ฟ้า) หรื อของจีโปรตีน (ในด้าน cytosol
 การทํางานของเอนไซม์น นั ชัว คราว เพราะตัวจีโปรตีนเองนันก็ทาํ หน้าทีเป็ น
สี ครี ม)
GTPase (เอนไซม์ยอ่ ยหมู่ฟอสเฟตของ GTP) เมือหมู่ฟอสเฟตของ GTP
ตัวรี บชนิดนีสาํ คัญมากต่อการรับสัมผัสต่างๆ ตลอดจนเกียวข้อง หลุดออก GTP กลายเป็ น GDP วิถีก็จะหยุดเพือรอสัญญาณตัวต่อไป
กับโรคหลายชนิด การติดเชือแบคทีเรี ยซึงก่อโรค Cholera,
Pertussis, Botulism และอืนๆ
 Receptor tyrosine kinase  การรวมกันดังกล่าว (dimerization) กระตุน้ ให้เกิดส่ วน tyrosine-
โปรตีนตัวรับแบบนีสามารถกระตุน้ กระบวนการการแปลง kinase ขึนทังสองขาของสาย ไทโรซี นไคเนสเริ มดึงหมู่ฟอสเฟตจาก ATP
สัญญาณได้หลายวิถีในครังเดียว ช่วยให้เซลล์ควบคุม ประสานงาน ไปยังไทโรซี นของขาอีกข้าง
เติบโต และสืบพันธุ์ได้อย่างสมดุลและพร้อมเพรี ยง
ไคเนส (kinase) จากการเรี ยนในคลาสต้นๆเพือนคงรู ้วา่ มันคือ
เอนไซม์ในการย้ายหมู่ฟอสเฟต โปรดสังเกตส่วนทียนื ออกมาในไซ
โตพลาสซึม ส่ วนนีทาํ งานเป็ น tyrosine kinase ซึงช่วยในการ
ย้ายหมู่ฟอสเฟตจาก ATP ไปยังกรดอะมิโนของโปรตีนสารตังต้น
ตัวรับไทโรซีนไคเนสเพียง 1 ตัวนันสามารถขยายสัญญาณได้มาก
ขึน 10 วิถีทีแตกต่างกัน (หรื อมากกว่านัน) ความสามารถในการ
ตอบสนองจํานวนมากในครังเดียวนีเองทีแยกตัวรับแบบนีออกจาก
แบบ G-protein-link  ขณะนี ตวั รับอยูใ่ นสภาวะพร้อมทํางานแล้ว จะมีโปรตีนส่ งต่อทีจาํ เพาะมาจับ
ตัวรับ (Relay protein) โปรตีนแต่ละตัวจะจับกับไทโรซี นทีเติมฟอสเฟต
ความผิดปกติของตัวรับแบบนีเองทีก่อให้เกิดมะเร็ งหลายชนิด
แล้ว และโปรตีนเหล่านันก็จะส่ งสัญญาณไปยังวิถีต่างๆเพือการตอบสนองของ
เซลล์ต่อไป
* Dimerization คือการสร้าง dimer ซึง dimer สร้าง
จาก monomer โดยกระบวนการ dehydration นัน เอง

 Ion channel receptor


ลิแกนเกท ไอออนแชนเนล (ligand-gated ion
channel) เป็ นรู ปแบบหนึงของตัวรับชนิ ดนี ตัวรับแบบนีคือบริ เวณ
ทีจะสามารถกลายเป็ นช่อง (gate) ให้ไออนผ่านได้เมือถูกกระตุน้
นัน เอง เมือโมเลกุลสัญญาณเข้าจับกับตัวรับเพือทําหน้าทีเป็ น
 ตัวรับไทโรซี นไคเนสโดยส่ วนมากจะมีลกั ษณะดังแสดงในภาพ ก่อน
ligand ** ช่องจะเปิ ด (หรื อปิ ด) ทําให้ไออนสามารถ (หรื อยับยัง)
โมเลกุลสัญญาณจะมาจับ ตัวรับแยกกันอยู่ โปรดสังเกตว่าด้านนอกเซลล์ ตัวรับ
แต่ละตัว จะมี binding site ของมัน มี α-helix ฝังระหว่างเยือ หุ้มเซลล์
ไหลเข้าสู่เซลล์ผา่ นช่องนี ไออนดังกล่าวได้แก่ Na+ ,Ca2+ เป็ นต้น
และมีหางของไทโรซี นประกอบกัน
 รู ปนี แสดงลีแกน-เกทไออน
แชนเนลขณะทีปิดอยู่ จนกว่าจะมีลิ
แกนมาจับกับตัวรับ

 เมือลิแกนมาจับกับตัวรับ
และช่องเปิ ดออก ไออนทีจาํ เพาะต่อ
 การจับของสัญญาณ (เช่น growth factor) จะทําให้ตวั รับทังคู่รวมเข้าหา
ช่องนี จะไหลผ่านช่องนี และเปลียน
กัน สร้างเป็ นไดเมอร์ (dimerization * )
แปลงความเข้มข้นในเซลล์อย่าง
รวดเร็ ว การเปลียนแปลงนีจะส่ งผลกระทบต่อเซลล์ทางใดทางหนึ ง (อาจ
ก่อให้เกิดการตอบสนองของเซลล์)
 เมือลิแกนหลุดออก ช่องก็ปิด ไออนก็
จะหลุดไหล

ตัวรับแบบนีมีความสําคัญอย่างมาก
กับระบบประสาท เช่นการส่ง
สัญญาณประสาทผ่านไซแนปส์
ในบางกรณี ตวั รับดังกล่าวอาจจะใช้ความต่างศักย์ทางไฟฟ้ าแทน
การจับของลิแกนก็ได้
** ligand เป็ นสารทีจะเพาะต่อ bind site ของตัวรับ เมือจับจะ
ทําให้ช่องของตัวรับเปิ ดหรื อปิ ด อาจกล่าวได้วา่ ligand ทําหน้าที
คล้ายกุญแจนัน เอง

เป็ นไงบ้ างครั บเพื อนๆ พอจะอ่ านกันรู้ เรื องไหมเอ่ ย ถ้ าชอบเดี<ยวโอกาส
หน้ าจะแปลมาให้ อ่านกันอี กนะครั บ เอกสารฉบับนี เ พือการศึ กษาเท่ านัน ไม่ มี
เจตนาละเมิดลิขสิ ทธิ> แต่ ประการใด
ขอบคุณหนังสื อ Text book หลายๆเล่ ม ที เป็ นหลักคื อ biology ของ
Campbell & Reece Ed7 ขอบคุณเพือนๆที ใจดี ให้ ความร่ วมมือ ให้
ช่ วยเหลือดูแลกันมาตลอด ขอบคุณภาษาอังกฤษที กระท่ อนกระแท่ นที ทาํ ให้ งาน
นี ส าํ เร็ จได้ โดยหวุดวิด ขอบคุณพีๆและชี ทตกทอดของสาย 132 และสุดท้ ายนี 
ขอขอบคุณครู บาอาจารย์ ทุกท่ านที ประสิ ทธิ ประสาทความรู้ ให้ ผมครั บ
ขอบคุณจากใจครั บ : ) FT

You might also like