You are on page 1of 46

การใชยาในการบำบัดรักษา

ผูติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน
Pharmacological Treatment in Methamphetamine Abusers

ʹѺʹعâ´Â
á¼¹§Ò¹ÇÔªÒ¡ÒþѲ¹ÒÃٻẺ¡ÒôÙáżٌàʾÊÒÃàʾμԴ㹪ØÁª¹
á¼¹§Ò¹¡ÒþѲ¹ÒÃкº¡ÒôÙáżٌÁÕ»˜ÞËÒ¡Òô×èÁÊØÃÒ (¼ÃÊ.)
การทบทวนองคความรู เรื่อง

การใชยาในการบำบัดรักษาผูติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน
Pharmacological Treatment in Methamphetamine Abusers

เรียบเรียงโดย
ผูชวยศาสตราจารย แพทยหญิงสุรินทรพร ลิขิตเสถียร
ศาสตราจารย นายแพทยมานิต ศรีสุรภานนท

ISBN : 978-974-296-807-6

สนับสนุนโดย
แผนงานวิชาการพัฒนารูปแบบการดูแลผูเสพสารเสพติดในชุมชน
แผนงานการพัฒนาระบบการดูแลผูมีปญหาการดื่มสุรา (ผรส.)
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.)
พิมพ เผยแพร และสงวนลิขสิทธิ์โดย
แผนงานวิชาการพัฒนารูปแบบการดูแลผูเสพสารเสพติดในชุมชน
ชั้น 2 อาคารฟนฟูสมรรถภาพ โรงพยาบาลสวนปรุง
เลขที่ 131 ถนนชางหลอ ตำบลหายยา อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50100
โทรศัพท 0 5328 0228 ตอ 60236, 60525 โทรสาร 0 5327 3201
มือถือ 08 0491 0505, 08 0500 2140
www.i-mapthailand.org
พิมพครั้งที่ 1 : พฤษภาคม 2556
จำนวน : 44 หนา
จำนวนที่พิมพ : 1,000 เลม
ออกแบบ/พิมพที่ : วนิดาการพิมพ โทรศัพท 0 5311 0503-4, 08 1783 8569
ขอมูลคนควา :
สุรินทรพร ลิขิตเสถียร, มานิต ศรีสุรภานนท. การทบทวนองคความรูเรื่อง การใชยาในการบำบัดรักษาผูติดสารเสพติด
กลุมแอมเฟตามีน. เชียงใหม: แผนงานวิชาการพัฒนารูปแบบการดูแลผูเสพสารเสพติดในชุมชน; 2556.

เอกสารนีเ้ ผยแพรเปนเอกสารสาธารณะ ไมอนุญาตใหจดั เก็บ ถายทอด ไมวา ดวยรูปแบบหรือวิธกี ารใดๆ ดวยกระบวนการทางอิเล็กทรอนิกส


การถายภาพ การบันทึก การสำเนา หรือวิธีการอื่นใดเพื่อวัตถุประสงคทางการคา หนวยงานหรือบุคคลที่มีความสนใจ สามารถติดตอ
ขอรับการสนับสนุนเอกสารไดทแี่ ผนงาน ผรส. โทรศัพท 0 5328 0228 ตอ 60236, 60525 โทรสาร 0 5327 3201 หรือดาวนโหลดขอมูล
ไดที่ www.i-mapthailand.org
¤Ó¹ÔÂÁ

Pharmacological Treatment in Methamphetamine Abusers


สารกระตุนประสาทกลุมแอมเฟตามีนมีการระบาดไปทั่วโลก เมทแอมเฟตามีนเปนสารเสพติด
ทีใ่ ชมากเปนอันดับหนึง่ มาตลอดกวา 10 ปในประเทศไทย การบำบัดรักษาผูเ สพติดสารกระตุน ประสาท
กลุม แอมเฟตามีนเปนภาระสำคัญของระบบบริการสุขภาพ อยางไรก็ตาม จนถึงปจจุบนั วิธกี ารบำบัดรักษา
ยังจำกัดเฉพาะการบำบัดทางจิตสังคม (psychosocial treatment) ที่มีหลักฐานแสดงประสิทธิผล
การรักษา ในขณะที่การบำบัดรักษาดวยยายังขาดองคความรูที่ชัดเจน
ในระยะหลายปที่ผานมา ความรูวิชาการดานการบำบัดรักษาผูติดสารเสพติดกระตุนประสาท
กลุมแอมเฟตามีนดวยยามีความกาวหนาไปมากทั้งในและตางประเทศ มีการศึกษาวิจัยหลากหลาย
ที่พยายามทดสอบประสิทธิผลของยาเพื่อลดอาการอยากยา (craving) เพื่อลดการเสพ หรือเพื่อเพิ่ม
อัตราการคงการรักษา อีกทั้งในทางปฏิบัติ แพทยผูรักษาไดมีความพยายามใชยาบางชนิดเพื่อหวังผล
ในการควบคุมพฤติกรรมการเสพ หรือเพื่อรักษาโรคจิตเวชที่พบรวม เชน ซึมเศรา โรคจิต แตยังไมมี
องคความรูเชิงประจักษในดานการบำบัดรักษาผูติดสารเสพติดกระตุนประสาทกลุมแอมเฟตามีน
ดวยยาที่ผานการทบทวนอยางเปนระบบและสามารถปรับใชในประเทศไทย
แผนงานวิชาการพัฒนารูปแบบการดูแลผูเสพสารเสพติดในชุมชน ภายใตการสนับสนุนของ
สำนักสนับสนุนการสรางสุขภาวะและลดปจจัยเสี่ยงหลัก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริม
สุขภาพ (สสส.) ไดเล็งเห็นถึงปญหาดังกลาว จึงไดจัดใหมีการทบทวนองคความรูเรื่อง “การใชยา
ในการบำบัดรักษาผูต ดิ สารเสพติดกลุม แอมเฟตามีน” โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ ทบทวนความรูเ กีย่ วกับ
ประสิทธิผลของยาในการรักษา amphetamine dependence, ยาที่ใชในการบำบัดรักษา amphetamine
withdrawal/amphetamine psychosis ซึ่งแผนงานฯ หวังวา เอกสารวิชาการฉบับนี้จะเปนประโยชน
ตอบุคลากรสุขภาพโดยเฉพาะแพทย ในการใชหลักฐานวิชาการเชิงประจักษเพื่อตัดสินใจใหการบำบัด
รักษาดวยยาในผูติดสารเสพติดกระตุนประสาทกลุมแอมเฟตามีนควบคูไปกับการบำบัดทางจิตสังคม
ซึง่ จะชวยใหผปู ว ยใหความรวมมือในกระบวนการรักษา ปรับวิถชี วี ติ ทีเ่ อือ้ ตอการลด ละ เลิกสารเสพติด
และลดโอกาสในการกลับไปเสพซ้ำไดในที่สุด

แพทยหญิงพันธุนภา กิตติรัตนไพบูลย
ผูจัดการแผนงานวิชาการพัฒนารูปแบบการดูแลผูเสพสารเสพติดในชุมชน
¡ÔμμÔ¡ÃÃÁ»ÃСÒÈ
ขอขอบคุณผูจัดการแผนงานวิชาการพัฒนารูปแบบการดูแลผูเสพสารเสพติดในชุมชนและ
คณะที่ปรึกษาดานวิชาการของแผนงานฯ ที่สนับสนุนงบประมาณ ใหคำปรึกษา บทวิพากษ และ
¡ÒÃ㪌ÂÒ㹡ÒúӺѴÃÑ¡ÉÒ¼ÙŒμÔ´ÊÒÃàʾμÔ´¡ÅØ‹ÁáÍÁà¿μÒÁÕ¹

ขอเสนอแนะทีเ่ ปนประโยชนตอ เอกสารทบทวนความรูเ รือ่ ง “การใชยาในการบำบัดรักษาผูต ดิ สารเสพติด


กลุมแอมเฟตามีน” ฉบับนี้
• แพทยหญิงพันธุนภา กิตติรัตนไพบูลย
ผูอำนวยการสำนักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
ÊÒúÑÞ

Pharmacological Treatment in Methamphetamine Abusers


º·¹íÒ ................................................................................................................................................... 1
• วัตถุประสงค .............................................................................................................................. 3
• วิธีการดําเนินงาน ....................................................................................................................... 4
¼Å¡Ò÷º·Ç¹Í§¤¤ÇÒÁÃÙŒ ................................................................................................................... 5
ประสิทธิผลของยาในการรักษา amphetamine dependence......................................................... 5
• กลุมยากระตุนประสาท ................................................................................................................ 6
• กลุมยาตานซึมเศรา ................................................................................................................... 12
• กลุมยาอื่นๆ.............................................................................................................................. 17
• กลุมการใชยารวมกัน ................................................................................................................. 20
การใชยาเพื่อบําบัดรักษา amphetamine withdrawal................................................................... 23
• ยา Mirtazapine ......................................................................................................................... 24
• ยา Amineptine ......................................................................................................................... 25
• ยา Lisuride ............................................................................................................................... 26
การใชยาเพื่อบําบัดรักษา amphetamine psychosis .................................................................... 27
• ยา Droperidol ........................................................................................................................... 28
• ยา Olanzapine และ Haloperidol ............................................................................................... 28
º·ÊÃØ»................................................................................................................................................29
ºÃóҹءÃÁ ......................................................................................................................................31
º·ÊÃØ»ÊÓËÃѺ¼ÙŒºÃÔËÒÃ
¡ÒÃ㪌ÂÒ㹡ÒúӺѴÃÑ¡ÉÒ¼ÙŒμÔ´ÊÒÃàʾμÔ´¡ÅØ‹ÁáÍÁà¿μÒÁÕ¹

การเสพติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีนเกิดจากปฏิสัมพันธระหวางปจจัยหลายดานทั้งทาง
รางกาย จิตใจ และสังคม สารเสพติดกลุมนี้เปนสารเสพติดผิดกฎหมาย แมการปราบปรามผูคา
โดยลงโทษอยางเด็ดขาดก็ยังไมไดทำใหปญหานี้หมดไป ผูติดสารเสพติดซึ่งถือวาเปนผูปวยจึงตองได
รับการบำบัดรักษาแบบองครวมที่สงผลตอปจจัย 3 ดานดังกลาว ธรรมชาติของผูติดสารเสพติดจะมี
พฤติกรรมการเสพและเลิกเสพ เปนเชนนี้ซ้ำกลับไปกลับมา การบำบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพจิตใจ
จึงใชเวลานานและหลายครั้ง แมการรักษาทางจิตสังคมจะเปนการรักษาหลักในผูปวยติดสารเสพติด
กลุมแอมเฟตามีน แตการใชยารวมดวยอาจชวยใหการรักษามีประสิทธิภาพดีขนึ้ ดังเชนการใชยาในการ
รักษาผูติดสุรา บุหรี่ และสารกลุมโอปออยดรวมกับจิตสังคมบำบัดซึ่งพบวาทำใหอัตราการเลิกไดสำเร็จ
สูงขึ้น ลดความเสี่ยงจากการใชสารแบบอันตราย และชวยใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น อยางไรก็ตาม
ปจจุบันยังไมมียาชนิดใดที่ไดรับการรับรองในการรักษาผูเสพติดสารแอมเฟตามีน
ผูนิพนธไดรวบรวมหลักฐานทางวิชาการโดยเฉพาะอยางยิ่งชนิด randomized-controlled trials
ซึง่ จัดวาเปนหลักฐานทางวิชาการทีไ่ ดรบั ความเชือ่ ถือสูงสุดในดานการบำบัดรักษา ในชวง 20 ปทผี่ า นมา
(ค.ศ.1991-2011) โดยพิจารณาถึงองคความรู 3 ประเด็น คือ การบำบัดรักษาการเสพติดสารเสพติด
กลุ ม แอมเฟตามีน , การรัก ษาอาการถอน และการรัก ษาอาการโรคจิ ต ที่ เ กิ ด จากสารเสพติด กลุ ม
แอมเฟตามีน
ผลการทบทวนพบวา
ยา d-amphetamine อาจชวยลดอาการถอนยา MA และความรุนแรงของการเสพติดยาได
แตไมสามารถลดอัตราการใช MA ได
ยา methylphenidate อาจมีประสิทธิผลในการลดการใช MA (มีผลการตรวจ MA ในปสสาวะ
เปนลบ) ในผูปวย MA dependence ชนิดฉีดเขาเสน
Pharmacological Treatment in Methamphetamine Abusers
ยา bupropion อาจชวยลดการเสพ MA ลงไดบางในกลุมที่ใช MA ปริมาณนอย
การใหยา mirtazapine รวมกับการใหคำปรึกษาเกี่ยวกับการใชสารเสพติด (substance use
counseling) มีประสิทธิผลในการลดการใช MA (มีผลการตรวจ MA ในปสสาวะเปนลบ) ในผูปวย MA
dependence ในชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศที่ลดลงสัมพันธกับผลการตรวจหา
MA ในปสสาวะที่เปนลบ
ยา naltrexone ชวยลดการเสพ MA (มีผลการตรวจปสสาวะที่เปนลบ) ลงไดและชวยใหมี
การหยุดเสพตอเนื่อง แตไมพบวายานี้มีประโยชนเมื่อใหรวมกับยา N-acetyle cysteine (NAC)
จากองคความรูดังกลาวจะเห็นไดวา ยังไมมียาใดที่มีประสิทธิผลอยางชัดเจนในการบำบัด
รักษาการเสพติดหรือการรักษาอาการถอนสารเสพติดกลุม แอมเฟตามีน การใชยารักษาโรคจิตชวงสัน้ ๆ
อาจชวยลดอาการโรคจิตที่เกิดการใชสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีนได การรักษาทางจิตสังคมจึงยังเปน
สิ่งจำเปนและควรใหการบำบัดทางจิตสังคมแกผูติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีนทุกราย
เนือ่ งดวยรูปแบบการใชสารเสพติดกลุม แอมเฟตามีนของคนไทยมีความแตกตางจากชาวตางชาติ
ดังนั้นการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมเพื่อคนหาแนวทางการบำบัดรักษาผูติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน
ในบริ บ ทของคนไทยยั ง เป น สิ่ ง สำคั ญ และจำเป น ไม ว า จะมี ก ารค น พบยาสำหรั บ การบำบั ด รั ก ษา
ผูติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีนในตางประเทศแลวหรือไมก็ตาม
1

º·¹Ó
แอมเฟตามีน (amphetamine) มีองคประกอบทางเคมีวา methylated phenylethylamine
สวนเมทแอมเฟตามีน (methamphetamine หรือ MA) มีองคประกอบทางเคมีที่คลายกัน
คือ double methylated phenylethylamine ซึ่ง methylation ทั้งสองนี้ทำให MA ออกฤทธิ์
ตอรางกายของผูเ สพไดรนุ แรงกวาแอมเฟตามีนและเปนสารกลุม แอมเฟตามีนทีน่ ยิ มใชทวั่ โลก
รวมทั้งประเทศไทยดวย นอกจากนี้ในระยะหลังคำวา “แอมเฟตามีน” ยังมักถูกใชเรียก
กลุม สาร เชน amphetamines หรือ amphetamine-type stimulants (ATS) แมวา แอมเฟตามีน
และ MA จะเปน ATS ที่มีการใชบอย แต ATS ก็อาจรวมถึงสารอื่นๆ อีกหลายตัวดวย เชน
methcathinone, fenetylline, ephedrine, pseudoephedrine, methylphenidate
และ MDMA (ecstasy)1 จากเหตุผลดังกลาว คำวา MA จึงเปนคำหลักที่ใชในบทความนี้
MA เปนสารเสพติดผิดกฎหมาย (illicit drug) ที่มีการใชอยางแพรหลายทั่วโลก
โดยเฉพาะกลุมประเทศในแถบเอเชีย เอเชียตะวันตกเฉียงใต และออสเตรเลีย2 จากอดีต
ที่ผานมาฝนและเฮโรอีนจัดวาเปนยาเสพติดผิดกฎหมายที่มีการใชบอยในประเทศไทย
แตผลการศึกษาในระยะหลังพบวา ความชุกชั่วชีวิต (lifetime prevalence) ของการใช MA
ในประชากรไทยสูงกวาการใชฝนและเฮโรอีนอยางชัดเจน (รอยละ 1.7 ตอรอยละ 0.7)3
ปญหาระยะยาวของการใช MA มีหลายประการ โดยเฉพาะ
1. ป ญ หาทางกาย เช น ภู มิ คุ ม กั น ลดลงจากภาวะทุ พ โภชนาการ สมองเสื่ อ ม
การทำลายอวัยวะตางๆ ของรางกายเนือ่ งจากการติดเชือ้ เสือ่ มสมรรถภาพทางเพศ โรคของ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด4
2. ปญหาทางจิต เชน การปวยเปนโรคจิต (psychosis) การซึมเศรา และความคิด
ฆาตัวตาย5 โดยเฉพาะผูปวย MA psychosis ชาวไทย ซึ่งผลการติดตามในชวง 6-7 ปหลัง
การรับไวรักษาในโรงพยาบาลเนื่องจากอาการโรคจิต พบวาผูปวยสวนใหญมักมีสุขภาพ
ไมดี เชน เสียชีวิตกอนวัยอันควร มีการกลับปวยของอาการโรคจิตบอยๆ มีการปวย
เปนโรคจิตเรื้อรัง มีอัตราการติดสุราและฆาตัวตายสูง6

แผนงานวิชาการพัฒนารูปแบบการดูแลผูเสพสารเสพติดในชุมชน
2

MA มีฤทธิ์ในการเสพติดสูง เมื่อเขาสูรางกายจะมีฤทธิ์ตอสมอง ออกฤทธิ์กระตุน


ระบบประสาทสวนกลาง การเสพในขนาดต่ำทำใหรูสึกสดชื่น ผอนคลาย ไมงวงนอน
สมาธิดี ความอยากอาหารลดลง และมั่นใจในตนเองมากขึ้น การใชในขนาดสูงทำใหเกิด
การทำงานเพิ่มขึ้นของระบบประสาทอัตโนมัติ (autonomic hyperactivity) กระสับกระสาย
วิ ต กกั ง วล มึ น งง ใจสั่ น และเหงื่ อ ออกมาก สำหรั บ ผู ที่ เ สพในปริ ม าณมากและ/หรื อ
เปนเวลานาน เมื่อหยุดเสพมักมีอาการถอนยาซึ่งมักรุนแรงมากที่สุดใน 24 ชั่วโมงแรก
หลั ง หยุด เสพ แต อ าการอาจคงอยู ไ ด น านหลายสั ป ดาห 7 อาการถอนยาที่ ส ำคั ญ คื อ
อารมณหงุดหงิดหรือซึมเศรา ออนเพลีย เชื่องชา เซื่องซึม อาจนอนมากหรือนอนไมหลับ
อยากอาหารมากขึ้น และอยากยา ในรายที่มีอาการถอนยารุนแรงอาจมีอารมณซึมเศรา
รุนแรงจนคิดฆาตัวตาย
ในขณะที่ MA กอใหเกิดผลเสียตอสุขภาพอยางมาก แตกลับมีผูเสพและติดยา MA
จำนวนนอยมากที่สมัครใจเขารับการรักษา ผูเสพสวนใหญมักไมคิดวาตนเองติด MA และ
ไมเชื่อวาการเสพ MA เปนปญหา นอกจากนี้การเสพหรือการติด MA ยังแตกตางจาก
สารเสพติดหลายๆ ชนิด (เชน เฮโรอีน) ในแงที่วายังไมมียาใดมีประสิทธิผลหรือไดรับ
การรับรองในการรักษา MA dependence8 สวนการรักษาทางจิตสังคมก็ยังไมมีรูปแบบ
ที่ชัดเจนเหมือนการรักษา alcohol dependence ความเชื่อตางๆ เหลานี้เปนปจจัยสำคัญ
ที่ทำใหผูเสพและผูติด MA ไมคอยมารับการรักษา
แมวาในปจจุบันจะยังไมทราบสาเหตุและกลไกที่ชัดเจนของ MA-related disorders
เชน MA dependence, MA withdrawal, MA psychosis แตผลการศึกษาสวนใหญชี้ใหเห็น
วาโรคเหลานี้นาจะเกิดจากการมีปฏิสัมพันธของปจจัยทางชีวจิตสังคม เชน เภสัชวิทยาของ
สาร พันธุกรรม บุคลิกภาพ สภาพจิตใจ หรือสภาพแวดลอม การบำบัดรักษา MA-related
disorders จึงควรใชวิธีการแบบผสมผสานที่มีผลกับปจจัยทางชีวจิตสังคมดังกลาว
แมวา บางการศึกษาจะพบวา จิตสังคมบำบัด (psychosocial treatment) บางประเภท
เชน Brief Cognitive Behavioral Intervention (BCBI) มีประสิทธิผลในการลดการใช MA
แตห ลัง การรั ก ษาแลว 6 เดื อ นมี ผูห ยุ ด MA ได เ พีย งครึ่ ง เดี ย วเท า นั้ น (ร อ ยละ 49.4)
ในกลุมที่ได BCBI และรอยละ 27.1 ในกลุมควบคุม9

การใชยาในการบำบัดรักษาผูติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน
3

แมเราจะทราบวา MA มีฤทธิ์กระตุนตัวรับสารสื่อประสาท (neurotransmitters) ชนิด


dopamine, noradrenaline และ serotonin10 และฤทธิท์ ท่ี ำใหเกิดแรงจูงใจชนิดบวก (positive
reinforcing effect) (ซึ่งถือวาเปนกลไกสำคัญที่ทำใหเกิด MA dependence) นาจะเกิดจาก
การออกฤทธิ์ผานระบบ dopamine โดยเฉพาะ dopaminergic neurons ที่บริเวณ ventral
tegmental area, cerebral cortex และ limbic area ซึ่งเปน reward pathway11, 12 แตจนถึง
ปจจุบันก็ยังไมมียาตัวใดไดรับการรับรองใหใชรักษา MA-related disorders อยางไรก็ตาม
ผูปวย MA-related disorders ในเวชปฏิบัติสวนใหญมักไดรับการรักษาดวยยา โดยเฉพาะ
ยาทางจิตเวช เชน ยาตานซึมเศรา (antidepressants) ยารักษาโรคจิต (antipsychotics)
นอกจากนี้ ยั ง มี บ างการศึ ก ษาที่ พ บว า amphetamine derivatives บางตั ว เช น
dextroamphetamine อาจชวยลดการใช MA ลงได อยางไรก็ตาม การศึกษาวิจัยเรื่องการ
ใชยารักษา MA-related disorders ยังมีไมมากนัก
จากการที่ผูปวย MA dependence มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทั่วโลก ทำใหการศึกษา
คนควาเกี่ยวกับการใชยาบำบัดรักษา MA-related disorders มีเพิ่มมากขึ้นในชวงหลายป
ที่ผานมา การทบทวนวรรณกรรมในเรื่องนี้นาจะเปนประโยชนตอเวชปฏิบัติและการวิจัย
ตอไป

วัตถุประสงค
เพื่อทบทวนองคความรูเกี่ยวกับยารักษา MA-related disorders ที่พบบอย 3 ภาวะ
คือ MA dependence/abuse, MA-induced psychotic disorder และ MA withdrawal

แผนงานวิชาการพัฒนารูปแบบการดูแลผูเสพสารเสพติดในชุมชน
4

วิธีการดำเนินงาน
เนื่องจากบทความวิจัยและวิชาการเกี่ยวกับการใชยารักษา MA-related disorders
มีเปนจำนวนมาก ผูนิพนธจึงทบทวนหลักฐานทางวิชาการชนิด randomized-controlled
trials ซึ่งจัดวาเปนหลักฐานทางวิชาการที่ไดรับความเชื่อถือสูงสุดในดานการบำบัดรักษา
อยางไรก็ตาม หลักฐานทางวิชาการชนิด nonrandomized-controlled trial ทีส่ ำคัญอาจนำมา
พิจารณาดวย และเพื่อใหองคความรูมีความทันสมัย ผูนิพนธจึงทบทวนหลักฐานทาง
วิชาการที่ตีพิมพในชวง 20 ปที่ผานมาเทานั้น (ค.ศ.1991-2011)
องคความรูแบงไดเปน 3 ประเด็นคือ
1. MA dependence/abuse
2. MA-induced psychotic disorder และ
3. MA withdrawal
เนือ่ งจากในปจจุบนั ยังไมมยี าตัวใดไดรบั การรับรองใหใชรกั ษา MA-related disorders
ซึ่งแสดงใหเห็นวาการศึกษาวิจัยในลักษณะนี้ยังอยูในระยะเริ่มแรก ดังนั้นงานวิจัยที่มี
อาสาสมัครที่ปวยเปน MA-related disorders และมีโรคทางจิตเวช (dual diagnosis)
ซึ่งเปนภาวะที่มีความซับซอนและแปลผลการศึกษาไดยากจึงไมถูกนำมารวมอยูในการ
ทบทวนวรรณกรรมนี้ ดังนั้นเนื้อหาจะครอบคลุมถึงการศึกษาวิจัยที่มีอาสาสมัครปวยเปน
MA-related disorder รวมกับ substance-related disorders อื่นๆ
ผลลัพธที่สนใจ (outcomes of interest) คือ
1. การใชสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน (use)
2. ความรุนแรงของความอยากยา (craving)
3. ความรุนแรงของอาการโรคจิต (severity of psychotic symptoms)
4. ความรุนแรงของการถอนยา (severity of withdrawal) และ
5. ความคุมทุน (cost-effectiveness)
ตัวอยางของผลลัพธที่ไมรวมอยูในการทบทวนวรรณกรรมนี้คือ neurocognitive
function ซึง่ ยังมีการศึกษานอย และยังเปนภาวะทีม่ ตี วั วัดทีห่ ลากหลายมากและมีความเห็น
ที่แตกตางกันในการวัดผล

การใชยาในการบำบัดรักษาผูติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน
5

¼Å¡Ò÷º·Ç¹Í§¤¤ÇÒÁÃÙŒ
ประสิทธิผลของยาในการรักษา amphetamine dependence
ความพยายามในการใชยาเพื่อรักษาผูปวย MA dependence/abuse สวนใหญ
อิงแนวคิดของการใหยาทดแทน (substitution treatment) ในผูติดสารเสพติดชนิดอื่น เชน
การใช methadone รักษา opioid dependence หรือการใช nicotine replacement therapy
รักษา nicotine dependence ในผูเสพติดบุหรี่ นอกจากนี้แนวทางการศึกษาวิจัยที่คำนึงถึง
การชดเชยการทำงานของสารสือ่ ประสาททีเ่ กีย่ วของกับการออกฤทธิข์ อง MA เชน dopamine,
norepinephrine หรือ serotonin ซึ่งเปนแนวคิดที่คลายคลึงกับการใช bupropion ในการ
รักษา nicotine dependence ก็ถูกนำมาใชในการศึกษาวิจัยยารักษา MA dependence
ดวยเชนกัน
จากการสืบคนพบวา มี 16 randomized-controlled trials ทีศ่ กึ ษายา 11 ขนาน
และ 2 สูตรของการใหยารวมกับการศึกษาเหลานี้แบงไดเปน 4 กลุม คือ
1. กลุมยากระตุนประสาท ประกอบดวย modafinil, dexamphetamine (d-amp)
และ methlyphenidate
2. กลุมยาตานซึมเศรา ประกอบดวย imipramine, bupropion, sertraline และ
mirtrazapine
3. กลุม ยาอืน่ ๆ ประกอบดวย naltrexone, ondansetron, baclofen และ gabapentine
4. กลุมการใชยารวมกัน ประกอบดวย naltrexone + N acetyle cysteine (NAC)
และ PROMETA protocol

แผนงานวิชาการพัฒนารูปแบบการดูแลผูเสพสารเสพติดในชุมชน
6

1. กลุมยากระตุนประสาท
1.1 ยา modafinil
modafinil เปนยากระตุน ประสาททีไ่ มใชกลุม แอมเฟตามีน (non-amphetamine
stimulant) สำหรับการรักษา narcolepsy และ obstructive sleep apnea กลไกการออกฤทธิ์
ทีส่ ำคัญของยานีค้ อื การเพิม่ การทำงานของ dopamine และ glutamate function มีผลการ
ศึกษาที่พบวา ยา modafinil อาจมีประสิทธิผลในการรักษา cocaine dependence และ
อาจเพิ่มการรับรู (cognitive enhancer) สำหรับผูปวย MA dependence13, 14 ซึ่งจะชวย
เสริมสรางศักยภาพในการรับจิตสังคมบำบัดได จากการสืบคนพบ 3 บทความทีท่ ำการศึกษา
modafinil แบบ RCT คือ
• Shearer และคณะ (2009) ไดศึกษาความปลอดภัยและประสิทธิผลของยา
modafinil เปรียบเทียบกับยาลวงในการรักษา MA dependence และศึกษาปจจัยทำนาย
หลังการรักษา (post-treatment outcome)15 อาสาสมัครเขาไดกบั เกณฑการวินจิ ฉัย DSM-IV
amphetamine dependence จำนวน 80 ราย ถูกสุม ใหไดรบั ยา modafinil 200 mg ตอวัน
หรือยาลวงเปนเวลา 10 สัปดาหและติดตามการรักษาไปอีก 12 สัปดาหหลังหยุดการรักษา
(post-treatment follow-up) ผลลัพธหลัก (primary outcome) คือ การใชสารเสพติด
กลุมแอมเฟตามีนโดยการตรวจปสสาวะทุกสัปดาห ผลลัพธรอง (secondary outcomes)
ไดแก รายงานตนเองเกีย่ วกับการใชสาร MA (self-report of MA use) อาการอยากยาประเมิน
ดวย Visual Analogue Scale และความรุนแรงของการเสพติดประเมินดวย Severity of
Dependence Scale
ผลการศึกษาพบวาอาสาสมัคร 38 รายไดรับยา modafinil และ 42 ราย
ไดรบั ยาลวง มีอาสาสมัคร 11 ราย (รอยละ 29) และ 15 ราย (รอยละ 36) อยูใ นโครงการวิจยั
จนครบ 10 สัปดาหตามลำดับ ผูวิจัยไมพบความแตกตางอยางมีนัยสำคัญของการคงอยูใน
การรักษาและความรวมมือในการรับประทานยาระหวาง 2 กลุม รวมถึงไมพบความแตกตาง
ของการหยุดใชสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน (methamphetamine abstinence) โดยสัดสวน
ของการมี ผ ลการตรวจป ส สาวะเป น ลบไม ต า งกั น ทั้ ง ที่ 10 สั ป ดาห และ 22 สั ป ดาห
อยางไรก็ตามมีแนวโนมวากลุมที่ไดรับยา modafinil มีสัดสวนของผลการตรวจปสสาวะเปน
ลบมากกวา (p=0.07) ตลอดการรักษา 10 สัปดาห สำหรับอาการอยากยาและความรุนแรง
ของการเสพติดก็ไมพบวามีความแตกตางอยางมีนัยสำคัญระหวาง 2 กลุม ปจจัยทำนาย
ทีส่ ำคัญตอผลลัพธหลังการรักษา ไดแก การเขารวมหรือไดรับจิตสังคมบำบัด ในดานความ

การใชยาในการบำบัดรักษาผูติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน
7

ปลอดภัยของยาพบวา กลุมที่ไดรับยา modafinil มีการลดลงของ systolic blood pressure


(p=0.03) และมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.05) การศึกษานี้ไมพบ
ผลขางเคียงที่รุนแรงจากการใชยา
• Heinzerling และคณะ (2010) ไดศึกษาประสิทธิผลและผลขางเคียงของยา
modafinil เมื่อเทียบกับยาลวงในผูปวย MA dependence ผลลัพธที่สำคัญคือ การลด
การใช MA การเพิ่มอัตราการคงอยูในการรักษา (retention rate) การลดภาวะซึมเศรา และ
การลดความอยากยา16 อาสาสมัครถูกสุมใหไดรับยา modafinil (400 mg ตอวัน) หรือ
ยาลวงเปนเวลา 12 สัปดาหถูกนัดใหมารับการประเมินและตรวจปสสาวะสัปดาหละ 3 ครั้ง
และไดรับจิตสังคมบำบัดแบบ contingency management และ cognitive behavioral
therapy (CBT) สัปดาหละ 1 ครั้ง ผลการศึกษาพบวา มีอาสาสมัคร 34 รายไดรับยา
modafinil และ 37 รายไดรับยาลวง ในอาสาสมัครดังกลาวคงเหลืออาสาสมัครเพียง
14 ราย (รอยละ 41) ในกลุมยา modafinil และคงเหลือเพียง 13 ราย (รอยละ 35) ในกลุม
ยาลวงอยูจนสิ้นสุดการศึกษา ทั้งสองกลุมไมแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญในเรื่องการลด
การใช MA การเพิ่มอัตราการคงอยูในการรักษา การลดอาการซึมเศรา หรือการลดความ
อยากยา การใชยา modafinil มีความปลอดภัยและไมเพิ่มอัตราการสูบบุหรี่
• Andersona และคณะ (2012) ได ศึ ก ษายา modafinil ในการรั ก ษา
MA dependence แบบสุมและควบคุมดวยยาลวงเปนเวลา 12 สัปดาห และมีระยะติดตาม
อีก 4 สัปดาห17 อาสาสมัครเปนผูมาขอรับการรักษาที่เขาไดกับเกณฑการวินิจฉัย DSM-IV
amphetamine dependence จำนวน 210 ราย อาสาสมัครถูกตรวจปสสาวะและทำการ
ประเมิน 3 ครั้งตอสัปดาห รวมถึงไดรับการรักษาแบบกลุมจิตบำบัดรวมดวย ผลลัพธหลัก
ไดแก จำนวนสัปดาหที่ไมใช MA โดยประเมินจากการตรวจปสสาวะ ผลลัพธรองไดแก
จำนวนวันที่ไมใช MA ติดตอกันสูงสุด และสัดสวนของการเปนอาสาสมัครที่ประสบความ
สำเร็จในการรักษา (successful participant) คือ เปนผูที่ไมใชสารติดตอกันถึง 21 วัน หรือ
รายงานวาเสพสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีนลดลงรอยละ 50 จากกอนรักษา
มีอาสาสมัคร 72 ราย, 70 ราย และ 68 รายไดรับยา modafinil 200 mg,
ยา modafinil 400 mg และยาลวงตามลำดับ รับประทานยาวันละครัง้ ตอนเชา ผลการศึกษา
พบวาอาสาสมัครรอยละ 53 อยูจนสิ้นสุดโครงการ และไมพบความแตกตางของอัตราการ
คงอยูใ นการรักษา จากการวิเคราะหแบบถดถอย (regression analysis) ไมพบความแตกตาง

แผนงานวิชาการพัฒนารูปแบบการดูแลผูเสพสารเสพติดในชุมชน
8

อยางมีนัยสำคัญทางสถิติระหวาง 3 กลุมในเรื่องของรอยละของสัปดาหที่มีผลการตรวจ
ปสสาวะโดย MA เปนลบตลอด 12 สัปดาห (p=0.53) การประเมินความรวมมือในการ
รับประทานยาโดยการตรวจปสสาวะสำหรับยา modafinil และเมตาบอไลทของยารวมกับ
การวิเคราะหแบบ ad-hoc analysis พบความแตกตางอยางมีนัยสำคัญทางสถิติในเรื่อง
ของจำนวนวันที่ไมใชสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีนติดตอกันระหวางกลุมที่รวมมือในการ
รับประทานยาสูง (ผลการตรวจปสสาวะสำหรับยา modafinil เปนบวกมากกวารอยละ 85
ในแตละสัปดาห; N=36) กับกลุมที่รวมมือในการรับประทานยาต่ำ (N=106) (23 days vs.
10 days, p = 0.003) การศึกษานี้ไมพบวา การรักษารวมของยา modafinil กับกลุมบำบัด
มีประสิทธิ ผลในการลดการเสพ MA อยางไรก็ ตาม ผู วิ จัยให ความเห็ นว าการศึ กษานี้
ไมสามารถสรุปผลของยา modafinil ได เนื่องจากอาสาสมัครสวนใหญไมรวมมือในการ
รับประทานยา
แมวาผลลัพธหลักของทั้ง 3 การศึกษาจะมีความแตกตางกันบาง แตหลักใหญ
คือ การลดลงของการใช MA ซึ่งทั้ง 3 การศึกษาไมพบประสิทธิผลที่ชัดเจนของยา
modafinil นอกจากนี้ประโยชนของยาในแงมุมอื่นเชน การลดความอยากยาก็ไมชัดเจน
สำหรับประโยชนของยา modafinil ทีพ่ บใน ad-hoc analysis หรือการวิเคราะหแบบถดถอย
เชน การไดประโยชนจากยา modafinil ในผูที่รวมมือในการรับประทานยา เปนสิ่งที่ควรได
รับการศึกษาเพิ่มเติมตอไป
1.2 ยา dextroamphetamine (d-amp)
ยา d-amp ออกฤทธิก์ ระตุน เซลลประสาทใหหลัง่ สาร dopamine, norepinephrine
และ serotonin ยาชนิดนี้ไดรับการขึ้นทะเบียนในประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อใชรักษาโรค
สมาธิสน้ั และ narcolepsy แตยานีไ้ มมจี ำหนายในประเทศไทย จากแนวคิดของ substitution
therapy ทำใหมีผูสนใจที่จะศึกษาการใชยานี้ในการรักษา MA dependence แมวายานี้
อาจมี ค วามเสี่ ย งในการนำไปใช ใ นทางที่ ผิ ด (abuse) แต ผ ลการศึ ก ษาเบื้ อ งต น พบว า
การใหยา d-amp แบบ maintenance program อาจชวยลดการใช MA ในผูปวย MA
dependence ได18
ในปจจุบนั ยา d-amp มี 2 รูปแบบ คือ immediate release (IR) และ sustained
release (SR) ซึ่งแบบ SR มีการออกฤทธิ์ชากวาแตใหผลในการออกฤทธิ์นานกวาแบบ IR

การใชยาในการบำบัดรักษาผูติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน
9

ประมาณ 3-6 ชั่วโมง และระดับยาสูงสุดในเลือดต่ำกวาแบบ IR จากลักษณะดังกลาวยา


d-amp SR จึงสามารถใหวันละครั้งได และมีโอกาสเกิดฤทธิ์เสริมแรง (reinforcing effect)
นอยกวายา d-amp IR ในดานการศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิผลของยา d-amp ในการรักษา
MA dependence มี 2 RCTs คือ
• Longo และคณะ (2010) ทำการศึกษาแบบสุม และควบคุมดวยยาลวง
เพื่อประเมินประสิทธิผลและความปลอดภัยของยา d-amp SR ในการรักษาผูปวย MA
dependence19 อาสาสมัครวิจัยเขาไดกับเกณฑการวินิจฉัยสำหรับ DSM-IV amphetamine
dependence จำนวน 49 ราย ถูกสุมใหไดรับยา d-amp SR หรือยาลวงรวมไปกับจิตสังคม
บำบัดชนิด CBT เปนเวลา 12 สัปดาห การปรับขนาดยามีดงั นี้ ชวง 14 วันแรกใหยา 20 mg
วันละครั้ง หลังจากนั้นปรับขนาดยาเพิ่มขึ้นวันละ 10 mg จนกระทั่งคงที่หรือถึงขนาดสูงสุด
ที่ 110 mg วันละครั้ง ผลลัพธหลักไดแก การคงอยูในการรักษา (treatment retention)
การใช MA ประเมินโดยการรายงานตนเองและการวิเคราะหเสนผม (hair analysis) ระดับ
ของการเสพติด MA ประเมินดวย Leeds Dependence Questionnaire (LDQ) ความรุนแรง
ของอาการถอนยาประเมินดวย Amphetamine Withdrawal Questionnaire (AWQ)
ผลการศึกษาพบวาอาสาสมัคร 23 รายไดรับยา d-amp SR และ 26 ราย
ไดรับยาลวง กลุมที่ไดรับยา d-amp SR คงอยูในการรักษานานกวากลุมที่ไดรับยาลวง
อยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (คาเฉลี่ยเทากับ 86.3 วัน ตอ 48.6 วัน p=0.014) จากรายงาน
ตนเองของการใชสารและการวิเคราะหเสนผม พบวาเมื่อเทียบกับคาเริ่มตน (baseline)
ทั้งสองกลุม มีการใช MA ลดลงอยางมีนยั สำคัญทางสถิติ (P<0.0001) แตเมือ่ เปรียบเทียบ
ระหวางกลุม พบวากลุม ทีไ่ ดรบั ยา d-amp SR รายงานวาตนเองใช MA ลดลงมากกวากลุม
ทีไ่ ดรบั ยาลวง แตไมมีนัยสำคัญทางสถิติ (P=0.086) ผูวิจัยยังพบอีกดวยวากลุมที่ไดรับยา
d-amp SR มีความรุนแรงของการเสพติดและอาการถอนยานอยกวากลุมที่ไดรับยาลวง
อยางมีนัยสำคัญสถิติ (p=0.042 และ p=0.05 ตามลำดับ) การศึกษานี้ไมพบผลขางเคียง
ที่รุนแรง และไมพบวามีอาการโรคจิต (psychotic symptoms) เกิดขึ้น ผลขางเคียงที่พบ
แตไมรุนแรง ไดแก หงุดหงิด อารมณแปรปรวน (mood swing) และปวดศีรษะ
• Galloway และคณะ (2011) ศึกษาประสิทธิผลและความปลอดภัยของยา
d-amp SR ในผูปวย MA dependence ที่มาขอรับการรักษา20 อาสาสมัคร 30 ราย ถูกสุม
ใหไดรับยา d-amp SR 60 mg ตอวัน และอีก 30 ราย ไดรับยาลวง เปนเวลา 8 สัปดาห
รวมกับจิตสังคมบำบัดแบบเสริมสรางแรงจูงใจสัปดาหละครั้งๆ ละ 50 นาที อาสาสมัคร

แผนงานวิชาการพัฒนารูปแบบการดูแลผูเสพสารเสพติดในชุมชน
10

ถูกนัดมาประเมินสัปดาหละ 2 ครั้ง ผลลัพธหลักไดแก ผลการตรวจหา MA ในปสสาวะเปน


ลบ (คา MA < 1,000 mg/ml) ผลลัพธรองไดแก การรายงานตนเองเกี่ยวกับการใช MA
(จำนวนวันและปริมาณที่ใช) อาการถอนยาซึ่งประเมินดวย AWQ และความอยากยา
ซึ่งประเมินดวย visual analog scale
ผลการศึกษาพบวา กลุมที่ไดรับยา d-amp SR และยาลวงมีผลการตรวจหา
MA ในปสสาวะเปนลบไมแตกตางกัน (3.1 ± SD 4.6 และ 3.3 ± SD 5.3; p>0.05)
อยางไรก็ตาม กลุมที่ไดรับยา d-amp SR มีอาการถอนยาและความอยากยานอยกวา
อยางมีนัยสำคัญ (p<0.05) ผูวิจัยไมพบผลขางเคียงที่รุนแรงของ d-amp และไมพบวายานี้
มีผลตออัตราการเตนของหัวใจ และความดันโลหิต
ผลการศึกษาทัง้ สองไมพบประสิทธิผลของยา d-amp SR ในการลดการใช MA
แตการศึกษาทั้งสองพบวา d-amp SR 60-110 mg/day สามารถลดความรุนแรงของการ
เสพติดและอาการถอนยาได นอกจากนี้ Longo และคณะยังพบวา ยา d-amp SR
ชวยเพิ่มอัตราการคงอยูในการรักษา แมวากอนหนานี้จะมีการศึกษาที่พบวาอาการถอนยา
และความอยากยาเปนสาเหตุหนึ่งของการกลับเสพซ้ำ21, 22, 23, 24 แตสำหรับยา d-amp
SR แลว สามารถลดอาการถอนยาและความอยากยาของ MA ไดแตไมชวยลดการเสพ
MA ลง ยา d-amp SR จึงอาจเปนเพียงการรักษาในระยะสัน้ สำหรับผูป ว ยทีม่ อี าการถอนยา
หรืออยากยารุนแรง
1.3 ยา methylphenidate กับยา aripiprazole กับยาลวง
• Tiihonen และคณะ (2007) ทำการศึ ก ษาประสิ ท ธิ ผ ลของยา
methylphenidate และยา aripiprazole แบบสุมและมีกลุมควบคุมที่ไดรับยาลวงในการ
รั ก ษาผู ป ว ย MA dependence 25 อาสาสมั ค รที่ เข า ได กั บ เกณฑ ก ารวิ นิ จ ฉั ย DSM-IV
amphetamine dependence และมี ก ารใช MA แบบฉี ด เข า เส น ถู ก สุ ม ให ไ ด รั บ ยา
methylphenidate slow-release (SR) 54 mg/day หรือยา aripiprazole 15 mg/day หรือ
ยาลวงเปนเวลา 20 สัปดาห ผลลัพธหลักไดแก สัดสวนของผลการตรวจหา MA ในปสสาวะ
เปนบวก โดยตรวจสัปดาหละ 2 ครั้ง และอาสาสมัครไดรับจิตสังคมบำบัดรวมดวยทุกราย
ผลของการทำ interim analysis ทำใหผูวิจัยตองยุติการศึกษากอนที่จะได
อาสาสมัครครบตามที่กำหนด เนื่องจากผลการวิเคราะหพบวา กลุมที่ไดรับยา aripiprazole

การใชยาในการบำบัดรักษาผูติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน
11

มีอาการแยลงอยางมีนยั สำคัญทางสถิตเิ มือ่ เทียบกับกลุม ทีไ่ ดรบั ยาลวง ผลการศึกษาพบวา


มีอาสาสมัครทั้งสิ้น 53 ราย การศึกษานี้ไมพบความแตกตางอยางมีนัยสำคัญของอัตรา
การคงอยูในการรักษาระหวาง 3 กลุม สัดสวนของผลตรวจหา MA ในปสสาวะที่เปนบวก
มีคาเฉลี่ยเทากับ รอยละ 93.5, 99.1 และ 97.2 (intention-to-treat analysis) ในกลุมที่ได
รับยา methylphenidate ยา aripiprazole และยาลวง ตามลำดับ ในชวงครึ่งหลัง คือ
10 สัปดาหสุดทายของการติดตามอาการพบวาสัดสวนของผลตรวจหา MA ในปสสาวะ
เปนบวกมีคาเฉลี่ยรอยละ 91.5, 100 และ 97.4 (intention-to-treat analysis) ในกลุม
ที่ไดรับยา methylphenidate ยา aripiprazole และยาลวง ตามลำดับ
อาสาสมั ค ร 2 รายในกลุ ม aripiprazole ออกจากการวิ จั ย เนื่ อ งจากมี ค า
เอนไซมตับขึ้นสูงหลังไดรับยาตานไวรัส และอีก 1 รายมี transient ischemic attack จาก
การใช MA อยางตอเนื่อง ผลขางเคียงอื่นๆ ที่รายงานไมรุนแรง และไมมีความแตกตาง
ระหวางกลุม
จาก intention-to-treat analysis อาสาสมัครที่ไดรับยา methylphenidate
มีสัดสวนของผลการตรวจหา MA ในปสสาวะเปนบวกต่ำกวากลุมที่ไดรับยาลวงอยางมี
นัยสำคัญ (odds ratio=0.42, 95% CI=0.24–0.72; z=–3.14, p=0.002) โดยการลดลง
จะเริ่มพบไดตั้งแตสัปดาหที่ 10 และเริ่มมีการลดลงอยางมีนัยสำคัญตั้งแตสัปดาหที่ 18
สวนอาสาสมัครที่ไดรับยา aripiprazole มีสัดสวนของผลการตรวจปสสาวะสาร MA เปน
บวกสูงกวากลุมที่ไดรับยาลวงอยางมีนัยสำคัญ (odds ratio=3.09, 95% CI=1.29–7.40;
z=2.53, p=0.01) การที่ผลการตรวจหา MA ในปสสาวะเปนบวกต่ำหลังจากไดรับการรักษา
ไปหลายสัปดาหแลว ผูวิจัยคาดวาอาจตองใชเวลานานกวา 20 สัปดาห จึงจะไดประโยชน
เต็มที่จากการรักษาดวยยา methylphenidate
จากการศึกษานีพ้ บวา ยา methylphenidate มีประสิทธิผลในการรักษาผูป ว ย
MA dependence โดยลดการเสพในผูเสพติดชนิดฉีดเขาเสนลงไดอยางมีนัยสำคัญ
ผูวิจัยใหความเห็นวาอาสาสมัครในการศึกษานี้เปนผูเสพติดรุนแรงและเรื้อรัง ซึ่งใกลเคียง
กับสถานการณในเวชปฏิบัติจริง สำหรับยา aripiprazole ไมพบวามีประสิทธิผลในการ
รักษาโดยไมชวยใหลดหรือสงเสริมการหยุดเสพ อยางไรก็ตามยังไมสามารถสรุปถึง
ประสิทธิผลในการลดการกลับเสพซ้ำในผูเสพที่ผานระยะถอนพิษแลว

แผนงานวิชาการพัฒนารูปแบบการดูแลผูเสพสารเสพติดในชุมชน
12

2. กลุมยาตานซึมเศรา
2.1 ยา imipramine
• Galloway และคณะ (1996) ไดศึกษาประสิทธิผลของยา imipramine
ในการรักษา MA dependence เปนการศึกษาแบบสุม โดยอาสาสมัครเขาไดกับเกณฑการ
วินจิ ฉัย DSM-III-R amphetamine dependence จำนวน 32 ราย ถูกสุม ใหไดรบั ยา imipramine
150 mg/day และมีกลุมควบคุมโดยไดรับ imipramine 10 mg/day เปนเวลา 180 วัน26
อาสาสมัครทุกรายไดรับกลุมจิตสังคมบำบัด 3-5 ชั่วโมงตอสัปดาห โดยเนนที่การปองกัน
การกลับเสพซ้ำ (relapse prevention) ผลลัพธหลัก ไดแก การคงอยูในการรักษา ผูวิจัย
ให ค วามเห็ น ในการกำหนดผลลั พ ธ ห ลั ก ดั ง กล า วโดยเชื่ อ มั่ น ว า การส ง เสริ ม ให ผู ป ว ย
อยูในการรักษาอยางตอเนื่องและไดรับจิตสังคมบำบัดเปนปจจัยสำคัญที่สงผลตอการ
รับประทานยา ผลลัพธอนื่ ทีส่ ำคัญไดแก การตรวจปสสาวะหาสารเสพติด รายงานจำนวนวัน
นับจากที่ใช MA ครั้งสุดทาย (self-report of days since last use) และการประเมิน
ความอยากยา โดยประเมินที่กอนการรักษา (baseline) วันที่ 14, 28, 90 และ 180
ผลการศึกษาพบวาอาสาสมัคร 22 รายถูกสุม ใหไดรบั ยา imipramine 150 mg/day
และไดรับ imipramine 10 mg/day จำนวน 10 ราย อาสาสมัครกลุมที่ไดรับ imipramine
150 mg/day มีอัตราการคงอยูในการรักษาไดนานกวากลุมที่ไดรับ 10 mg/day อยางมี
นัยสำคัญทางสถิติ (33 และ 10.5 วัน, p=0.04) ไมพบความแตกตางของรอยละของการมี
ผลตรวจ MA ในปสสาวะเปนบวก และความอยากยาระหวาง 2 กลุม รายงานจำนวนวัน
นับจากที่ใช MA ครั้งสุดทายเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามระยะเวลาที่ประเมินในทั้ง 2 กลุม แตไมมี
ความแตกตางระหวางกลุม
ผลการศึกษาพบวากลุมที่ไดรับ imipramine 150 mg/day มีอัตราการคงอยูใน
การรักษานานกวากลุมควบคุมประมาณ 3 เทา อยางไรก็ตามผูวิจัยใหความเห็นวาก็ยังเปน
ระยะเวลาทีส่ นั้ เกินไปทีจ่ ะไดรบั จิตสังคมบำบัดอยางเพียงพอ การไมพบประสิทธิผลในดานอืน่
เปนเพราะขนาดตัวอยางที่เล็ก การศึกษานี้จึงยังไมสามารถสรุปวา imipramine จะมี
ประโยชนในการรักษา MA dependence หรือไม และควรมีการศึกษาเพิ่มเติมในขนาด
ตัวอยางที่ใหญขึ้น

การใชยาในการบำบัดรักษาผูติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน
13

2.2 ยา bupropion
bupropion เปนยาตานซึมเศราขนานหนึ่งซึ่งไดรับการขึ้นทะเบียนเปนยารักษา
โรคซึมเศราและ nicotine dependence ยานี้มีฤทธิ์ยับยั้งการดูดกลับ (reuptake blockade)
ของ dopamine และ norepinephrine จากกลไกดังกลาวยา bupropion จึงอาจมีประสิทธิผล
ในการรักษา MA dependence และชวยบรรเทาอาการของ MA withdrawal และ cognitive
deficit ทีพ่ บในชวงแรกของการหยุดใช MA ได27 จากผลการศึกษาเบือ้ งตนแบบ randomized,
single-blind, placebo-controlled trial พบวา ยา bupropion ชวยลดอารมณครื้นเครงหลัง
การเสพ MA และลดความอยากยาหลังหยุด MA ได28 จึงทำใหมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
การใชยานี้รักษา MA dependence ในอีก 2 RCTs คือ
• Elkashef และคณะ (2008) ทำการศึกษาแบบ double-blind แบบสุม และ
ควบคุมดวยยาลวงในการรักษาผูปวย MA dependence29 อาสาสมัครเขาไดกับเกณฑ
การวินิจฉัยสำหรับ DSM-IV amphetamine dependence จำนวน 150 ราย ถูกสุมใหไดรับ
ยา bupropion sustained-release (SR) 150 mg วันละ 2 เวลา หรือยาลวงเปนเวลา
12 สัปดาหอาสาสมัครถูกนัดมา 3 ครั้งตอสัปดาหเพื่อตรวจหา MA ในปสสาวะ (urine MA)
และรับกลุมจิตบำบัดครั้งละ 90 นาที ผลลัพธหลักคือ สัดสวนของอาสาสมัครที่ไมใช MA
ในแตละสัปดาห (proportion of participants with a MA-free study week) โดยผลของ
urine MA ตองเปนผลลบทั้ง 3 ครั้งในสัปดาหนั้นๆ ผลลัพธรองคือ ปริมาณสารเสพติด
กลุม แอมเฟตามีนในปสสาวะ การรายงานตนเองของการใช MA ความรุนแรงของการเสพติด
ประเมินดวย Addiction Severity Index (ASI) และอาการอยากยาประเมินดวย Brief
Substance Craving Scale
ผลการศึกษาพบวา อาสาสมัคร 79 รายไดรับยา bupropion และ 72 รายไดรับ
ยาลวง รอยละ 51.9 และ 52.8 ของอาสาสมัครที่ไดรับยา bupropion และยาลวงอยูใน
งานวิจัยจนสิ้นสุดโครงการ (ไมแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ) ในดานประสิทธิผล
ของยาเมื่อสิ้นสุดการศึกษาสัปดาหที่ 12 พบวากลุมที่ไดรับยา bupropion มีรอยละของ
อาสาสมัครทีม่ สี ปั ดาหทไี่ มใชสาร (MA-free week) มากกวากลุม ทีไ่ ดรบั ยาลวง (รอยละ 54
และ 44 ตามลำดับ) แตไมมีความแตกตางอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.09) ผูวิจัยไมพบ
ความแตกตางอยางมีนัยสำคัญทางสถิติระหวางกลุมที่ไดรับยา bupropion และยาลวง
ในดานการรายงานตนเองของการใชสาร ความรุนแรงของการเสพติด และความอยากยา
การวิเคราะหกลุมยอย (subgroup analysis) ในกลุมผูเสพปริมาณนอย (จำนวนวันที่ใชสาร
≤18 วัน ใน 30 วันกอนเขาโครงการ) พบวากลุมที่ไดรับยา bupropion มีจำนวนสัปดาห
ที่ไมใชสาร MA มากกวากลุมที่ไดรับยาลวงอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.0001)
แผนงานวิชาการพัฒนารูปแบบการดูแลผูเสพสารเสพติดในชุมชน
14

• Shoptaw และคณะ (2008) ทำการศึกษาประสิทธิผลของยา bupropion ในการ


ลดการใชสารกลุมแอมเฟตามีนในผูปวย MA dependence30 อาสาสมัคร 73 รายเปนผูปวย
MA dependence ที่มาขอรับการรักษาซึ่งถูกสุมใหไดรับยา bupropion SR (150 mg
วันละ 2 เวลา) หรือยาลวงเปนเวลา 12 สัปดาห ทั้ง 2 กลุมไดรับจิตสังคมบำบัดชนิด
cognitive behavioral therapy (CBT) หรือ contingency management รวมดวยสัปดาหละ
1 ครัง้ ผลลัพธหลักคือ การใชสารซึง่ ประเมินโดยการตรวจปสสาวะ ผูว จิ ยั ใหนยิ ามผลลัพธนี้
วาเปนผลรวมของการตรวจปสสาวะเพื่อหาสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน (aggregate urine
drug screen results) ซึ่งประกอบดวยดัชนีผลรวมของความเปนไปได (Joint Probability
Index) ที่ 6 และ 12 สัปดาห (จำนวน specimen ทัง้ หมดทีม่ ผี ลการตรวจปสสาวะเปนลบ
ณ ชวงเวลาดังกลาวหารดวยจำนวนอาสาสมัครของแตละกลุม) Treatment Effectiveness
Score (จำนวนครั้งที่ผลการตรวจปสสาวะเปนลบตออาสาสมัคร 1 ราย) รอยละของผลการ
ตรวจหา MA ในปสสาวะที่เปนลบ ชวงเวลาที่ยาวที่สุดที่สามารถหยุดใช MA ไดอยาง
ตอเนื่อง และรอยละของอาสาสมัครที่มีผลการตรวจ MA ในปสสาวะที่เปนลบติดตอกัน
อยางนอย 2 และ 3 สัปดาห ผลลัพธรองไดแก การคงอยูในการรักษา อาการซึมเศรา
ซึ่งประเมินดวย Beck Depression Inventory (BDI) และอาการอยากยาซึง่ ประเมินดวย Visual
Analog Scale (0-100)
ผลการศึกษาพบวาอาสาสมัคร 36 รายไดรับยา bupropion (11 รายอยูในโครงการ
จนสิ้นสุดการศึกษา) และ 37 รายไดรับยาลวง (14 รายอยูในโครงการจนสิ้นสุดการศึกษา)
ในดานผลลัพธหลัก ผูวิจัยไมพบความแตกตางอยางมีนัยสำคัญระหวางกลุมในเรื่องของ
ผลรวมของการตรวจปสสาวะเพื่อหาสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีนและจำนวนสัปดาห
ที่ไมใช MA สำหรับผลลัพธรอง ผูวิจัยไมพบความแตกตางอยางมีนัยสำคัญระหวางกลุม
ในดานอัตราการคงอยูในการรักษา ความอยากยา และความรุนแรงของภาวะซึมเศรา
อยางไรก็ตามจาก post-hoc analysis ในกลุมใช MA ปริมาณนอย (light MA users คือ
มี urine MA positive 0-2 ครั้ง ในระยะคัดกรอง) ผูวิจัยพบวากลุมที่ไดรับยา bupropion
มีการใช MA ลดลงโดยมีจำนวนสัปดาหของการไมใช MA นอยกวากลุม ทีใ่ ช MA ปริมาณมาก
(heavy MA users คือ มี urine MA positive 3-6 ครั้ง ในระยะคัดกรอง) อยางมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ (OR=2.81, 95% CI=1.61-4.93, p<0.001) ผูวิจัยใหความเห็นวา การเสพ MA
ในปริมาณสูงและเปนเวลานานอาจทำใหเกิดการเปนพิษตอเซลลประสาท (neurotoxic effect)31
ที่รุนแรงเกินกวายา bupropion จะชวยได ทำใหยาไมมีประสิทธิผลในกลุมนี้ และเสนอวา
ปริมาณการเสพในชวงกอนเริ่มการรักษาเปนปจจัยหนึ่งที่ใชทำนายผลการรักษาได

การใชยาในการบำบัดรักษาผูติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน
15

จาก 2 RCTs ดังกลาว ยังไมพบวายา bupropion มีประสิทธิผลในการรักษาผูป ว ย


MA dependence ทั่วไป อยางไรก็ตามผลการศึกษาทั้งสองมีความสอดคลองกันในแงที่วา
ยา bupropion อาจชวยลดการเสพ MA ลงไดบางในกลุมที่ใช MA ปริมาณนอย
2.3 ยา sertraline
ยาตานซึมเศรากลุม SSRIs ออกฤทธิ์โดยยับยั้งการดูดกลับของสารสื่อประสาท
serotonin ซึ่งมีงานวิจัยที่แสดงใหเห็นวากลไกดังกลาวทำใหความพึงพอใจที่ไดจากการเสพ
MA ลดลง32 นอกจากนี้การเสพ MA ยังมีผลตอสารสื่อประสาทที่เกี่ยวของกับภาวะซึมเศรา
ด ว ย ดั ง นั้ น ยาในกลุ ม นี้ จึ ง อาจช ว ยรั ก ษาผู ป ว ย MA dependence ได จนถึ ง ป จ จุ บั น
มี 1 RCT ที่เกี่ยวของกับการใชยา sertraline ในการรักษา MA dependence
• Shoptaw และคณะ (2006) ทำการศึกษาประสิทธิผลของยา sertraline
(50 mg b.i.d.) ที่ใหรวมกับการบำบัดทางจิตสังคมชนิด contingency management (CM)
ในการรักษา MA dependence33 โดยอาสาสมัครถูกสุม ใหไดรบั การรักษา 1 ใน 4 กลุม ตอไปนี้
คือ ยา sertraline รวมกับ CM, ยา sertraline, ยาลวงรวมกับ CM และยาลวง เปนเวลา
12 สัปดาห ผลลัพธหลักที่สำคัญคือ ผลการตรวจหา MA ในปสสาวะเปนลบติดตอกัน
อยางนอย 3 สัปดาห ผลลัพธรองคือ การใชสารซึง่ คัดกรองโดยการตรวจปสสาวะ (urine drug
screening) การรายงานตนเองเกี่ยวกับจำนวนวันที่ใชสาร อัตราการคงอยูในการรักษา
ความอยากยา และอาการดานอารมณ
ผลการศึกษาพบวา อาสาสมัคร 61, 59, 54 และ 55 รายไดรับยา sertraline
รวมกับ CM, ยา sertraline, ยาลวงรวมกับ CM และยาลวงตามลำดับ ผูวิจัยไมพบความ
แตกตางอยางมีนัยสำคัญระหวางกลุมที่ไดรับยาลวง และกลุมที่ไดรับยา sertraline หรือยา
sertraline รวมกับ CM ในการลดการใชสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน อัตราการคงอยูใน
การรักษา ความอยากยา อาการดานอารมณ และความรวมมือในการรับประทานยา
จาก post-hoc analysis พบวากลุมที่ไดรับยา sertraline เพียงอยางเดียวมีอัตราการคงอยู
ในการรักษา และสัดสวนของอาสาสมัครที่มีผลการตรวจปสสาวะเปนลบต่ำกวากลุมอื่นๆ
อยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (c2=8.40, p<0.05 และ c2=8.6, p=0.035 ตามลำดับ) ในขณะที่
กลุมที่ไดรับยา sertraline อยางเดียวมีรายงานผลขางเคียงมากกวากลุมที่ไดรับยาลวงอยาง
มีนัยสำคัญทางสถิติ กลุมที่ไดรับ CM มีการใชสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีนลดลง โดยมี
สัดสวนของผลการตรวจหา MA ในปสสาวะเปนลบติดตอกัน 3 สัปดาหมากกวากลุมที่ไม
ไดรับ CM อยางมีนัยสำคัญทางสถิติ

แผนงานวิชาการพัฒนารูปแบบการดูแลผูเสพสารเสพติดในชุมชน
16

การศึกษานีไ้ มพบประสิทธิผลของยา sertraline ในการรักษา MA dependence


ไมวาจะเปนการรักษาดวยยา sertraline เพียงอยางเดียวหรือยา sertraline รวมกับ CM
ในทางตรงกันขามการศึกษานีก้ ลับพบวา กลุม ทีไ่ ดรบั ยา sertraline มีการใช MA เพิม่ มากขึน้
และมีแนวโนมวากลุมนี้ออกจากการศึกษามากกวากลุมที่รับการรักษาดวยยาลวง หรือ
ยาลวงรวมกับ CM เมื่อคำนึงถึงผลการศึกษากอนหนานี้ที่ไมพบประโยชนของการใช
fluoxetine34, 35 และ paroxetine36 ในการรักษาผูปวย MA dependence ยาในกลุม SSRIs
จึ ง ไม น า มี ป ระสิ ท ธิ ผ ลและไม ค วรเป น first line treatment ในการรั ก ษาผู ป ว ย
MA dependence
2.4 ยา mirtazapine
mirtazapine เปนกลุมยาตานซึมเศราชนิด mixed monoamine agonist/
antagonist มีกลไกออกฤทธิ์กระตุนการหลั่งสารสื่อประสาท norepinephrine, serotonin
และ dopamine ทีร่ ะบบประสาทสวนกลาง รวมถึง mesocoritcolimbic system ซึง่ เกีย่ วของกับ
วงจรการตอบสนองความพึงพอใจ การตอบสนองตอการอยากยา และพฤติกรรมการ
แสวงหายา37, 38, 39
• Colfax และคณะ (2011) ทำการศึกษาประสิทธิผลของยา mirtazapine
แบบสุมควบคุมดวยยาลวง40 อาสาสมัครเปนชายที่มีสัมพันธทางเพศกับเพศชาย (men
who have sex with men: MSM) ซึ่งใช MA อยางตอเนื่องใน 3 เดือนที่ผานมา และเขาได
กับเกณฑการวินิจฉัยสำหรับ DSM-IV amphetamine dependence จำนวน 60 ราย
อาสาสมั ค รถู ก สุ ม ให ไ ด รั บ ยา mirtazapine 30 mg วั น ละครั้ ง หรื อ ยาลวงเป น เวลา
12 สัปดาห ผลลัพธหลักไดแก การลดลงของผลตรวจปสสาวะสาร MA เปนบวก ผลลัพธรอง
ไดแก ความรวมมือในการรับประทานยา และพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ อาสาสมัครถูกนัด
มาตรวจปสสาวะสัปดาหละครัง้ พรอมกับไดรบั คำปรึกษาการใชสารเสพติดครัง้ ละ 30 นาที
ผลการศึกษาพบว า ร อยละ 93 ของอาสาสมั ครอยูจนสิ้ นสุ ดโครงการวิ จั ย
เมื่อสิ้นสุดการศึกษาที่ 12 สัปดาห กลุมที่ไดรับยา mirtazapine มีผลการตรวจปสสาวะ
เปนบวกนอยกวากลุมที่ไดรับยาลวงอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (relative risk 0.57; 95%
CI, 0.35-0.93, p=0.02) โดยผลการตรวจปสสาวะเปนบวกลดลงจากรอยละ 73 (22 ใน 30 ราย)
เหลือรอยละ 44 (12 ใน 27 ราย) ในกลุมที่ไดรับยา mirtazapine และลดลงจากรอยละ 67
(20 ใน 30 ราย) เปนรอยละ 63 (17 ใน 27 ราย) คา number needed to treat (NNT) ของ
การมีผลตรวจปสสาวะเปนลบในแตละสัปดาหเทากับ 3.1 ไมพบความแตกตางระหวาง

การใชยาในการบำบัดรักษาผูติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน
17

กลุมในเรื่องของความรวมมือในการรับประทานยา พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศลดลงอยางมี
นัยสำคัญในกลุมที่ไดรับยา mirtazapine (P<.05) และไมพบผลขางเคียงที่รุนแรงตลอดการ
ศึกษา
โดยทั่วไปแลว อัตราการอยูจนจบการวิจัยจะต่ำมากในการศึกษาที่เกี่ยวของกับ
การบำบัดรักษาผูติดยาเสพติด และปญหานี้เปนอุปสรรคสำคัญในการแปลผล27 แตการ
ศึกษานี้มีจุดแข็งที่สำคัญ คือ การมีอัตราการกลับมาพบผูวิจัยครบถวน และอัตราการอยู
จนจบการวิจัยสูงมาก
ผลการศึกษานีส้ รุปวา การใหยา mirtazapine รวมกับการใหคำปรึกษาเกีย่ วกับ
การใชสารเสพติด (substance use counseling) มีประสิทธิผลสำหรับ MA dependence
ในชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศที่ลดลงสัมพันธกับผลการตรวจหา
MA ในป ส สาวะที่ เ ป น ลบ ผลการศึ ก ษานี้ ชี้ ว า การให ย า mirtazapine ร ว มกั บ การให
คำปรึกษานาจะชวยลดความเสี่ยงของการติดเชื้อ HIV ในผูปวยกลุมนี้ได การศึกษานี้
เปนการศึกษาแรกเกีย่ วกับการใชยา mirtazapine ในการรักษา MA dependence อยางไรก็ตาม
การศึกษานีม้ ีขอ จำกัดคือ ขนาดตัวอยางทีเ่ ล็ก และศึกษาเฉพาะในชายทีม่ เี พศสัมพันธ
กับชายเทานั้น ทำใหไมทราบวา ยานี้จะมีประสิทธิผลสำหรับ MA dependence
ในประชากรทั่วไปหรือไม

3. กลุมยาอื่นๆ
3.1 ยา Naltrexone
Naltrexone เปน opioid antagonist ที่มีฤทธิ์ปดกั้น opioid receptors ยานี้จึง
ถูกนำมาใชในการรักษาผูเสพติดเฮโรอีนหรือสารกลุม opioid นอกจากนี้ ยานี้ยังไดรับการ
ขึ้ น ทะเบี ย นจากองค ก ารอาหารและยาของประเทศสหรั ฐ อเมริ ก าให ใช รั ก ษา alcohol
dependence จากประสิทธิผลดังกลาวจึงมีการศึกษาเพิ่มเติมในผูปวย MA dependence
และพบว า ยานี้ อ าจช ว ยลดแรงผลั ก (reinforcing effect) สำหรั บ การใช MA ลงได 41
จากเหตุผลเหลานี้ จึงมีคณะผูวิจัยทำการศึกษาประสิทธิผลของยา naltrexone แบบสุมและ
มีกลุม ควบคุม โดยหนึง่ การศึกษาเปนการศึกษายา naltrexone โดยตรงซึง่ ไดกลาวถึงในสวนนี้
และอี ก หนึ่งการศึ ก ษาเป น การใช ย า naltrexone ร ว มกั บ ยาชนิ ด อื่ น ซึ่ ง จะขอกล า วไว
ในหัวขอที่ 4 การใชยารวมกัน

แผนงานวิชาการพัฒนารูปแบบการดูแลผูเสพสารเสพติดในชุมชน
18

• Jayaram-Lindstrom และคณะ (2008) ทำการศึกษาประสิทธิผลของยา


naltrexone ในการลดการกลับไปเสพ MA ซ้ำในผูปวย MA dependence42 อาสาสมัคร
เขาไดกับเกณฑการวินิจฉัยสำหรับ DSM-IV amphetamine dependence จำนวน 80 ราย
ถูกสุมใหไดรับยา naltrexone (50 mg/d) หรือยาลวงเปนเวลา 12 สัปดาห อาสาสมัครถูกนัด
มาสัปดาหละ 2 ครั้งเพื่อรับยา ตรวจปสสาวะ และรับการบำบัดทางจิตสังคมเพื่อปองกัน
การกลับเสพซ้ำ (relapse prevention therapy) ผลลัพธหลักไดแก การหยุดใช MA โดย
ประเมินจากจำนวนครั้งที่ผลการตรวจ MA ในปสสาวะเปนลบตลอดการศึกษา ผลลัพธรอง
ไดแก การรายงานตนเองเกี่ยวกับการใชสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน ความอยากยา
ประเมินโดย visual analog scale ความรวมมือในการรับประทานยาประเมินโดยการตรวจ
6-beta-naltrexol ซึ่งเปน metabolite ของ naltrexone
ผลการศึกษาพบวา อาสาสมัครขางละ 40 รายไดรับยา naltrexone และยาลวง
โดยรอยละ 72.5 ของกลุมที่ไดรับยา naltrexone และรอยละ 65 ของกลุมที่ไดรับยาลวงอยู
ในโครงการจนสิ้นสุดการศึกษา (ไมแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ) กลุมที่ไดรับยา
naltrexone มีจำนวนครั้งของผลการตรวจปสสาวะที่เปนลบมากกวากลุมที่ไดรับยาลวง
อยางมีนัยสำคัญ (F=5.02, df=1, 78, p<0.05) การวิเคราะหดวย survival analysis แสดง
ใหเห็นวากลุมที่ไดรับยา naltrexone มีการหยุดเสพตอเนื่องยาวนานกวากลุมที่ไดรับยาลวง
อยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ในดานการใชสารพบวากลุมที่ไดรับยา naltrexone
มีการรายงานตนเองเกี่ยวกับการใชสารและอาการอยากยาลดลงมากกวาอยางมีนัยสำคัญ
ดวยเชนกัน (p<0.05) ผลขางเคียงทีพ่ บบอยของ naltrexone คือ คลืน่ ไส ปวดศีรษะ ออนเพลีย
และทองไสปนปวน แตไมมีผูที่ออกจากการศึกษาเพราะผลขางเคียงอาสาสมัครสวนใหญ
ทนตอยา naltrexone ไดดี และไมพบผลขางเคียงที่รุนแรง
3.2 ยา ondansetron
การกระตุน 5-HT3 receptor ทำใหเพิม่ dopamine activity ที่ nucleus accumben
สำหรับยา ondansetron ซึ่งเปนยารักษาอาการอาเจียนมีกลไกการออกฤทธิ์คือการปดกั้น
serotonin 5-HT3 receptor ผลการศึกษาเบื้องตนในมนุษยและสัตวพบวา ยานี้ชวยลด
ความพึงพอใจ (rewarding effects) ที่เกิดจากการเสพสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน ดังนั้น
ยาชนิดนี้จึงอาจมีผลในการรักษา MA dependence ได

การใชยาในการบำบัดรักษาผูติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน
19

• Johnson และคณะ (2008) ทำการศึกษาประสิทธิผลของยา ondansetron


ในการรักษา MA dependence ในผูปวยที่เขาไดกับเกณฑการวินิจฉัยของ amphetamine
dependence 150 ราย43 อาสาสมัครถูกสุมใหไดรับยา ondansetron (0.25 mg, 1 mg, or
4 mg b.i.d.) หรือยาลวงรวมไปกับ cognitive-behavioral therapy เปนเวลา 8 สัปดาห
ผลลัพธหลักคือ สัดสวนของสัปดาหที่มีผลการตรวจ MA ในปสสาวะเปนลบ
ผลการศึกษาพบวา อาสาสมัคร 47, 38, 30 และ 40 รายไดรับยาลวง และ
ondansetron ที่ขนาด 0.25, 1.0 และ 4.0 mg b.i.d. ตามลำดับ ผูวิจัยไมพบความแตกตาง
ระหวางยาลวง และ ondansetron ทีข่ นาดตางๆ ในแงของการลดการเสพ MA อาการถอนยา
ความอยากยา และความรุนแรงของการเสพติด การทดลองนี้ไมพบผลขางเคียงที่รุนแรง
ของยา ondansetron ผู วิ จั ย ให ค วามเห็ น ว า ผลการศึ ก ษาที่ เ ป น ลบนี้ อ าจเกิ ด จาก
(1) ยา ondansetron มีคาครึ่งชีวิตสั้น ยานี้อาจตองใหมากกวาวันละ 2 ครั้ง (2) ขนาดยาที่
ใหนอยเกินไป (3) ผูปวยอาจมีหลาย clinical และ genetic subtypes สงผลใหเกิดความ
หลากหลายของผลการรักษา และ (4) อาสาสมัครทุกกลุมอาจตอบสนองตอ intensive
cognitive-behavioral therapy คลายคลึงกันทำใหไมพบความแตกตางระหวางกลุมที่ไดรับ
หรือไมไดรับยา ondansetron
3.3 ยา baclofen และยา gabapentin
ยา baclofen และยา gabapentin เป น GABA agonist ออกฤทธิ์
ลดการทำงานของ mesolimbic dopamine system โดยเฉพาะที่ nucleus accumbens
และ ventral tegmental area ซึ่งเกี่ยวของกับฤทธิ์ที่เปนแรงเสริม (reinforcing effect) ของ
MA จากเหตุผลดังกลาว ยาสองตัวนี้จึงอาจชวยลดความพึงพอใจในการเสพ MA ได
Heinzerling และ คณะ (2006) ทำการศึกษาประสิทธิผลของยา baclofen
และยา gabapentin โดยเปรียบเทียบกับยาลวงในการรักษา MA dependence44 โดย
อาสาสมัครถูกสุมใหไดรับยา baclofen (20 mg t.i.d.) หรือ ยา gabapentin (800 mg t.i.d.)
หรือยาลวงเปนเวลา 16 สัปดาห อาสาสมัครถูกนัดมาประเมินสัปดาหละ 3 ครั้ง เพื่อรับยา
และตรวจปสสาวะ อาสาสมัครทุกรายไดรับจิตสังคมบำบัดรวมดวย
ผลการศึกษาพบวา อาสามัคร 25, 26 และ 37 รายถูกสุมใหไดรับยา baclofen,
ยา gabapentin และยาลวงตามลำดับ อาสาสมัคร 15 ราย (รอยละ 60) 9 ราย (รอยละ
34.6) และ 15 ราย (รอยละ 40.5) ของแตละกลุมอยูในโครงการจนสิ้นสุดการศึกษา

แผนงานวิชาการพัฒนารูปแบบการดูแลผูเสพสารเสพติดในชุมชน
20

ผลการตรวจปสสาวะพบวา สัดสวนของผลการตรวจ MA ในปสสาวะที่เปนลบเพิ่มขึ้นทั้ง


3 กลุม อยางไรก็ตามทั้งสามกลุมไมแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญและไมพบความแตกตาง
ระหวางกลุมในดานการคงอยูในการรักษา (retention) และความอยากยา จาก post hoc
analysis พบวา มีความแตกตางอยางมีนัยสำคัญในดานการลดการใชสารในผูที่รวมมือ
ในการรับประทานยา (medication adherence) ดี โดยพบความแตกตางอยางมีนัยสำคัญ
ระหวางกลุมที่ไดรับยา baclofen เปรียบเทียบกับกลุมที่ไดรับยาลวง
การศึกษานี้ไมพบวายา baclofen และยา gabapentin มีประสิทธิผลในการ
รักษาผูปวย MA dependence อยางไรก็ตามยานี้อาจมีประสิทธิผลในผูที่รวมมือดีในการ
รับประทานยา baclofen เนื่องจากขนาดตัวอยางของการศึกษานี้คอนขางเล็กจึงไมสามารถ
สรุปผลทีแ่ นชดั ได ผลการศึกษานีแ้ ตกตางจากการศึกษาเดิมทีพ่ บวายา baclofen มีประสิทธิผล
ในการรักษา cocaine dependence45 แมวา MA และ cocaine จะเปนสารฤทธิ์กระตุน
เหมือนกันแต MA มีคาครึ่งชีวิตยาวกวา cocaine ในขณะที่ยา baclofen มีคาครึ่งชีวิตสั้น
ซึง่ อาจเกีย่ วของกับการทีย่ านีไ้ มมปี ระสิทธิผลในการรักษา MA dependence ผูว จิ ยั เสนอวา
ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับประสิทธิผลของยา baclofen ในขนาดตัวอยางที่ใหญขึ้น
หรือศึกษายาประเภท GABAergic ตัวอื่นๆ ที่ออกฤทธิ์ไดนานกวาและ/หรือมีความแรง
(potent) มากกวา

4. กลุมการใชยารวมกัน
4.1 ยารวม N-acetyl cysteine (NAC) + naltrexone
• Grant และคณะ (2010) ไดศึกษาประสิทธิผลของยารวม N-acetyl cysteine
(NAC) + naltrexone ในการรักษาผูปวย MA dependence เปนการศึกษาแบบสุมควบคุม
ดวยยาลวงเปนเวลา 8 สัปดาห46 สำหรับยา NAC มีการศึกษากอนหนานี้พบวา ยานี้เปน
สารควบคุมการทำงาน (modulator) ของสารสือ่ ประสาทชนิด glutamate ซึง่ อาจชวยลดฤทธิ์
การเสริมแรง (reinforcing effects) จากการเสพ MA ได ผลลัพธหลักไดแก อาการอยากยา
ประเมินโดยใช Penn Craving Scale ผลลัพธรองไดแก รายงานตนเองเกี่ยวกับความถี่ของ
การใช MA และผลการตรวจปสสาวะ ผลการศึกษาพบวา อาสาสมัคร 31 ราย (อายุเฉลี่ย
36.8 ± 7.12 ป) ถูกสุมใหไดรับยารวม NAC + naltrexone หรือยาลวง ขนาดยาเริ่มตนที่
NAC 600 mg/d + naltrexone 50 mg/d แลวปรับขนาดยาเพิ่มขึ้นเปน NAC 1200 mg/d

การใชยาในการบำบัดรักษาผูติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน
21

+ naltrexone 100 mg/d และ NAC 1800 mg/d + naltrexone 150 mg/d และทายทีส่ ดุ
NAC 2400 mg/d + naltrexone 200 mg/d ใน 2 สัปดาหสดุ ทาย
ผลการศึกษานี้ไมพบความแตกตางอยางมีนัยสำคัญทางสถิติระหวางกลุมที่ได
รับยารวม NAC + naltrexone กับกลุม ทีไ่ ดรบั ยาลวงทัง้ ในการลดอาการอยากยา จำนวน
วันทีใ่ ช MA (รอยละ 85.2 ในกลุม ที่ไดยาจริง และรอยละ 57.8 ในกลุมที่ไดยาลวง) และ
ผลการตรวจปสสาวะที่เปนบวกตอนจบการศึกษา (รอยละ 46.2 ในกลุมที่ไดยาจริง และ
รอยละ 35.3 ในกลุม ทีไ่ ดรบั ยาลวง, p=0.55)
การศึกษาของ Jayaram-Lindstrom (2008) พบวายา naltrexone มีประสิทธิผล
ในการรักษาผูป ว ย MA dependence ทัง้ ในแงของการลดการเสพสาร MA การกลับไปเสพซ้ำ
และอาการอยากยา นอกจากนี้กลุมที่ไดรับยา naltrexone ยังมีการหยุดเสพ MA อยาง
ตอเนื่องไดนานกวา แตการศึกษาของ Grant และคณะ (2010) กลับไมพบประโยชนใดๆ
ของยา naltrexone เลย แมทั้ง 2 คณะผูวิจัยจะศึกษายา naltrexone เหมือนกัน แตก็มี
ระเบียบวิธีวิจัยที่แตกตางกัน โดยการศึกษาของ Jayaram-Lindstrom และคณะ (2008)
เปนการศึกษายา naltrexone ตัวเดียว มีขนาดตัวอยางใหญกวา มีระยะเวลาทีศ่ กึ ษายาวกวา
และมีการใหจิตสังคมบำบัดรวมดวย สวนการศึกษาของ Grant และคณะ เปนการศึกษายา
naltrexone รวมกับ NAC การไมพบประสิทธิผลของยารวม อาจเกิดจากขนาดตัวอยางที่
เล็กและระยะเวลาของการศึกษาที่สั้น
4.2 PROMETA protocol
PROMETA protocol เป น การให ย าหลายขนานร ว มกั น โดยมี แ นวคิ ด ว า
คุณสมบัติและกลไกการออกฤทธิ์ของยาแตละขนานจะชวยใหระบบสารสื่อประสาทเกิด
การเปลี่ยนแปลงภายหลังการใชสารกระตุนประสาทเปนเวลานานและสามารถกลับมา
ทำงานไดใกลเคียงปกติ อยางไรก็ตาม การรักษารวมนี้มีการใหจิตสังคมบำบัดรวมไปดวย
วัตถุประสงคสำคัญของ protocol นีค้ อื การรักษาอาการถอนยา การปองกันการกลับเสพซ้ำ
และการลดอาการอยากยา
ยารวมใน PROMETA protocol คือ
1. ยา flumazenil ซึ่งเปน specific benzodiazepine antagonist ยานี้ถูกนำมา
ใชเปน antidote สำหรับการรักษา benzodiazepines overdose กลไกการออกฤทธิ์อื่นคือ
อาจเปน partial agonist และ inverse agonist ที่ GABA receptors47 ยานีจ้ งึ อาจเปลีย่ นแปลง
GABAergic threshold ที่ benzodiazepines receptors ได

แผนงานวิชาการพัฒนารูปแบบการดูแลผูเสพสารเสพติดในชุมชน
22

2. ยา gabapentin ซึ่งเปนยากันชักที่มีฤทธิ์แบบ GABA agonist ซึ่งคาดวา


สามารถลดความเขมขนของ glutamate ในสมองลงได มีรายงานวา gabapentin ชวยลด
อาการอยากยา48, 49 และความรูส กึ ทีม่ ตี อ ยา (subjective effect)50 ของการเสพ cocaine ได
3. ยา hydroxyzine hydrochloride เปน H1 histamine receptor antagonist
ใชรักษาความวิตกกังวล และใชรักษาหรือลดอาการถอนยาที่พบในระยะถอนพิษของ
สารเสพติดชนิดตางๆ
• Ling และคณะ (2012) ทำการศึกษาประสิทธิผลและความปลอดภัยของ
PROMETA Protocol ในการรักษาผูปวย MA dependence ที่มาขอรับการรักษา51 แบบสุม
และควบคุมดวยยาลวง อาสาสมัครถูกสุมใหรับยาตาม protocol [ยา flumazenil (2 mg
ทางเสนเลือดวันที่ 1, 2, 3, 22, 23), ยา gabapentin (1200 mg จนถึงวันที่ 40) และ
ยา hydroxyzine (50 mg จนถึงวันที่ 10)] หรือยาลวง (ซึ่งมีแตยา hydroxyzine ชนิดเดียว)
ระยะเวลาที่ทำการศึกษาวิจัยคือ 108 วัน ผลลัพธหลักไดแก รอยละของผลการตรวจหา
MA ในปสสาวะที่เปนลบ ผลลัพธรองไดแก รายงานตนเองเกี่ยวกับการใช MA และอาการ
อยากยา ผลลัพธตางๆ ถูกประเมินวันที่ 23 (สิ้นสุด infusion phase) วันที่ 40 (สิ้นสุด
medication phase) และวันที่ 108 (สิ้นสุดการศึกษา)
ผลการศึกษาพบวาอาสาสมัคร 60 ราย ไดรับยาตาม protocol และอีก 60 ราย
ไดรับยาลวง ผูวิจัยไมพบความแตกตางอยางมีนัยสำคัญทางสถิติระหวาง 2 กลุมในเรื่อง
สัดสวนของผลการตรวจหา MA ในปสสาวะที่เปนลบ อาการอยากยา อัตราการคงอยูใน
การรักษา และผลขางเคียง
ผลการศึกษาครั้งนี้แตกตางจากการศึกษาระยะสั้น (30 วัน) ของ PROMETA
protocol กอนหนานี้ ที่พบวา protocol นี้มีประสิทธิผล52 ผูวิจัยใหความเห็นวา การไมพบ
ความแตกตางของผลลัพธระหวางกลุมอาจเกิดจากการมี placebo effect คอนขางสูง
อาสาสมัครที่ไดรับยาลวงกวาครึ่ง ทายวาตนไดรับยาจริง นอกจากนี้ post-hoc analysis
ยังพบอีกดวยวา ความเชือ่ ของอาสาสมัครเกีย่ วกับการรักษาที่ไดรับ (assigned treatment)
มีผลตอผลลัพธของการรักษา

การใชยาในการบำบัดรักษาผูติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน
23

การใชยาเพื่อบำบัดรักษา Amphetamine withdrawal


Amphetamine withdrawal เปนปญหาที่พบบอยแตยังเปนประเด็นที่มีการศึกษา
คนควา วิจัยไมแพรหลายมากนัก ผลการศึกษาของ Schuckit และคณะ (1999) พบวา
รอยละ 87.6 ของผูปวย MA dependence ที่หยุดใชสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีนจะมี
อาการอยางนอย 6 ประการทีร่ ะบุอยูใ นเกณฑการวินจิ ฉัยโรคของ amphetamine withdrawal
ตามระบบ DSM-IV53, 54
แม MA จะเปนสารกระตุนประสาทแตก็มีกลไกการออกฤทธิ์ที่กวางขวางมาก อาการ
ของ amphetamine withdrawal จึงคอนขางหลากหลาย โดยการใช Amphetamine Withdrawal
Questionnaire (AWQ) Srisurapanont และคณะพบวา อารมณซึมเศราเปนอาการหลัก
ประการหนึ่งของ amphetamine withdrawal สำหรับอาการอื่นอาจแบงออกไดเปน 3 กลุม
อาการ55 คือ
1. กลุมอาการปลุกเรามากเกินไป (hyperarousal syndrome) ประกอบดวย
อาการอยากยา (drug craving), ลุกลี้ลุกลน (agitation) และฝนราย-ชัดเจน (vivid and
unpleasant dreams)
2. กลุม อาการ reverse vegetative (syndrome) ประกอบดวย อาการหมดเรีย่ วแรง
อยากรับประทานอาหารเพิ่มมากขึ้น และอยากนอนมากขึ้น
3. กลุมอาการวิตกกังวล (anxiety syndrome) ประกอบดวย อาการเบื่อหนาย
(loss of interest or pleasure) วิตกกังวลและเคลื่อนไหวชา
การศึกษาเพิ่มเติมในระยะหลังพบวา อารมณหงุดหงิดและการเสียสมาธิก็พบไดบอย
เชนกัน56
อาการของ amphetamine withdrawal แบงไดเปน 2 ระยะคือ ระยะเฉียบพลัน
7-10 วันแรกของการหยุดสารเสพติดกลุม แอมเฟตามีน และระยะหลังเฉียบพลัน (subacute)
(10-21 วัน) โดยปญหาการกินและการนอนอาจคงอยูเปนเวลานานหลายสัปดาหได7
แมความรูเกี่ยวกับอาการและระยะตางๆ ของ amphetamine withdrawal จะมีเพิ่ม
มากขึ้น แตความรูเกี่ยวกับการบำบัดรักษายังมีนอยและอาจเปนปจจัยหนึ่งที่ทำใหผูปวย
MA dependence จำนวนมากมักไมเขารับการบำบัดรักษาแบบสมัครใจ

แผนงานวิชาการพัฒนารูปแบบการดูแลผูเสพสารเสพติดในชุมชน
24

จากการสืบคนพบวา มีเพียง 5 RCTs ที่ศึกษาประสิทธิผลของยาในการลด


อาการ amphetamine withdrawal

1. ยา Mirtazapine
• Kongsakon และคณะ (2005) ไดทำการศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิผลและความ
ปลอดภัยของยา mirtazapine ในการถอนพิษยา (detoxification) MA57 อาสาสมัครวิจัยเปน
ชาวไทย 20 รายทีถ่ กู คุมประพฤติโดยกรมคุมประพฤติ กระทรวงยุตธิ รรม อาสาสมัครเหลานี้
เขาไดกับเกณฑการวินิจฉัยของ DSM-IV amphetamine dependence และถูกสุมใหไดยา
mirtazapine หรื อ ยาลวงนาน 14 วั น ประสิ ท ธิ ผ ลของการถอนพิ ษ ยาประเมิ น ด ว ย
Amphetamine Withdrawal Questionnaire (AWQ) และการลดอาการซึมเศราประเมินดวย
Montgomery-Asberg Depression rating scale (MADRS) ในวันที่ 3 และ 14 ผลการ
ศึกษาพบวา อาสาสมัคร 9 รายไดรบั ยา mirtazapine ขนาด 15-60 mg กอนนอน และ 11 ราย
ไดรับยาลวง ในจำนวนนี้อาสาสมัคร 7 รายที่ไดยา mirtazapine และ 9 รายที่ไดยาลวง
อยูในโครงการวิจัยครบ 14 วัน ในดานอาการ amphetamine withdrawal กลุมที่ไดรับยา
mirtazapine มีคะแนนของ AWQ ลดลงมากกวากลุมที่ไดรับยาลวงอยางมีนัยสำคัญทาง
สถิติทั้งในวันที่ 3 (p<0.005) และในวันที่ 14 (p<0.03) โดยเฉพาะกลุมอาการปลุกเรามาก
เกินไป (hyperarousal syndrome) และกลุมอาการวิตกกังวล (anxiety syndrome) สำหรับ
อาการซึมเศรา คะแนนของ MADRS ของทัง้ สองกลุม ลดลงไมตา งกัน (p>0.05) ผลขางเคียง
ของยา mirtazapine ไมรุนแรง แตที่พบไดบอย คือ ปวดศีรษะ งวงนอน คลื่นไส และ
อาเจียน
• Cruickshank และคณะ (2008) ไดทำการศึกษาวิจัยแบบ double-blind สุม และ
มียาลวงควบคุมของยา mirtazapine ในการรักษา amphetamine withdrawal ในผูป ว ยนอก
ที่เขาไดกับการวินิจฉัยของ DSM-IV amphetamine-type stimulant dependence จำนวน
31 ราย58 ผูวิจัยใหยา mirtazapine 15 mg กอนนอนใน 2 วันแรก และเพิ่มเปน 30 mg
กอนนอนใน 12 วันหลัง ในวันที่ 0, 3, 7, 14 และ 35 ผูวิจัยประเมินอัตราการคงอยูในการ
รักษา (retention) อาการถอนแอมเฟตามีนดวย Amphetamine Cessation Symptom
Assessment (ACSA) การนอนไมหลับดวย Athens Insomnia scale อาการทางจิตเวชอื่น

การใชยาในการบำบัดรักษาผูติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน
25

ด ว ย Brief Symptom Inventory และ Depression-Anxiety-Stress Scale (DASS)


ความรุนแรงของการติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีนดวย Severity of Dependence scale
และ Opiate Treatment Index Drug Use Subscale ผลการศึกษาพบวาอาสาสมัคร
13 รายไดรบั mirtazapine และ 18 รายไดรบั ยาลวง รอยละ 52 ของอาสาสมัครอยูใ นงานวิจยั
อยางนอย 2 สัปดาห ผูวิจัยไมพบความแตกตางระหวางกลุมที่ไดรับ mirtazapine และ
ยาลวงในเรื่องของการคงอยูในการรักษา อาการ amphetamine withdrawal การนอน และ
อัตราการใชแอมเฟตามีน
ผลการศึ ก ษาทั้ ง สองมี ค วามแตกต า งกั น อย า งชั ด เจน แม ว า ขนาดตั ว อย า งในทั้ ง
2 งานวิจัยจะใกลเคียงกัน แตงานวิจัยของ Kongsakon และคณะพบวา ยา mirtazapine
สามารถลดอาการถอนแอมเฟตามีนไดดี ในขณะที่งานวิจัยของ Cruickshank และคณะ
ไมพบประโยชนของยา mirtazapine ตออาการเหลานี้เลย ความแตกตางเหลานี้อาจเกิดได
จากหลายประการ เชน เครื่องมือวัดอาการ amphetamine withdrawal ซึ่งงานวิจัยแรกใช
AWQ ที่มีอาการหลัก 10 อาการ แตงานวิจัยที่สองใช ACSA ซึ่งครอบคลุมถึง 16 อาการ
โดยมีบางอาการที่อาจเกี่ยวของกับอาการ amphetamine withdrawal นอย เชน การนอน
ไมหลับ หูแวว นอกจากนี้งานวิจัยแรกยังมีอัตราการหยุดรักษานอยกวาอีกดวย สำหรับ
ขนาดยา mirtazapine ไมนาเปนสาเหตุของความแตกตางเพราะขนาดยาที่ใชงานวิจัยแรก
(15 mg/day) คอนขางจะต่ำกวาขนาดยาที่ใชในงานวิจัยที่สอง (30 mg/day)

2. ยา Amineptine
• Jittiwutikan และคณะ (1997) ไดทำการศึกษาแบบ double-blind สุม และ
มียาลวงควบคุมเพื่อประเมินประสิทธิผลของ amineptine ซึ่งเปนยาตานซึมเศราประเภท
dopamine reuptake inhibitor ในผู ติ ด สารเสพติ ด กลุ ม แอมเฟตามี น 59 อาการถอน
สารเสพติดกลุม แอมเฟตามีนประเมินดวย Questionnaire for Evaluating Cocaine Craving
and Related Response (QECCRR) และสภาวะทั่วไปดวย Clinical Global Impression
(CGI) ผลการศึกษาพบวา เมือ่ เทียบกับกลุม ทีไ่ ดรบั ยาลวง (n=15) กลุม ทีไ่ ดรบั ยา amineptine
100-300 mg/day (n=15) มีอาการซึมเศรานอยกวาในสัปดาหแรก และมีอาการทั่วไป
ดีกวาในสัปดาหที่ 2

แผนงานวิชาการพัฒนารูปแบบการดูแลผูเสพสารเสพติดในชุมชน
26

• Srisurapanont และคณะ (1999) ไดทำการศึกษายา amineptine (100-300


mg/day) ซ้ำแบบ double-blind สุม และมียาลวงควบคุมในผูติดแอมเฟตามีนอีกครั้ง60
แตในครั้งหลังนี้ใช AWQ ในการประเมินอาการถอนสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีนและใช
CGI ในการประเมินภาวะทั่วไป ผลการศึกษาพบวา คะแนนรวมของ AWQ ไมแตกตางกัน
ระหวางกลุม แตทสี่ ปั ดาหที่ 1 และ 2 กลุม ทีไ่ ดรบั ยา amineptine 100-300 mg/day (n=22)
มีกลุมอาการของ reverse vegetative symptoms ของ AWQ นอยกวากลุมที่ไดรับยาลวง
(n=22) ที่สัปดาหที่ 2 กลุมที่ไดรับยา amineptine มีสภาวะทั่วไปที่ดีกวาดวยเชนกัน
ทัง้ 2 งานวิจยั พบวายา amineptine 100-300 mg/day สามารถลดอาการบางประการ
ของ amphetamine withdrawal ลงได อยางไรก็ตาม เนือ่ งจากมีรายงานเกีย่ วกับการเสพติด
amineptine เพิ่มมากขึ้น ทำใหยานี้ถูกหยุดจำหนายไปตั้งแตป ค.ศ. 2000

3. ยา Lisuride
• Gillin และคณะ (1994) ไดทำการศึกษายา lisuride ซึ่งเปน dopaminergic
agonist แบบ double-blind สุม และมียาลวงควบคุมในผูท ต่ี ดิ ยากระตุน ประสาท (stimulant
abusers)61 แมวาการใหยา lisuride จะทำให REM (rapid eye movement) latency ของ
การนอนเพิ่มมากขึ้น (คือการเกิด REM sleep ครั้งแรกชาลง) และระยะเวลาทั้งหมดของ
การนอนแบบ REM ลดลง แตการศึกษานี้ไมพบวายา lisuride สามารถลดอาการถอนยา
หรืออยากยาได
สำหรับยาสามขนานทีม่ กี ารศึกษาในการบำบัดรักษา amphetamine withdrawal
ยา amineptine มีประโยชนในการลดอาการลงไดบาง แตยานี้ไมมีจำหนายแลว
สำหรับยา mirtazapine ผลการวิจัยที่ตรงขามกันทำใหยังไมสามารถสรุปไดวายานี้
จะมีประโยชนหรือไม สวนยา lisuride ไมนามีประโยชนตอภาวะนี้

การใชยาในการบำบัดรักษาผูติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน
27

การใชยาเพื่อบำบัดรักษา Amphetamine Psychosis


Amphetamine psychosis เปนภาวะที่เกิดจากการเปนพิษของสารเสพติดกลุม
แอมเฟตามีน (amphetamine intoxication) ที่มีอาการโรคจิตรวมดวย อาการที่พบบอยคือ
การหลงผิด (delusions) และประสาทหลอน (hallucinations) ภาวะนี้มักพบในผูที่ติดสาร
เสพติดกลุมแอมเฟตามีนเรื้อรัง ใชในขนาดสูงอยางตอเนื่อง เนื่องจาก DSM-IV ระบุวา
amphetamine-induced psychotic disorder เปนภาวะที่เกิดขึ้นเฉพาะชวงที่มีการเปนพิษ
(intoxication) ของยาเทานั้น62 และโดยทั่วไปแลวอาการทางจิตที่คงอยูเกิน 4 สัปดาหหลัง
หมดภาวะเปนพิษของยาหรือถอนพิษยาควรพิจารณาวาเปนโรคทางจิตเวชทีไ่ มนา เกีย่ วของ
กับการใชสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน62 เชน schizophreniform disorder, schizoprhenia
ผูเชี่ยวชาญสวนใหญมีความเห็นวาอาการโรคจิตของ amphetamine psychosis
ที่เกิดขึ้นคลายคลึงกับอาการโรคจิตที่พบในผูปวยโรคจิตเภทเปนอยางยิ่ง63 ซึ่งไมเพียงแต
อาการชนิดบวก (positive symptoms) (เชน ประสาทหลอน ระแวง) เทานั้น แตรวมถึง
อาการชนิดลบ (negative symptoms) เชน อารมณทื่อ พูดนอย64 สำหรับความชุกของ
อาการทางโรคจิตตางๆ ดูไดจากตารางที่ 165
ตารางที่ 1 ความชุกของอาการโรคจิตในผูป ว ย amphetamine psychosis ชาวออสเตรเลีย
ญี่ปุน ฟลิปปนส และไทย (n=168)
ÍÒ¡ÒÃâä¨Ôμ ¤ÇÒÁªØ¡ªÑèǪÕÇÔμ (lifetime) ¢³Ð·ÕèμÃǨ (current)
Persecutory delusion 130 (77.4%) 35 (20.8%)
Auditory hallucinations 122 (72.6%) 75 (44.6%)
Strange or unusual beliefs 98 (58.3%) 39 (23.2%)
Thought reading 89 (53.0%) 27 (16.1%)
Visual hallucinations 64 (38.2%) 20 (11.9%)
Delusion of reference 64 (38.1%) 20 (11.9%)
Thought insertion or made act 56 (33.3%) 18 (10.7%)
Negative psychotic symptoms* 36 (21.4%)
Disorganized speech* 19 (11.3%)
Disorganized or catatonic behavior* 14 (8.3%)
*ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมผูปวยในขณะสัมภาษณเทานั้น
จาก Srisurapanont M, et al. Psychotic symptoms in methamphetamine psychotic in-patients.
Int J Neuropsychopharmacol. 2003; 6:347-352. (with permission)

แผนงานวิชาการพัฒนารูปแบบการดูแลผูเสพสารเสพติดในชุมชน
28

จนถึงปจจุบันมีเพียง 2 RCTs เทานั้นที่ศึกษาเกี่ยวกับการใชยาบำบัดรักษา


amphetamine psychosis

1. ยา Droperidol
• Richards และคณะ (1997) ได ท ำการศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ประสิ ท ธิ ผ ลของยา
droperidol ซึ่งเปนยารักษาโรคจิตประเภท butyrophenone ตัวหนึ่งโดยเปรียบเทียบกับยา
lorazepam ซึ่งเปนยากลอมประสาทประเภท benzodiazepines ในผูปวย amphetamine
intoxication66 เนือ่ งจากเปนการศึกษาทีห่ อ งฉุกเฉิน ผูว จิ ยั จึงประเมินความงวงนอนที่ 0, 5,
10, 15, 30 และ 60 นาที โดยหากผูปวยไมงวงนอนเทาที่ควร ผูวิจัยสามารถใหยาเพิ่มได
อีกครั้งหลังใหครั้งแรกแลว 30 นาที ผลการศึกษาพบวา อาสาสมัครวิจัย 72 รายไดรับยา
droperidol และ 74 รายไดรบั ยา lorazepam ที่ 5 นาที อาสาสมัครทัง้ สองกลุม มีการงวงนอน
ใกลเคียงกัน แตกลุมที่ไดรับ droperidol มีการงวงนอนมากกวาอยางมีนัยสำคัญที่ 10, 15,
30 และ 60 นาที (p<0.001) อาสาสมั ค รในกลุ ม ที่ ไ ด รั บ ยา droperidol 6 รายและ
กลุมที่ไดรับยา lorazepam 26 รายตองการยาฉีดเข็มที่สองที่ 30 นาที

2. ยา Olanzapine และ Haloperidol


• Leelahanaj และคณะ (2005) ไดทำการศึกษานาน 4 สัปดาหเพื่อเปรียบเทียบ
ประสิทธิผลและผลขางเคียงของยา olanzapine และ haloperidol ในผูปวย amphetamine
psychosis67 ขนาดยาที่ใช คือ 5-20 mg/day จำนวนอาสาสมัครไดรับยา olanzapine และ
haloperidol มี เ ท า กั น คื อ ข า งละ 29 ราย ผลการศึ ก ษาพบว า อั ต ราการตอบสนอง
ทางคลินิก (clinical response) เทากับรอยละ 93 ในกลุมที่ไดรับยา olanzapine และเทากับ
ร อ ยละ 79.3 ในกลุ ม ที่ ไ ด รั บ ยา haloperidol (p=0.25) สำหรั บ ผลข า งเคี ย งประเภท
extrapyramidal side effects ซึ่งประเมินโดย Simpson-Angus scale และ akathisia
ซึ่งประเมิน Barnes Akathisia พบวา กลุมที่ไดรับยา olanzapine มีผลขางเคียงเหลานี้
นอยกวา (p<0.01 และ p=0.02 ตามลำดับ)
ผลการศึกษาทั้งสองแสดงใหเห็นวา ยารักษาโรคจิต โดยเฉพาะยารักษาโรคจิต
กลุม ใหม (newer antipsychotic agents) นาจะมีประโยชนในการรักษา amphetamine
psychosis โดยลักษณะเดนของยากลุมนี้คือ การมีโอกาสเกิดผลขางเคียงที่เกี่ยวของกับ
การเคลื่อนไหวนอยกวายารักษาโรคจิตกลุมเกา (conventional antipsychotic agents)

การใชยาในการบำบัดรักษาผูติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน
29

º·ÊÃØ»
จากหลักฐานทางวิชาการจนถึงปจจุบนั ยังไมพบวามียาชนิดใดทีจ่ ะมีประสิทธิผลในการ
รักษาการเสพติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน อยางไรก็ตามมีการศึกษาที่แสดงใหเห็นวา
ยาบางชนิด ไดแก ยา d-amphetamine ยา methylphenidate ยา bupropion ยา mirtazapine
และยา naltrexone อาจชวยลดการเสพ MA ลงได
อยางไรก็ตามเนื่องจากประโยชนเหลานั้นพบในการศึกษาที่มีขนาดตัวอยางเล็กและ
มักพบในการศึกษาเดียว ทำใหยังไมสามารถสรุปไดถึงประสิทธิผลที่แทจริง จึงยังไมมี
ยาชนิดใดที่ไดรับการรับรองจากองคการอาหารและยาใหใชในการรักษาผูเสพติดสาร MA
สำหรับประสิทธิผลของยาในการรักษา amphetamine dependence มียาหลายชนิด
ถู ก นำมาทำการศึ ก ษา แม ว า งานวิ จั ย ต า งๆ จะมี ก ารประเมิ น ผลลั พ ธ ที่ แ ตกต า งกั น
แตผลลัพธหลักสวนใหญก็ใหความสำคัญกับการลดการเสพสาร MA และมักจะประเมิน
อาการอยากยา และอั ต ราการคงอยู ใ นการรั ก ษาควบคู ไ ปด ว ย เพราะผลลั พ ธ เ หล า นี้
มักสอดคลองกัน เนื่องจากการที่ผูปวยมีอาการอยากยานอยหรือไมมี รวมกับการมีความ
รวมมือในการรักษาอาจสะทอนถึงแรงจูงใจหรือการทนตอยาไดดี ปจจัยเหลานี้จึงสงผลตอ
การที่ผูปวยจะสามารถลดหรือหยุดการใชสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีนไดในที่สุด
หากพิจารณาในแงการลดการใชสาร MA ไดเปนหลัก ยาที่อาจมีประสิทธิผล
และอาจมีประโยชนในการรักษาผูติดสาร MA ไดแก
ยา d-amphetamine อาจชวยลดอาการถอนยา MA และความรุนแรงของการ
เสพติดยาได แตไมสามารถลดอัตราการใช MA ได
ยา methylphenidate อาจมีประสิทธิผลในการลดการใช MA (มีผลการตรวจ MA
ในปสสาวะเปนลบ) ในผูปวย MA dependence ชนิดฉีดเขาเสน
ยา bupropion อาจชวยลดการเสพ MA ลงไดบางในกลุมที่ใช MA ปริมาณนอย
การใหยา mirtazapine รวมกับการใหคำปรึกษาเกีย่ วกับการใชสารเสพติด (substance
use counseling) มีประสิทธิผลในการลดการใช MA (มีผลการตรวจ MA ในปสสาวะเปนลบ)
ในผูปวย MA dependence ในชายที่มีเพศสัมพันธกับชาย พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศที่ลดลง
สัมพันธกับผลการตรวจหา MA ในปสสาวะที่เปนลบ

แผนงานวิชาการพัฒนารูปแบบการดูแลผูเสพสารเสพติดในชุมชน
30

ยา naltrexone ชวยลดการเสพ MA (มีผลการตรวจปสสาวะที่เปนลบ) ลงไดและ


ชวยใหมีการหยุดเสพตอเนื่อง แตไมพบวายานี้มีประโยชนเมื่อใหรวมกับยา N-acetyle
cysteine (NAC)
การศึกษาเกี่ยวกับการบำบัดรักษา amphetamine withdrawal พบวา ยา d-amp
สามารถลดอาการ amphetemine withdrawal ได สวนยา amineptine มีประโยชนในการ
ลดบางอาการของ amphetamine withdrawal อยางไรก็ตามยา d-amp ไมมใี ชในประเทศไทย
และยา amineptine ก็ไมมีจำหนายแลว สำหรับการรักษา amphetamine psychosis การใช
ยารั ก ษาโรคจิ ต ยั ง เป น การรั ก ษาหลั ก โดยยารั ก ษาโรคจิ ต กลุ ม ใหม อ าจมี ผ ลข า งเคี ย ง
ดานการเคลื่อนไหวนอยกวายากลุมเกา
จากการที่ยังไมมียาใดมีประสิทธิผลชัดเจนในการรักษา amphetamine dependence
การรักษาทางจิตสังคมจึงยังเปนสิ่งจำเปนมากและควรใหการบำบัดทางจิตสังคมแกผูปวย
ทุกราย เชน การใหคำปรึกษาเกี่ยวกับการลดการเสพสารเสพติด การเสริมสรางแรงจูงใจ
การบำบัดแบบปรับเปลี่ยนกระบวนคิด กลุมจิตสังคมบำบัด ประโยชนที่ไดจากจิตสังคม
บำบัดคือ การที่ผูปวยรวมมือในกระบวนการรักษา การชวยใหผูปวยสามารถปรับวิถีชีวิต
ที่เอื้อตอการลด ละ เลิกสารเสพติด และลดโอกาสการกลับเสพซ้ำ
จากองคค วามรูดั ง กล า วจะเห็ น ได ว า ยั ง ไม มี ย าใดที่ใช ใ นการรั ก ษาผู เ สพติ ด สาร
เสพติดกลุมแอมเฟตามีน อยางไรก็ตามผลการศึกษาของหลายๆ งานวิจัย แสดงใหเห็น
วาการใชยาบางชนิดอาจมีประโยชน ซึ่งการศึกษาเพิ่มเติมจะทำใหทราบถึงประสิทธิผลของ
ยาเหลานั้นชัดเจนมากขึ้น ผลการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับยาในตางประเทศอาจนำมาเปนขอมูล
อางอิงและใชในประเทศไทยได แตการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใชยาบำบัดรักษา
ผูเสพติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีนเพื่อใหตรงกับบริบทของประชากรไทยก็ยังมีความ
สำคัญและจำเปน

การใชยาในการบำบัดรักษาผูติดสารเสพติดกลุมแอมเฟตามีน
31

ºÃóҹءÃÁ
1. Organization, W.H., Amphetamine-Type Stimulants. 1997, Geneva: World Health Organization.
2. United Nations Office on Drugs and Crime, World Drug Report 2007. 2007, Vienna: Vienna International Centre.
3. Degenhardt, L., et al., What data are available on the extent of illicit drug use and dependence globally? Results of four
systematic reviews. Drug and Alcohol Dependence, 2011. 117(2-3): p. 85-101.
4. McAvoy, B.R., Methamphetamine--what primary care practitioners need to know. Journal of Primary Health Care, 2009.
1(3): p. 170-6.
5. Marshall, B.D. and D. Werb, Health outcomes associated with methamphetamine use among young people:
a systematic review. Addiction, 2010. 105(6): p. 991-1002.
6. Kittirattanapaiboon, P., et al., Long-term outcomes in methamphetamine psychosis patients after first hospitalisation. Drug
and Alcohol Review, 2010. 29(4): p. 456-61.
7. McGregor, C., et al., The nature, time course and severity of methamphetamine withdrawal. Addiction, 2005. 100(9):
p. 1320-9.
8. Jenner, L. and N. Lee, Treatment Approaches for Users of Methamphetamine: A Practical Guide for Frontline Workers.
2008, Canberra: Australian Government Department of Health and Ageing.
9. Baker, A., et al., A Brief Cognitive Behavioural Intervention for Regular Amphetamine Users. 2003, University of
Newcastle: Australian Government Department of Health and Ageing.
10. Cruickshank, C.C. and K.R. Dyer, A review of the clinical pharmacology of methamphetamine. Addiction, 2009. 104(7):
p. 1085-99.
11. Abi-Dargham, A., et al., Dopamine mediation of positive reinforcing effects of amphetamine in stimulant naive healthy
volunteers: results from a large cohort. European Neuropsychopharmacology, 2003. 13(6): p. 459-68.
12. Gorelick, D., The pharmacology of Cocaine, Amphetamines, and others stimulants, in Principle of addiction medicine, R.
Ries, et al., Editors. 2009, American Society of Addiction Medicine. p. 133-155.
13. Gerrard, P. and R. Malcolm, Mechanisms of modafinil: a review of current research. Neuropsychiatric Disorder Treatment,
2007. 3: p. 349-364.
14. McElhiney, M., et al., Provigil (modafinil) plus cognitive behavioral therapy for methamphetamine use in HIV+ gay men:
a pilot study. American Journal of Drug and Alcohol Abuse 2009. 35: p. 34-37.
15. Shearer, J., et al., A double-blind, placebo-controlled trial of modafinil (200 mg/day) for methamphetamine dependence.
Addiction, 2009. 104: p. 224-233.
32

16. Heinzerling, K., et al., Randomized, double-blind, placebo-controlled trial of modafinil for the treatment of methamphetamine
dependence. Drug and Alcohol Dependence 2010. 109(20-9).
17. Anderson, A., et al., Modafinil for the treatment of methamphetamine dependence. Drug and Alcohol Dependence, 2012.
120: p. 135-141.
18. Klee, H., et al., Role of substitute therapy in the treatment of problem amphetamine use. Drug and Alcohol Review, 2001.
20: p. 417-429.
19. Longo, M., et al., Randomized controlled trial of dexamphetamine maintenance for the treatment of methamphetamine
dependence. Addiction, 2010. 105: p. 146-154.
20. Galloway, G., et al., A randomized, placebo-controlled trial of sustained-release dextroamphetamine for treatment of
methamphetamine addiction. Clinical Pharmacology & Therapeutics, 2011. 89: p. 276-282.
21. Stalcup, S., et al., A treatment model for craving identification and management. Journal of psychoactive drugs, 2006.
38: p. 189-202.
22. Galloway, G., E. Singleton, and T.M.T. Project, How long does craving predict use of methamphetamine? Assessment
of use one to seven weeks after the assessment of craving. Substance Abuse, 2009. 1: p. 63-79.
23. Hartz, D., S. Frederick-Osborne, and G. Galloway, Craving predicts use during treatment for methamphetamine dependence:
a prospective, repeated-measures, within-subject analysis. Drug and Alcohol Dependence, 2001. 63: p. 269-276.
24. Galloway, G., et al., An examination of drug craving over time in abstinent methamphetamine users. American Journal
on Addictions 2010. 19: p. 510-514.
25. Tiihonen, J., et al., A comparison of aripiprazole, methylphenidate, and placebo for amphetamine dependence. The
American Journal of Psychiatry 2007 164: p. 160-162.
26. Galloway, G., et al., A controlled trial of imipramine for the treatment of methamphetamine dependence. Journal of
Substance Abuse Treatment 1996. 13: p. 493-497.
27. Karila, L., et al., Pharmacological approaches to methamphetamine dependence: a focused review. British Journal of
Clinical Pharmacology, 2010. 69: p. 578-592.
28. Newton, T., et al., Bupropion reduces methamphetamine-induced subjective effects and cue-induced craving. Neuropsy-
chopharmacology, 2006. 31: p. 1537-1544.
29. Elkashef, A., et al., Bupropion for the treatment of methamphetamine dependence. Neuropsychopharmacology, 2008
33: p. 1162-1170.
30. Shoptaw, S., et al., Randomized, placebo-controlled trial of bupropion for the treatment of methamphetamine dependence.
Drug and Alcohol Dependence 2008. 96: p. 222-232.
31. Chang, L., et al., Enlarged striatum in abstinent methamphetamine abusers: a possible compensatory response.
Biological Psychiatry 2005 57: p. 967-974.
33

32. Fleckenstein, A., et al., Differential effects of psychostimulants and related agents on dopaminergic and serotonergic
transporter function. European Journal of Pharmacology 1999. 382: p. 45-49.
33. Shoptaw, S., et al., Randomized, placebo-controlled trial of sertraline and contingency management for the treatment of
methamphetamine dependence. Drug and Alcohol Dependence 2006. 85: p. 12-18.
34. Batki, S., et al., Fluoxetine in methamphetamine dependence. A controlled trial: a preliminary analysis in CPDD
61st Annual Scientific Meeting. 1999.
35. Batki, S., et al., Methamphetamine quantitative urine concentrations during a controlled trial of fluoxetine treatment.
Preliminary analysis. Ann N Y Acad Sci, 2000. 909: p. 260-263.
36. Piasecki, M., et al., An exploratory study: the use of paroxetine for methamphetamine craving. Journal of Psychoactive
Drugs, 2002. 34: p. 301-304.
37. Devoto, P., et al., Mirtazapine-induced corelease of dopamine and noradrenaline from noradrenergic neurons in
the medial prefrontal and occipital cortex. European Journal of Pharmacology, 2004. 487: p. 105-111.
38. Nakayama, K., T. Sakurai, and H. Katsu, Mirtazapine increases dopamine release in prefrontal cortex by 5-HT1A
receptor activation. Brain Research Bulletin 2004. 63: p. 237-241.
39. Haddjeri, N., P. Blier, and C. de Montigny, Acute and long-term actions of the antidepressant drug mirtazapine on
central 5-HT neurotransmission. Journal of Affective Disorders, 1998. 51: p. 255-266.
40. Colfax, G., et al., Mirtazapine to reduce methamphetamine use: a randomized controlled trial. Archives of General
Psychiatry 2011. 68: p. 1168-1175.
41. Jayaram-Lindstrom, N., et al., Effects of naltrexone on the subjective response toamphetamine in healthy volunteers.
Journal of Clinical Psychopharmacology 2004. 24: p. 665-669.
42. Jayaram-Lindström, N., et al., Naltrexone for the treatment of amphetamine dependence: a randomized, placebo-
controlled trial. The American Journal of Psychiatry, 2008. 165: p. 1442-1448.
43. Johnson, B., et al., A preliminary randomized, double-blind, placebo-controlled study of the safety and efficacy of on-
dansetron in the treatment of methamphetamine dependence. The International Journal of Neuropsychopharmacology,
2008. 11: p. 1-14.
44. Heinzerling, K., et al., Randomized, placebo-controlled trial of baclofen and gabapentin for the treatment of
methamphetamine dependence. Drug and Alcohol Dependence, 2006. 85: p. 177-184.
45. Shoptaw, S., et al., Randomized placebo-controlled trial of baclofen for cocaine dependence: preliminary effects for
individuals with chronic patterns of cocaine use. Journal of Clinical Psychiatry, 2003. 64: p. 1440-1448.
46. Grant, J., B. Odlaug, and S. Kim, A double-blind, placebo-controlled study of N-acetyl cysteine plus naltrexone for
methamphetamine dependence. European Neuropsychopharmacology, 2010. 20: p. 823-828.
34

47. Ito, K., et al., The role of benzodiazepine receptors in the acquisition and behavioral expression of sensitization to
methamphetamine. Pharmacology Biochemistry and Behavior, 2000. 65: p. 705-710.
48. Myrick, H., et al., Divalproex loading in the treatment of cocaine dependence. Journal of Psychoactive Drugs 2001. 33:
p. 283-287.
49. Raby, W., Gabapentin therapy for cocaine cravings. American Journal of Psychiatry, 2000. 157: p. 2058-2059.
50. Hart, C., et al., Gabapentin maintenance decreases smoked cocaine related subjective effects, but not self-administration
by human. Drug and Alcohol Dependence, 2004. 73: p. 279-287.
51. Ling, W., et al., Double-blind placebo-controlled evaluation of the PROMETA™ protocol for methamphetamine
dependence. Addiction, 2012. 107: p. 361-369.
52. Urschel, H.I., L. Hanselka, and M. Baron, A controlled trial of flumazenil and gabapentin for initial treatment of
methylamphetamine dependence. Journal of Psychopharmacology, 2011. 25: p. 254-262.
53. Schuckit, M.A., et al., Clinical implications for four drugs of the DSM-IV distinction between substance dependence with
and without a physiological component. American Journal of Psychiatry, 1999. 156: p. 41-9.
54. American Psychiatric Association, Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders. 4th ed. 1994, Washington (DC):
American Psychiatric Association.
55. Srisurapanont, M., N. Jarusuraisin, and J. Jittiwutikan, Amphetamine withdrawal: I. Reliability, validity and factor structure
of a measure. Australian and New Zealand Journal of Psychiatry, 1999. 33: p. 89-93.
56. Newton, T., et al., Methamaphetamine abstinence syndrome: preliminary findings. American Journal of Addiction, 2004.
13(248-255).
57. Kongsakon, R., K.I. Papadopoulos, and R. Saguansiritham, Mirtazapine in amphetamine detoxification:
a placebo-controlled pilot study. International Clinical Psychopharmacology, 2005. 20: p. 253-256.
58. Cruickshank, C.C., et al., A placebo-controlled trial of mirtazapine for the management of methamphetamine
withdrawal. Drug and Alcohol Review, 2008. 27: p. 326-333.
59. Jittiwutikan, J., M. Srisurapanont, and N. Jarusuraisin, Amineptine in the treatment of amphetamine withdrawal:
a placebo-controlled, randomised, double-blind study. Journal of the Medical Association of Thailand, 1997. 80:
p. 587-592.
60. Srisurapanont, M., N. Jarusuraisin, and J. Jittiwutikan, Amphetamine withdrawal: II. A placebo-controlled randomised,
double-blind study of amineptine treatment. Australian and New Zealand Journal of Psychiatry, 1999. 33: p. 94-98.
61. Gillin, J.C., et al., The effects of lisuride on mood and sleep during acute withdrawal in stimulant abusers: a preliminary
report. Biological Psychiatry, 1994. 35: p. 843-849.
62. American Psychiatric Association, Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders. 4-TR ed. 2000, Washington
(DC): American Psychiatric Association.
35

63. Bell, D.S., Comparison of amphetamine psychosis and schizophrenia. British Journal of Psychiatry, 1965. 111:
p. 701-707.
64. Srisurapanont, M., et al., Comparisons of methamphetamine psychotic and schizophrenic symptoms: A differential item
functioning analysis. Progress in Neuro-psychopharmacology and Biological Psychiatry, 2011. 35: p. 959-64.
65. Srisurapanont, M., et al., Psychotic symptoms in methamphetamine psychotic in-patients. International Journal of
Neuropsychopharmacology, 2003. 6: p. 347-352.
66. Richards, J.R., R.W. Derlet, and D.R. Duncan, Methamphetamine toxicity: treatment with a benzodiazepine versus
a butyrophenone. European Journal of Emergency Medicine, 1997. 4: p. 130-135.
67. Leelahanaj, T., R. Kongsakon, and P. Netrakom, A 4-week, double-blind comparison of olanzapine with haloperidol in
the treatment of amphetamine psychosis. Journal of the Medical Association of Thailand, 2005. 88 (Suppl 3): p. S43-S52.

You might also like