You are on page 1of 11

3

การก่อสร้างโครงสร้างเหล็ก
(Steel Structure)

3.1 การตัดประกอบ
ชั้นคุณภาพและมาตรฐานของเหล็กขั้นตอนการ
ตัดประกอบ
3.2 การเชื่อมต่อ
ชนิดของการเชื่อมต่อ
3.3 การติดตัง้
ขั้นตอนการติดตั้ง
3.4 การตรวจสอบโครงสร้างเหล็ก
รายการตรวจสอบ
3.5 เอกสารอ้างอิง
การก่อสร้างโครงสร้างเหล็ก บทที่ 3 หน้า 1
 

3.1 การตัดประกอบ
โครงสร้างเหล็กรูปพรรณนั้นเป็นที่นิยมกันมานานมากแล้ว ในประเทศ
ไทยนั้นเหล็กรูปพรรณนํามาใช้ในงานก่อสร้างโดยมีขบวนการผลิตทั้งแบบ
รีดร้อนและรีดเย็น และมีรูปแบบมากมายให้เลือกใช้ตามความเหมาะสมของ
แต่ละงาน
3.1.1 รูปแบบของเหล็กรูปพรรณในท้องตลาด
3.1.1.1 Wide Flange Shapes
3.1.1.2 I Shapes, H Shapes
3.1.1.3 Steel Pipe, Steel Tube
3.1.1.4 Channel, Lip Channel Shapes
3.1.1.5 Angle, Plate ect.

 
สภาวิศวกร 2556
บทที่ 3 หน้า การก่อสร้างโครงสร้างเหล็ก
2
 

3.1.2 มาตรฐานของเหล็กรูปพรรณ
ลําดับ รายการ Fy ใช้งาน รูปแบบ
(Mpa)
1 A36 ( Structural 250 เป็นเหล็กที่ - เหล็กฉาก
Steel ) เหมาะสมมากที่สุด - เหล็กราง
สําหรับงานก่อสร้าง - เหล็กตัวไอ
ทั่วไป เพราะเชื่อม
และใส่สลักเกลียว
ทําได้ง่าย
2 A245 ( flat-Rolled 170- สําหรับทําเหล็ก - เหล็กตัว C
Carbon Steel 230 ไลท์เกจ - เหล็ก
Sheet of Tube
Structural Quality)
3 A283 ( Low and 230 ใช้สําหรับงาน - Plate
Intermediate เครื่องจักรเป็น
Tensile Strength ภาชนะเก็บ
Carbon Steel Plate ของเหลว มีความ
หนา มากที่สุด375
มม.
4 A501 ( Hot-Form 250 คล้าย A36 - เหล็กท่อ
Welded and
Seamless Carbon
Steel Structural
Tubing)
5 A53 (Structural 240- ใช้กับงานที่ต้องการ - Plate
Carbon Steel Plate 260 ความเหนียวเป็น

อนุกรรมการมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ
 
การก่อสร้างโครงสร้างเหล็ก บทที่ 3 หน้า 3
 
of Improved พิเศษเช่น ถังเก็บน้ํา
Toughness )
6 A307 (Low- 380- สําหรับทํา - Machine
Carbon Steel 620 Machine Bolt Bolt
Externally and และใช้ยึดข้อต่อของ
Internally ปีกท่อทัง้ สอง
Threaded
Standard
Fasteners)
7 A529 ( Structural 300 สําหรับเหล็ก - Plate
Steel with 290 โครงสร้างที่
minimum yield ต้องการกําลังสูง
ponit ) เป็นพิเศษ แต่เปราะ
8 A325 ( High - 720- สําหรับทํา Bolt - Bolt high
Strength Bolts for 830 high strength strength
structural Steel dia12-36 mm - สลัก
Joints Incuding เกลียว
Suitable Nutand
Plain Hardened
Washers)
9 A242 ( High- 290- สําหรับงานที่ - เหล็กแผ่น
Strength Low – 345 ต้องการเหล็กที่ทน ท่าเรือ
AlloyStructural ต่อการผุกร่อน
Steel
10 A440 ( high - 290- เป็นเหล็กกล้ากําลัง - Plate
Strength 345 สูงที่มีราคาถูกกว่า
Structural Steel ) A242ใช้กับงาน
สลักเกลียวไม่ควร
เชื่อม
11 A514 ( High-Yield - 620- ทําสะพาน,หอคอย - Plate
Strength, 690 ,ถังน้ํา,เครื่องจักร
Quenched สําหรับก่อสร้าง,

 
สภาวิศวกร 2556
บทที่ 3 หน้า การก่อสร้างโครงสร้างเหล็ก
4
 
andTempered Alloy อาคารสูง
Steel ,รถบรรทุก
Plate,Suitablefor
Welding

3.1.3 ขั้นตอนการตัดประกอบ
1. หลั ง จากได้ ORIGINAL DRAWING มาแล้ ว ต้ อ ง
ทําการศึกษาและทําความเข้าใจในแบบทั้งหมดให้รู้ทั้ง SPECIFICATION
และรูปแบบให้ทั้งหมดก่อนจะลงมือ FABRICATION
2. การเริ่มทํา Shop Drawing ต้องพิจารณาหลายๆอย่าง ดังนี้
2.1 พื้นที่ที่ใช้ประกอบนั้นขนาดของโครงสร้างเหล็กพัยงพอ
กับพื้นที่หรือไม่
2.2 ขนาดต้องไม่ใหญ่มากจนไม่สามารถขนส่งได้ การขนส่งมี
หลายประเทศก็จริง แต่ต้องคํานึงถึงค่าใช้จ่ายด้วยว่าคุ้มค่า
หรือเกมาะสมกันแค่ไหน
2.3 เส้ น ทางการขนส่ ง รถที่ เ ลื อ กใช้ ข นส่ ง นั้ น สามารถ ขน
ส่ ง ผ่ า น เ ส้ น ท า ง ต่ า ง ๆ
ได้หรือไม่
2.4 รอยต่อของโครงสร้างจะต้องถูกต้องตามหลักวิศวกรรม
พิ จ า ร ณ า เ รื่ อ ง แ ร ง
ที่เกิดขึ้นทั้งขณะประกอบและขนส่งให้เป็นอย่างดี
2.5 เรื่องการยกพลิกเรื่อง stock ชิ้นส่วนที่ประกอบ
2.6 ระยะเวลาการผลิต
3. เมื่อจัดทํา shop Drawing เรียบร้อยแล้ว ก็ทําการทาสีน้ํามัน
กันสนิม ตาม spec บาง spec ระบุให้ทาทั้งข้างนอกข้างใน จะต้องพิจารณา
เรื่อง cost ด้วยว่าใช้วิธีไหนให้ประหยัดสุด
4. เรื่มตัดประกอบตาม shop Drawing และตามความต้องการ
ชิ้นส่วนไหนติดตั้งก่อนของหน้างาน การStock สินค้าที่มากเกินไปไม่เป็น
ผลดีกับโรงผลิต
5. หลังจากประกอบและตรวจสอบรอยเชื่อมเรียบร้อยแล้วให้จัด
วางชิ้นส่วนให้เรียงตามลําดับการขนส่งไปหน่วยงาน

อนุกรรมการมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ
 
การก่อสร้างโครงสร้างเหล็ก บทที่ 3 หน้า 5
 
6. ถ้าต้องทาสีสีจริงจะต้องระวังให้เป็นอย่างดีเพราะถ้าเสียหาย
มากจะมีค่าใช้จ่ายในการเก็บสีมาก ทําให้ budget ไม่ได้ตามที่ตั้งไว้
7. ขนส่งชิ้ นส่วน ขึ้นรถจัดวางให้ไปได้ม ากที่สุด แต่ต้องไม่ เกิน
มาตราฐานจราจร
3.2 การเชื่อมต่อ
3.2.1 การเชื่อมต่อโดยการเชื่อม
การเชื่อมมีวัตถุประสงค์เพื่อ “ยึดต่อชิ้นงานอย่างถาวร” การเชื่อมโลหะ
ที่พบได้โดยทั่วไปประกอบด้วย 6 ประเภทใหญ่ๆ
การเชื่อมโลหะที่พบได้โดยทั่วไปประกอบด้วย 6 ประเภทใหญ่ๆ
1. การเชื่อมแก็ส (Gas Welding)
การเชื่อมแก็สอาศัยความร้อนจากการเผาไหม้ระหว่างแก็สเชื้อเพลิง
อะเซทิลีนกับออกซิเจน หลอมละลายโลหะให้ติดกันด้วยการเติมลวดเชื่อม
(Filler Metal or Welding rod) หรืออาจให้เนื้อโลหะหลอมละลายติด
กันเองโดยไม่เติมลวดเชื่อมก็ได้
2. การเชื่อมไฟฟ้า (Arc Welding)
การเชื่อมไฟฟ้าหรืออาจเรียกว่าการเชื่อมอาร์ค (Arc Welding) เกิด
จากการนํ า ความร้ อ นที่ ใ ช้ ใ นการเชื่ อ มจากการเกิ ด ประกายอาร์ ค ระหว่ า ง
ชิ้นงานและลวดเชื่อม จะทํ าให้ลวดเชื่อมหลอมละลายเสมือนเป็นการป้อน
เนื้อโลหะให้แก่รอยเชื่อม
3. การเชื่อมอัด (Press Welding, Resistance Welding)
การเชื่อมอัดเป็นการอาศัยความร้อนจากความต้านทานไฟฟ้าและอัด
ให้ ชิ้ น งานติ ด กั น เนื่ อ งจากหลั ก การเชื่ อ มนี้ ทํ า ให้ มี ชื่ อ เรี ย กหลายชื่ อ คื อ
Press Welding, Resistance Welding, Spot Welding เป็นต้น
4. การเชื่อม TIG (Tungsten Inert Gas Welding)
การเชื่ อ ม TIG อาศั ย ความร้ อ นที่ เ กิ ด จากการอาร์ ค ระหว่ า งลวด
ทังสเตนกับชิ้นงานเชื่อม โดยมีแก็สเฉื่อยปกคลุมบริเวณรอยเชื่อมทั้งหมด
เพื่อไม่ให้อากาศภายนอกเข้ามาทําปฏิกริยาในบริเวณรอยเชื่อม
5. การเชื่อม MIG (Metal Inert Gas Welding)

 
สภาวิศวกร 2556
บทที่ 3 หน้า การก่อสร้างโครงสร้างเหล็ก
6
 
การเชื่อม MIG อาศัยความร้อนที่เกิดจากการอาร์คระหว่างลวดเชื่อม
กับชิ้นงาน ลวดเชื่อมที่ใช้เป็นโลหะเปลือยที่ส่งป้อนอย่างต่อเนื่อง โดยมีแก็ส
เฉื่อยปกคลุมบริเวณรอยเชื่อมทั้งหมดเพื่อไม่ให้อากาศภายนอกเข้ามาทํา
ปฏิกิริยาในบริเวณรอยเชื่อม
6. การเชื่อมใต้ฟลักซ์ (Submerged Arc Welding)
การเชื่อมใต้ฟลักซ์จะอาศัยความร้อนจากการอาร์คระหว่างลวดเชื่อม
เ ป ลื อ ย กั บ ชิ้ น ง า น โ ด ย มี
ฟลักซ์ชนิดเม็ด (Granular Flux) ปกคลุมบริเวณอาร์ค ฟลักซ์ชนิดเม็ดที่อยู่
ใกล้ ร อยเชื่ อ มจะหลอมละลายปกคลุ ม บริ เ วณที่ ทํ า การเชื่ อ มเพื่ อ ป้ อ งกั น
อากาศภายนอกทําปฏิกิริยาชนิดของรอยต่อของเหล็กรูปพรรณ

การดูสัญลักษณ์ของรอยเชื่อมในแบบ

การดูสัญลักษณ์ของรอยเชื่อมในแบบ

อนุกรรมการมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ
 
การก่อสร้างโครงสร้างเหล็ก บทที่ 3 หน้า 7
 

ความหนาคอประสิทธิผลต่ําสุด

3.2.2 การเชื่อมต่อโดยระบบน๊อต
ระบบการต่อโดย BOLT ทางงานก่อสร้างที่ใช้ส่วนใหญ่จะใช้กับงานที่
ไม่ต้องการเชื่อม งานแบบน็อกดาวน์ งานที่ ใช้เหล็กกํ าลังสู ง งานโครงการ

 
สภาวิศวกร 2556
บทที่ 3 หน้า การก่อสร้างโครงสร้างเหล็ก
8
 
ขนาดใหญ่ ที่ มี ค วามละเอี ย ดสู ง ๆ แรงดึ ง ต่ํ า สุ ด ในสลั ก เกลี ย วเมื่ อ ขั น แน่ น
(กก.)

3.3 การติดตั้ง
โครงสร้างเหล็กนั้นโครงสร้างจะต้องทําการตรวจสอบเพื่อให้ไม่ ให้มี
ผลกระทบในการติดตั้งโครงสร้างเหล็ก โดยมีรายการดังนี้
3.3.1 ก่อนที่จะทําการติดตั้งจะต้องศึกษาและตรวจสอบโดยมีรายการ
ดังนี้
3.3.1.1 ตรวจสอบหน่วยงานว่ามีความพร้อมที่จะทําการติดตั้ง
โครงสร้างเหล็กหรือไม่
3.3.1.2 ตรวจสอบว่าจุดรองรับต่างๆ มีความพร้อมในการตืดตั้ง
หรือไม่
3.3.1.3 บางชิ้ น ส่ ว นเมื่ อ นํ า มาประกอบที่ ห น่ ว ยงานเพื่ อ ให้ ไ ด้
รู ป ร่ า งตามที่ อ อกแบบก่ อ นยกติ ด ตั้ ง จะต้ อ งเตรี ย มที่
ประกอบให้ใกล้ที่ติดตั้งมากที่สุดเพื่อป้องกันความเสียหาย
และค่าใช้จ่ายของเครื่องจักรที่เพิ่มขึ้น

อนุกรรมการมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ
 
การก่อสร้างโครงสร้างเหล็ก บทที่ 3 หน้า 9
 
3.3.1.4 เรื่ อ ง SAEFTY เป็ น สาระสํ า คั ญ มากกั บ การติ ด ตั้ ง
โครงสร้างเหล็ก จะต้องมี MSM, JSA, RA และจะต้องทํา
ตามขั้นตอนรวมถึงเตรียมเครื่องมือให้พร้อม การขึ้ นที่สูง
จะต้องมี SAFETY NET, LIFE LINE ฯลฯ
3.3.1.5 การติ ด ตั้ ง เมื่ อ เตรี ย มทุ ก อย่ า งพร้ อ มแล้ ว ก็ เ ริ่ ม ติ ด ตั้ ง
โครงสร้ า งเหล็ ก โดยเมื่ อ เชื่ อ มจุ ด รองรั บ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว
จะต้องทําการตรวจสอบอย่างละเอียด เพราะถ้าผิดพลาดจะ
ทําให้เกิดความเสียหายมากมายทั้งชีวิตและทรัพย์สิน
3.3.1.6 การติ ดตั้ ง โครงสร้า งเหล็ ก เช่น โครงหลัง คา จะต้ อ งทํ า
การยึดตามรูปแบบที่ออกแบบไว้ โดยจะต้องมีโครงสร้างที่
เป็ น TEMPORARY ติ ด ตั้ ง ไว้ จ นกว่ า โครงสร้ า งจริ ง จะ
ติดตั้งแล้วเสร็จจึงปลดออก

3.4 การตรวจสอบโครงสร้างเหล็ก
โครงสร้างเหล็กนั้นโครงสร้างจะต้องทําการตรวจสอบเพื่อให้ไม่ ให้มี
ผลกระทบในการติดตั้งโครงสร้างเหล็ก โดยมีรายการดังนี้
1. ตรวจสอบลักษณะของวัสดุ เช่น ตรง ,สนิม, โก่ง, การโค้งงอ
2. ตรวจสอบขนาดความหนาและพื้นที่หน้าตัดของเหล็ก
3. ตรวจสอบค่าความคาดเคลื่อนของขนาดที่กําหนดให้
4. ตรวจสอบชนิดของเหล็ก โดยนําชิ้นตัวอย่างไปทดสอบ
5. ตรวจสอบหมุดย้ํา (RIVET) ทั้งรูปร่างและชนิดใช้
6. ตรวจสอบระยะห่างระหว่างหมุดย้ํา
7. ตรวจสอบสลักเกลียว BOLT รูปร่างและชนิดที่ใช้
8. ตรวจสอบแป้นเกลียว (NUT) และวงแหวน (WASHER)
9. ตรวจสอบเครื่องมือขันสลักและหมุดย้ํา
10. ตรวจสอบวิธีการขันสลักเกลียวที่รับแรงพิเศษ
11. ตรวจสอบการเจาะรูทั้งถาวรและชั่วคราว
12. ตรวจสอบตําแหน่ง,การจัดระยะ และความยาวของเหล็ก
13. ตรวจสอบประเภทของธูปเชื่อม
14. ตรวจสอบคุณสมบัติของช่างเชื่อม ควรมีการทดสอบก่อน
15. ตรวจสอบผิวที่เชื่อมการเชื่อมทับผิวเดิม
16. ตรวจสอบการเชื่อมแบบต่าง ๆ เช่นทาบโลหะ,ตรึงและแนวสั้น ๆ

 
สภาวิศวกร 2556
บทที่ 3 หน้า การก่อสร้างโครงสร้างเหล็ก
10
 
17. ตรวจสอบการเผื่อระยะ สําหรับการหดตัว การผิดรูปหรือการยึด
เหนี่ยวในการเชื่อม
18. ตรวจสอบการเชื่ อ มภายหลั ง ของปลายสุ ด ของรอยต่ อ ,ที่ ข อบ
ของมุมจุดเริ่มและจุดจบ
19. ตรวจสอบนั่งร้าน สําหรับการเชื่อม
20. ตรวจสอบกระแสไฟฟ้าและการลัดวงจรไฟฟ้าขณะเชื่อม (เครื่อง
ป้องกันไฟไหม้)
21. ตรวจสอบความหนาของรอยเชื่อม
22. ตรวจสอบการตัดเหล็ก
23. ตรวจสอบความสะอาดของผิวเหล็กก่อนเชื่อม
24. ตรวจสอบการประกอบ PLATE @ GUSSET- PLATE รูป
โครงสร้างต่างๆ ในโรงงานประกอบ
25. ตรวจสอบการขนย้ายและการขนส่ง
26. ตรวจสอบการประกอบและติดตั้งจริงในสถานที่ก่อสร้าง
27. ตรวจสอบการทาสีรองพื้นป้องกันสนิม
28. ตรวจสอบการป้องกันความเสียหาย อันเกิดจากสะเก็ดไฟเชื่อม
โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ า จ ทํ า ใ ห้ เ กิ ด
ไฟไหม้ และสะเก็ดไฟถูก กระจกเสียหาย
29. ตรวจสอบระดั บ แนวราบ แนวดิ่ ง ตํ า แหน่ ง ระยะห่ า งของโครง
เหล็กต่างๆ ให้ตรงตามระบุในแบบ
30. ตรวจสอบระยะห่ า งของชิ้ น งานที่ จ ะเชื่ อ มติ ด กั น ให้ เ ป็ น ไปตาม
แบบโดยเฉพาะกรณีไม่มี GASSET PLATE
31. สายดินใช้เหล็กเสริมโครงสร้างมาต่อแทนสายดินเด็ดขาดให้ใช้
สายไฟ

3.5 เอกสารอ้างอิง
1. หนังสือการออกแบบเหล็กรูปพรรณ ของอาจารย์ วินิต ช่อวิเชียร
2. หนังสือการออกแบบอาคารเหล็กรูปพรรณ ของ วสท.
3. หนังสือกฎหมายอาคาร
4. มาตรฐานเหล็กรูปพรรณของ วสท.

อนุกรรมการมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ
 

You might also like