You are on page 1of 41

หน่ วยการเรียนรู้ที่ 9

เส้ นขนาน

ผลการเรียนรู้ ทคี่ าดหวัง


มาตรฐานการเรียนรู้
1. บอกสมบัติของเส้ นขนานและเงื่อนไขที่
มาตรฐาน ค 3.2 : ข้ อ 1 ทาให้ เส้ นตรงสองเส้ นขนานกันได้
มาตรฐาน ค 6.1 : ข้ อ 1 และ ข้ อ 2 2. ระบุได้ ว่ารู ปสามเหลีย่ มสองรู ปทีม่ ี
มาตรฐาน ค 6.2 : ข้ อ 1 ความสั มพันธ์ กนั แบบ มุม – มุม – ด้ าน
มาตรฐาน ค 6.3 : ข้ อ 1 เท่ ากันทุกประการ
มาตรฐาน ค 6.4 : ข้ อ 1 และ ข้ อ 2 3. ใช้ สมบัติเกีย่ วกับความเท่ากัน
มาตรฐาน ค 6.5 : ข้ อ 1 ทุกประการของรู ปสามเหลีย่ มและ
เส้ นขนานในการให้ เหตุผลและ
แก้ปัญหาได้

สาระการเรียนรู้

9.1 เส้ นขนานและมุมภายใน (4 คาบ)


9.2 เส้ นขนานและมุมแย้ ง (4 คาบ)
9.3 เส้ นขนานและมุมภายนอกกับภายใน (4 คาบ)
9.4 เส้ นขนานและรู ปสามเหลีย่ ม (5 คาบ)

91
92 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2
MATH

Series
9.1 เส้ นขนานและมุมภายใน

จุดประสงค์ การเรียนรู้
ด้ านความรู้ : นักเรี ยนสามารถ
1. บอกได้วา่ ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกัน แล้วระยะห่ างระหว่ างเส้นตรง
คู่น้ นั จะเท่ากันเสมอ
2. บอกได้วา่ ถ้าเส้นตรงสองเส้ นมีระยะห่ างระหว่ างเส้นตรงเท่ ากันเสมอ
แล้วเส้นตรงคู่น้ นั จะขนานกัน
3. บอกได้วา่ มุมคู่ใดเป็ นมุมภายในที่อยู่ บนข้างเดียวกันของเส้ นตัด เมื่อ
กําหนดให้เส้น ตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง
4. บอกได้วา่ เมื่อเส้ นตรงเส้ นหนึ่งตัดเส้ นตรงคู่ หนึ่ง เส้นตรงคู่ น้ นั ขนาน
กัน ก็ต่ อเมื่อ ขนาดของมุมภายในที่อยู่ บนข้างเดียวกันของเส้ นตัด
รวมกันเท่ากับ 180 องศา และนําสมบัติน้ ีไปใช้ได้

ด้ านทักษะ / กระบวนการ : นักเรี ยนมีความสามารถใน


1. การคิดคํานวณ
2. การแก้ปัญหา
3. การให้เหตุผล
4. การสื่ อสาร การสื่ อความหมาย และการนําเสนอ
5. การเชื่อมโยง
ด้ านคุณลักษณะ : ปลูกฝังให้นกั เรี ยน
6. ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝ่ รู้
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินยั
4. มีความเชื่อมัน่ ในตนเอง
5. มีวจิ ารณญาณและทํางานอย่างเป็ นระบบ
6. ตระหนักในคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 93

เส้ นขนานและมุมภายใน
ให้นกั เรี ยนยกตัวอย่างของสิ่ งที่มีลกั ษณะของเส้นขนานมา 3 สิ่ ง
…………………………………………………………………………………………………………
การขนานกันของเส้ นตรงมีบทนิยามดังนี้
บทนิยาม เส้นตรงสองเส้นที่อยูบ่ นระนาบเดียวกัน ขนานกัน ก็ต่อเมื่อ เส้นตรงทั้งสองเส้นนั้น
ไม่ตดั กัน

A B เมื่อ AB และ CD ขนานกัน อาจกล่าวว่า


AB ขนานกัน CD หรื อ CD ขนานกัน AB
อาจเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ AB // CD หรื อ
C D
CD // AB
เราสามารถกล่าวว่าส่ วนของเส้นตรงหรื อรังสี ขนานกันเมื่อส่ วนของเส้นตรงหรื อรังสี น้ นั เป็ น
ส่ วนหนึ่งของเสนตรงที่ขนานกัน เช่น
1. Q 2. K L
S

M N
P
R
PQ // RS …………………
3. D 4. T
B Y
S
A C
X
………………… …………………
ในการเขียนรู ปเส้นตรง ส่ วนของเส้นตรง หรื อรังสี ที่ขนานกัน อาจใช้ลูกศรแสดงเส้นที่ขนาน
กัน ดังตัวอย่างในรู ป
B D
แสดงว่า AB // CD
และ …………………
A C E
ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15
94 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

ระยะห่ างระหว่ างเส้ นขนาน


พิจารณารู ปต่อไปนี้
X B
A E

C F Y D
กําหนดให้ AB และ CD อยูบ่ นระนาบเดียวกัน E และ X เป็ นจุดที่แตกต่างกันบน AB
ลาก EF ตั้งฉากกับ CD ที่จุด F และลาก XY ตั้งฉากกับ CD ที่จุด Y
เรี ยก EF ว่า ระยะห่ างระหว่าง AB และ CD ที่วดั จากจุด E
และ เรี ยก XY ว่า ระยะห่ างระหว่าง AB และ CD ที่วดั จากจุด X
ในกรณี ที่ AB และ CD ไม่ขนานกัน จะได้วา่ EF XY นัน่ คือระยะห่างระหว่ าง AB
และ CD ที่วดั จากจุดที่แตกต่างกันบน AB จะไม่เท่ากัน

ในกรณี ที่ AB ขนานกัน CD จะได้วา่ EF = XY นัน่ คือระยะห่างระหว่ าง AB และ CD


ที่วดั จากจุดที่แตกต่างกันบน AB จะเท่ากันเสมอ

A E X B

C F Y D

ในกรณี ทวั่ ไป ถ้ าเส้ นตรงสองเส้ นขนานกัน แล้ วระยะห่ างระหว่ างเส้ นตรงคู่น้ ันจะเท่ ากันเสมอ
และในทางกลับกัน ถ้ าเส้ นตรงสองเส้ นมีระยะห่ างระหว่ างเส้ นตรงเท่ ากันเสมอ แล้ วเส้ นตรงคู่น้ ันจะ
ขนานกัน
ในทางปฏิบตั ิ เมื่อต้องการตรวจสอบว่า เส้นตรงสองเส้นที่กาํ หนดให้ขนานกันหรื อไม่ อาจ
ตรวจสอบระยะห่างระหว่างเส้นตรงทั้งสองที่วดั จาดจุดที่แตกต่างกันอย่างน้อยสองจุดบนเส้นตรง
หนึ่งก็เพียงพอ

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 95

สารวจ ตรวจสอบ เส้ นขนาน

จากรู ปที่กาํ หนด ให้นกั เรี ยนพิจารณาว่าเส้นตรงคู่ใดบ้างที่ขนานกัน

1. 2.
Q
 S K L
P
R 
M N

................................................................. .................................................................

3. 4.
D T
B S 
Y
C

A X

................................................................. .................................................................

มุมภายในทีอ่ ยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด

M B
 N
u x

 v y 
P A Q

จากรู ป AB เรี ยกว่า เส้ นตัด AB


เรี ยก x̂ และ ŷ ว่า มุมภายในทีอ่ ยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด AB และ
เรี ยก û และ v̂ ว่า มุมภายในทีอ่ ยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด AB ด้วย
ในการเขียนรู ปเส้นตัด AB อาจใช้ AB หรื อ AB แทน AB ก็ได้

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


96 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

สารวจ ตรวจสอบ มุมภายใน


ในแต่ละข้อต่อไปนี้ ให้นกั เรี ยนบอกมุมคู่ที่เป็ นมุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัด

1. A P B 2. B
a b M 
A p r
 c d q s 
C 
Q  C N D
D

â กับ ĉ และ…………………. p̂ กับ q̂ และ………………….


A
3. 
M 4. M B
x y B  c D
  d aN
C b
a b
N  A
D C

………………….…………………. ………………….………………….

สารวจ ตรวจสอบ เส้ นขนานและมุมภายใน

1. ในแต่ละข้อกําหนดให้ AB และ CD ไม่ขนานกัน มี XY เป็ นเส้นตัด จงสํารวจว่าขนาดของ


มุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัด รวมกันเท่ากับ 180 องศา หรื อไม่
1) 2)
X B A X B
A 

C
   
C Y D Y D

…………………………………….. ……………………………………..

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 97

2. ในแต่ละข้อกําหนดให้ AB และ CD ขนานกัน มี XY เป็ นเส้นตัด จงสํารวจว่าขนาดของมุม


ภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัด รวมกันเท่ากับ 180 องศา หรื อไม่
1) A X B 2) A X B
   

   
C Y D C Y D
…………………………………….. ……………………………………..
3. กําหนดให้ AB และ CD มี XY เป็ นเส้นตัด และมุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัด
รวมกันเท่ากับ 180 องศา จงสํารวจว่า AB และ CD ขนานกันหรื อไม่

A X B
135
…………………………….
 45 
C Y D
จากคําตอบที่ได้จากข้อ 1, 2 และข้อ 3 ได้ผลสรุ ปที่เป็ นไปตามสมบัติของเส้นขนานดังนี้
เมื่อเส้ นตรงเส้ นหนึ่งตัดเส้ นตรงคู่หนึ่ง เส้ นตรงคู่น้ ันขนานกัน ก็ต่อเมื่อ ขนาดของมุม
ภายในทีอ่ ยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัดรวมกันเท่ ากับ 180 องศา

นาไปใช้
E
A B
1 3
ˆ1+2ˆ=180o ˆ3+4ˆ=180o
ˆ3+4ˆ=180o 
2 4

C D
F

AB จะขนานกับ CD ก็ต่อเมื่อ
1. ˆ1+2ˆ=180o หรื อ
2. ˆ3+4ˆ=180o

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


98 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

ตัวอย่างที่ 1 AB และ CD ในแต่ละข้อขนานกันหรื อไม่ เพราะเหตุใด


1) 2)

วิธีทา 1) AB // CD
เพราะว่า ขนาดของมุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ
124 + 56 = 180 องศา
2) AB และ CD ไม่ขนานกัน
เพราะว่า ขนาดของมุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ
94 + 90 = 184 องศา ซึ่ งไม่เท่ากับ 180 องศา

ตัวอย่างที่ 2 กําหนดให้ AB // CD จงหาค่า x ในแต่ละข้อ


1) 2)

วิธีทา 1) เนื่องจาก AB // CD จะได้ x + 136 = 180


(ขนาดของมุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ 180 องศา)
นัน่ คือ x = ……………
ดังนั้น x = ……………

2) เนื่องจาก AB // CD จะได้ x + 10 + 72 = 180


(ขนาดของมุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ 180 องศา)
นัน่ คือ x + 82 = 180
x = ……………
ดังนั้น x = ……………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 99

ตัวอย่างที่ 3 จากรู ป กําหนดให้ PQ // RS จงพิสูจน์วา่ ˆ1 = ˆ3

กาหนดให้ PQ // RS มี PR เป็ นเส้นตัด


ต้ องการพิสูจน์ ว่า ˆ1 = ˆ3
พิสูจน์ PQ // RS มี PR เป็ นเส้นตัด (กําหนดให้)
ˆ2+3=............
ˆ (…………………………………………………
…………………………………………………)
ˆ2+1ˆ=............ (ขนาดของมุมตรงข้าม)
จะได้ ˆ2+1ˆ= ˆ2+3ˆ (สมบัติการเท่ากัน)
ดังนั้น ........................ (นํา 2̂ มาลบทั้งสองข้างของสมการ)
ตัวอย่างที่ 4 กําหนดให้ AB // CD และ CD // EF ดังรู ป จงพิสูจน์วา่ AB // EF

กาหนดให้ AB // CD และ CD // EF
ต้ องการพิสูจน์ ว่า AB // EF
พิสูจน์ ลาก PQ ให้ตดั AB, CD และ EF ดังรู ป
AB // CD และมี PQ เป็ นเส้นตัด (กําหนดให้)
ˆ1+2ˆ=............ (ขนาดของมุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของ
เส้นตัดรวมกันเท่ากับ 180 องศา)
CD // EF และมี PQ เป็ นเส้นตัด (กําหนดให้)
ˆ3+4ˆ=............ (ขนาดของมุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้น
ตัดรวมกันเท่ากับ 180 องศา)

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


100 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

ˆ1+2+3+4
ˆ ˆ ˆ=180o +180o (สมบัติของการเท่ากัน)
แต่ ˆ2+3=............
ˆ (……………………………………)
จะได้ ˆ1+4ˆ=180o (สมบัติของการเท่ากัน)
ดังนั้น AB // EF (ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง ทําให้ขนาดของ
มุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัด รวมกันเท่ากับ
180 องศา แล้วเส้นตรงคู่น้ นั ขนานกัน )

ในทํานองเดียวกัน ถ้ากําหนดให้ AB // CD และ CD // EF ดังรู ป จะสามารถพิสูจน์ได้วา่


AB // EF
A B

E F
C D

จากตัวอย่ างที่ 4 ถ้า AB // CD และ CD // EF แล้ว AB // EF กล่าวว่า การขนานกัน


ของเส้ นตรงมีสมบัติถ่ายทอด

กิจกรรมที่ 9.1 : ทักษะการให้ เหตุผล การสื่ อสาร สื่ อความหมาย


และการนาเสนอ
1. ให้นกั เรี ยนพิจารณาว่าเส้นตรงแต่ละคู่ต่อไปนี้ขนานกันหรื อไม่ขนานกัน เพราะเหตุใด

1) 2)

 
 114
 76  89 

ไม่ขนานกัน เพราะว่า …………………………………………


76 + 114  180 …………………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 101

3) 4) 
56

 
68
134 
 112  

………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………

5) 6) 
  
135 132
 50
 45  

………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………

2. กําหนดเส้นตรง m และ n ขนานกันและมีเส้นตัด ให้นกั เรี ยนหาค่าของตัวแปรในแต่ละข้อ


ต่อไปนี้
1) 2)
m  
m  
a
60 b
n  n  

a = 180 o - 60 o …………………………………………
= 120 o …………………………………………
3) 4) 

m   d
c  125 
m
n  112 

n

………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


102 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

5) 6)

m   
135 y
 50
n 
x  m 
n

………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
2. จงหาค่า x ในแต่ละข้อต่อไปนี้ เมื่อกําหนดให้ AB // CD
1. 2. X
x

101
Y

………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
3. 4. 
B
X
A 77
(x 15) 

 D
Y

C
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 103

MATH

Series
9.2 เส้ นขนานและมุมแย้ ง

จุดประสงค์ การเรียนรู้
ด้ านความรู้ : นักเรี ยนสามารถ
1. บอกได ว ามุมคู ใดเป นมุมแย ง เมื่อกําหนดให
เส นตรงเส นหนึ่งตัดเส นตรงคู หนึ่ง
2. บอกได ว าเมื่อเส นตรงเส นหนึ่งตัดเส นตรงคู
หนึ่ง เส นตรงคู นั้นขนานกัน ก็ต อเมื่อ มุมแย งมี
ขนาดเท ากัน และนําสมบัติน้ ีไปใช ได้

ด้ านทักษะ / กระบวนการ : นักเรี ยนมีความสามารถใน


1. การคิดคํานวณ
2. การแก้ปัญหา
3. การให้เหตุผล
4. การสื่ อสาร การสื่ อความหมาย และการนําเสนอ
5. การเชื่อมโยง
6. ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
ด้ านคุณลักษณะ : ปลูกฝังให้นกั เรี ยน
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝ่ รู ้
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินยั
4. มีความเชื่อมัน่ ในตนเอง
5. มีวิจารณญาณและทํางานอย่างเป็ นระบบ
6. ตระหนักในคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อวิชา
คณิ ตศาสตร์

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


104 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

เส้ นขนานและมุมแย้ ง
เส้นตรงสองเส้น ถ้ามีเส้นตรงตัด นอกจากจะเกิดมุมภายในที่อยูต่ รงข้ามบนข้างเดียวกันของ
เส้นตัดแล้ว ยังมีมุมภายในที่เรี ยกว่า มุมแย้ง อีกสองคู่
ถ้า AB และ CD เป็ นเส้นตรงสองเส้น โดยมี PQ เป็ นเส้นตัด
A P B

 1 2

 4 3 
C D
Q
จากรู ป 1̂ และ 3̂ เรี ยกว่า มุมแย้ ง เป็ นมุมแย้งระหว่าง AB และ CD
และ 2̂ และ 4̂ เรี ยกว่า มุมแย้ ง เป็ นมุมแย้งระหว่าง AB และ CD

สารวจ ตรวจสอบ มุมแย้ ง

1. ในแต่ละรู ป กําหนดให้ AB และ CD มี EF เป็ นเส้นตัด จงสํารวจว่ามุมคู่ใดเป็ นมุมแย้ง


1) 2) C
A A
E
B
E F

B D
C F D

……………………………… ………………………………
……………………………… ………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 105

2. ในแต่ละรู ป กําหนดให้ AB // CD มี EF เป็ นเส้นตัด จงสํารวจว่ามุมแย้งคู่ใดมีขนาดเท่ากัน


1) 2) A E B
A C

E F
C F D
B D

……………………………… ………………………………
……………………………… ………………………………

จากกิจกรรมข้างต้น สรุ ปได้วา่ ถ้า AB // CD และมี EF เป็ นเส้นตัด แล้ว………………….


…………………………………………………………………………………………………………
ซึ่ งเป็ นไปตามทฤษฎีบทดังต่อไปนี้
ทฤษฎีบท ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกันและมีเส้นตัด แล้วมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน

A P B
 1 2 

 4 3 
C Q D

กาหนดให้ AB // CD มี PQ เป็ นเส้นตัด AB และ CD ที่จุด P และ Q ตามลําดับ


ต้ องการพิสูจน์ ว่า 1ˆ = 3ˆ และ 2ˆ = 4ˆ
พิสูจน์ เนื่องจาก ˆ1+2ˆ=............ (……………………………………)
และ ˆ2+3=............
ˆ (ขนาดของมุมภายในที่อยูบ่ นข้าง
เดียวกันของเส้นตัดเส้นขนาน
รวมกันเท่ากับ 180 o )
ดังนั้น 1ˆ + 2ˆ = 2ˆ + 3ˆ (สมบัติของการเท่ากัน)
จะได้ ........................ (นํา 2̂ มาลบทั้งสองข้างของสมการ)
ในทํานองเดียวกัน สามารถพิสูจน์ได้วา่ ˆ2 = ˆ4

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


106 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

ในการตรวจสอบว่า เส้นตรงสองเส้นขนานกันหรื อไม่ นอกจากจะพิจารณาจากขนาดของ


มุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัดเส้นตรงทั้งสองแล้ว ยังสามารถพิจารณาจากขนาดของ
มุมแย้งได้ ดังทฤษฎีบทต่อไปนี้
ทฤษฎีบท ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง ทําให้มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน แล้ว
เส้นตรงคู่น้ นั ขนานกัน
A P B
 1 


3 
C Q D
กาหนดให้ PQ ตัด AB และ CD ที่จุด P และ Q ตามลําดับ ทําให้ 1ˆ = 3ˆ
ต้ องการพิสูจน์ ว่า AB // CD
พิสูจน์ เนื่องจาก ˆ1+2ˆ=............ (……………………………………)
1ˆ = 3ˆ (กําหนดให้)
........................ (แทน 1̂ ด้วย 3̂ )
แต่ 2̂ และ 3̂ เป็ นมุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้ นตัด PQ
ดังนั้น AB // CD (ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง
ทําให้ขนาดของมุมภายในที่อยูบ่ นข้าง
เดียวกันของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ 180๐
แล้วเส้นตรงคู่น้ นั ขนานกัน)

จากทั้งสองทฤษฎีบทข้างต้น สามารถสรุ ปได้วา่


ทฤษฎีบท เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่น้ นั ขนานกัน ก็ต่อเมื่อ
มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 107

ตัวอย่างที่ 1 กําหนดให้ AB // CD และมี EF เป็ นเส้นตัด ดังรู ป จงอธิ บายว่ามุมคู่ใดมีขนาด


เท่ากันบ้าง
E
A 1 2 B
3 4

C 5 6 D
7 8
F
วิธทา เนื่องจาก AB // CD มี EF เป็ นเส้นตัดจะได้วา่ …………………………………..
นัน่ คือ………………………………………………………………………………..
เนื่องจาก EF ตัดกับ AB และ CD จะได้วา่ ……………………………………
นัน่ คือ………………………………………………………………………………
โดยสมบัติของการเท่ากัน สรุ ปได้วา่ มีมุมที่มีขนาดเท่ากันอยู่ 2 ชุด ดังนี้
1. …………………………………………………………………………
2 ………………………………………………………………….………
ตัวอย่างที่ 2 จากรู ป กําหนดให้ MB // TN และ MO = NO จงพิสูจน์วา่ MB = NT
B N

M T
กาหนดให้ MB // TN และ MO = NO
ต้ องการพิสูจน์ ว่า MB = NT
พิสูจน์ MB // TN และมี MN
BMOˆ =.................. (………………………………………...
…………………………………………)
MO = NO (………………………………………..)
MOBˆ =.................. (………………………………………...
…………………………………………)
ดังนั้น ABC CDE (………………………………………..)
จะได้ MB = ………… (………………………………………...
…………………………………………)

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


108 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

กิจกรรมที่ 9.2 : ทักษะการแก้ ปัญหา การให้ เหตุผล การสื่ อสารและการเชื่อมโยง

ให้นกั เรี ยนหาค่าของ x และ y ในแต่ละข้อต่อไปนี้ พร้อมทั้งบอกเหตุผล


ˆ = 65
1. กําหนด AB//CD และ EFD
A E B
 xy 
 65 
เหตุผล
C F D
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................

2. กําหนด CYX = 72
A N B
x
C D
72 M
y เหตุผล
E K F

................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 109

3. กําหนด ABCD เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนาน


A B
30 70
x y
C D เหตุผล

................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................

4. กําหนด EFB = 54
A C

E x
54 F D
B เหตุผล

................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


110 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

5. กําหนด ABC = 115 และ BCD = 105


B
115 A

C 105
E x เหตุผล
D
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................

6. กําหนด ABD = 70 และ BAD = 60


A
60 C

70 xy
B D E เหตุผล

................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 111

7. กําหนด สามเหลี่ยม ABC เป็ นสามเหลี่ยมหน้าจัว่


 = 75 และ AB//CD

C yx D

เหตุผล
75
A B
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
8. กําหนด PQ//RS จงพิสูจน์วา่ PAC = RBC
P R

A B C
เหตุผล
Q S
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


112 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

MATH

Series 9.3 เส้ นขนานและมุมภายนอก


กับมุมภายใน

จุดประสงค์ การเรียนรู้
ด้ านความรู้ : นักเรี ยนสามารถ
1. บอกได ว า มุมคู ใดเป นมุมภายนอกและมุมภายในที่อยู
ตรงข ามบนข างเดียวกันของเส นตัด เมื่อกําหนดให เส นตรง
เส นหนึ่งตัดเส นตรงคู หนึ่ง
2. บอกได ว า เมื่อเส นตรงเส นหนึ่งตัดเส นตรงคู หนึ่ง เส
นตรงคู นั้นขนานกัน ก็ต อเมื่อมุมภายนอกและมุมภายในที่อยู
ตรงข ามบนข างเดียวกันของเส้นตัดมีขนาดเท ากัน และนําสมบัติ
นี้ไปใช ได้

ด้ านทักษะ / กระบวนการ : นักเรี ยนมีความสามารถใน


1. การคิดคํานวณ
2. การแก้ปัญหา
3. การให้เหตุผล
4. การสื่ อสาร การสื่ อความหมาย และการนําเสนอ
5. การเชื่อมโยง
6. ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
ด้ านคุณลักษณะ : ปลูกฝังให้นกั เรี ยน
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝ่ รู ้
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินยั
4. มีความเชื่อมัน่ ในตนเอง
5. มีวิจารณญาณและทํางานอย่างเป็ นระบบ
6. ตระหนักในคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อวิชา
คณิ ตศาสตร์

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 113

เส้ นขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน
พิจารณารู ปต่อไปนี้

1 2
3 4

5 6
7 8

จากรู ป เรี ยก 1̂ , 2̂ , 7̂ และ 8̂ ว่ามุมภายนอก


เรี ยก 3̂ , 4̂ , 5̂ และ 6̂ ว่ามุมภายใน
เรี ยก 1̂ และ 5̂ ว่าเป็ นมุมภายนอกและมุมภายในทีอ่ ยู่ตรงข้ ามบนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด
ในทํานองเดียวกัน จะเรี ยก 2̂ และ 6̂ , 7̂ และ 3̂ , 8̂ และ 4̂ แต่ละคู่วา่ เป็ น มุมภายนอก
และมุมภายในทีอ่ ยู่ตรงข้ ามบนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด

สารวจ ตรวจสอบ มุมภายนอกและมุมภายใน

1. ในแต่ละรู ป กําหนดให้ AB และ CD มี EF เป็ นเส้นตัด จงสํารวจว่ามุมคู่ใด เป็ นมุมภายนอก


และมุมภายในที่อยูต่ รงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัด
1) 2) C
A A
E
B
E F

B D
C F D

……………………………… ………………………………
……………………………… ………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


114 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

2. ในแต่ละรู ป กําหนดให้ AB // CD มี EF เป็ นเส้นตัด จงสํารวจว่า มุมภายนอกและมุมภายใน


ที่อยูต่ รงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัดคู่ใดที่มีขนาดเท่ากัน
1) A C 2) A B
E
E F

B D C F D

……………………………… ………………………………
……………………………… ………………………………
จากกิจกรรมข้างต้น สรุ ปได้วา่ ถ้า AB // CD และมี EF เป็ นเส้นตัด แล้ว………………….
…………………………………………………………………………………………………………
ซึ่ งเป็ นไปตามทฤษฎีบทดังต่อไปนี้
ทฤษฎีบท ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกันและมีเส้นตัด แล้วมุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่
ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัด มีขนาดเท่ากัน
E
A X B


Y 
C F
D
กาหนดให้ AB // CD มี EF เป็ นเส้นตัด
ต้ องการพิสูจน์ ว่า ˆ = CYX,
AXE ˆ BXE
ˆ = DYX,
ˆ CYF ˆ = AXY
ˆ และ DYF
ˆ = BXY
ˆ
พิสูจน์ AB // CD (กําหนดให้)
ˆ = CYX
BXY ˆ (………………………………………
………………………………………)
ˆ =.................
AXE (ถ้าเส้นตรงสองเส้นตัดกัน แล้ว
มุมตรงกันข้ามมีขนาดเท่ากัน)
ดังนั้น ........................ (สมบัติของการเท่ากัน)
ˆ = DYX,
ในทํานองเดียวกัน เราสามารถพิสูจน์ได้วา่ BXE ˆ CYF
ˆ = AXY
ˆ และ DYF
ˆ = BXY
ˆ

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 115

ในการตรวจสอบว่าเส้นตรงคู่หนึ่งขนานกันหรื อไม่ สามารถพิจารณาจากขนาดของมุม


ภายนอกและมุมภายในที่อยูต่ รงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัด ดังทฤษฎีบทต่อไปนี้
ทฤษฎีบท ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง ทําให้มุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่
ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัด มีขนาดเท่ากัน แล้วเส้นตรงคู่น้ นั ขนานกัน
E
A X B


Y 
C F
D

กาหนดให้ ˆ = CYX
EF ตัด AB และ CD ทําให้ AXE ˆ
ต้ องการพิสูจน์ ว่า AB // CD
พิสูจน์ ˆ + AXY
AXE ˆ =............... (……………………………)
ˆ = CYX
AXE ˆ (กําหนดให้)
ˆ =180o
..............+AXY (แทน AXEˆ ด้วย CYX ˆ )
เนื่องจาก CYX ˆ และ AXY ˆ เป็ นภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัด EF
ดังนั้น AB // CD (ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง
ทําให้ขนาดของมุมภายในที่อยูบ่ นข้าง
เดียวกันของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ 180๐
แล้วเส้นตรงคู่น้ นั ขนานกัน)
ในการพิสูจน์วา่ AB // CD อาจนําทฤษฎีบทเกี่ยวกับมุมแย้งมาใช้ก็ได้ โดยพิสูจน์วา่
ˆ = DYX
AXY ˆ หรื อ BXY ˆ = CYXˆ

จากทั้งสองทฤษฎีบทข้างต้น สามารถสรุ ปได้วา่


ทฤษฎีบท เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่น้ นั เส้นขนานกัน ก็ต่อเมื่อ
มุมภายนอกและภายในที่อยูต่ รงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัดมีขนาดเท่ากัน

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


116 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

ตัวอย่างที่ 1 กําหนดให้ PQ // RS และมี AB เป็ นเส้นตัด ดังรู ป จงหาค่า x


B
o
P (2x+3) 
Q
o
R 65 
S
A

วิธีทา เนื่องจาก PQ // RS และมี AB เป็ นเส้นตัด


จะได้ BPQˆ =............... (ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกันและมีเส้นตัด แล้วมุม
ภายนอกและมุมภายในที่อยูต่ รงข้ามบนข้างเดียวกัน
ของเส้นตัด มีขนาดเท่ากัน)
ดังนั้น 2x + 3 = 65 (แทน BPQˆ ด้วย 2x + 3 และแทน PRS ˆ ด้วย 65)
2x = …………
2x = …………
x = …………
นัน่ คือ x = …………
ตัวอย่างที่ 2 จากรู ป กําหนดให้ AB // CD , AB = CD และ AC = CE จงพิสูจน์วา่ BC // DE
B D

A C E
กาหนดให้ AB // CD , AB = CD และ AC = CE
ต้ องการพิสูจน์ ว่า BC // DE
พิสูจน์ พิจารณา ABC และ CDE
AB = CD (กําหนดให้)
ˆ = DCE
BAC ˆ (………………………………………...
…………………………………………)
AC = CE (………………………………………..)
ดังนั้น ABC CDE (………………………………………..)

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 117

ˆ = CED
จะได้ ACB ˆ (………………………………………...
…………………………………………)
นัน่ คือ BC // DE (………………………………………...
…………………………………………
…………………………………………
………………………………………...)

กิจกรรมที่ 9.3 : ทักษะการคิดวิเคราะห์ ให้ เหตุผล และแก้ปัญหา


1. กําหนดให้ CD // EF และมี AB เป็ นเส้นตัด
จงหามุมทุกคู่ที่มีขนาดเท่ากัน พร้อมทั้งเหตุผล

D F

A
C B เหตุผล
E

................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
ˆ = 118 และ
2. กําหนดให้ CD // EF ถ้า AXD
DYFˆ = 66 จงหาขนาดของ XYD ˆ
D F

66
A 118 B
X Y เหตุผล

C E
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


118 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

ˆ = 52 และ
3. กําหนดให้ AB // CD ถ้า BAF
AECˆ = 104 จงหาขนาดของ ECD ˆ
F
A 52 B

E 104
เหตุผล
C D
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
ˆ = 128o จงหาขนาดของ DCE
4. กําหนดให้ BCF ˆ
E
46 F

A 70 D เหตุผล
B C

................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 119

ˆ
ˆ = PQR
5. กําหนดให้ YM // QR และ XYM
จงพิสูจน์วา่ YX // QP
X P

Y A M
เหตุผล
Q R

................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
6. จากรู ป จงหาขนาดของมุมต่อไปนี้
1)
1 1̂ = …………………………………………….
130 2̂ = …………………………………………….
2
3

2) x
75 x̂ = …………………………………………….
ŷ = …………………………………………….
y

3)
1̂ = …………………………………………….
12 3 2̂ = …………………………………………….
100 5 4

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


120 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

4) ………………………………………………….
………………………………………………….
110 x ………………………………………………….
………………………………………………….
3y+16 ………………………………………………….
………………………………………………….
………………………………………………….

5) ………………………………………………….
………………………………………………….
(5x-20)
………………………………………………….
………………………………………………….
(3x+40)
………………………………………………….
………………………………………………….
………………………………………………….

ปัญหาชวนคิด

จงจัดเลขห้าสี่ ตวั (5, 5, 5, 5) ให้มีค่าเป็ น 56 จะเขียนอยูใ่ นรู ปใดก็


ได้ แต่ขอยํ้าว่าปัญหาข้อนี้ง่ายมาก ควรใช้เวลาทําไม่เกิน 2 นาที

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 121

MATH

Series
9.4 เส้ นขนานและรู ปสามเหลี่ยม

จุดประสงค์ การเรียนรู้
ด้ านความรู้ : นักเรี ยนสามารถ
1. บอกได ว า ขนาดของมุ มภายในทั้งสามมุมของรู ปสามเหลี่ยม
รวมกันเท่ากับ 180 องศา และนําสมบัติน้ ีไปใช ได
2. บอกได ว า ถ าต อด านใดด านหนึ่งของรู ปสามเหลี่ยม
ออกไป มุมภายนอกที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเท ากับผลบวกของขนาดของ
มุมภายในที่ไม ใช มุมประชิดของมุมภายนอกนั้น และนําสมบัติน้ ี
ไปใช ได
3. บอกได ว า รู ปสามเหลี่ยมสองรู ปที่มีความสัมพันธ กันแบบ มุม –
มุม – ด้าน เท ากันทุกประการและนําสมบัติน้ ีไปใช ได
4. ใช สมบัติเกี่ยวกับเส นขนานและความเท ากันทุกประการของรู ป
สามเหลี่ยมในการให เหตุผลและแก ป ญหาได้

ด้ านทักษะ / กระบวนการ : นักเรี ยนมีความสามารถใน


1. การคิดคํานวณ
2. การแก้ปัญหา
3. การให้เหตุผล
4. การสื่ อสาร การสื่ อความหมาย และการนําเสนอ
5. การเชื่อมโยง
ด้ านคุณลักษณะ : ปลูกฝังให้นกั เรี ยน
6. ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝ่ รู ้
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินยั
4. มีความเชื่อมัน่ ในตนเอง
5. มีวจิ ารณญาณและทํางานอย่างเป็ นระบบ
6. ตระหนักในคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


122 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

เส้ นขนานและรู ปสามเหลีย่ ม


นักเรี ยนทราบหรื อไม่วา่ “ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรู ปสามเหลี่ย มรวมกันเท่ากับกี่
องศา” ตอบ……………………ข้อความนี้เป็ นทฤษฎีบทที่สาํ คัญทฤษฎีบทหนึ่งทางเรขาคณิ ต ซึ่ ง
สามารถพิสูจน์ได้ดงั นี้
ทฤษฎีบท ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรู ปสามเหลี่ยมรวมกันเท่ากับ 180 องศา

D C E

A B
กาหนดให้ ABC เป็ นรู ปสามเหลี่ยมใด ๆ
ต้ องการพิสูจน์ ว่า ˆ ˆ ˆ =180o
CAB+ABC+BCA
พิสูจน์ สร้าง DE ผ่านจุด C ให้ DE // AB
เนื่องจาก AC เป็ นเส้นตัด DE และ AB
ˆ =..............
DCA (ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกันและมีเส้นตัด
แล้วมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน)
ˆ = ABC
ECB ˆ (………………………………………….
…………………………………………..)
ˆ ˆ ˆ =180o (………………………………………….)
DCA+BCA+ECB
ˆ ˆ ˆ =180o
CAB+BCA+ABC ˆ ด้วย CAB
(แทน DCA ˆ และ ECBˆ )
ˆ ˆ ˆ =180o (สมบัติของการเท่ากัน)
ดังนั้น CAB+ABC+BCA

ทฤษฎีบทข้างต้น สามารถนํามาใช้พิสูจน์ทฤษฎีบทเกี่ยวกับขนาดของมุมภายนอกและขนาด
ของมุมภายในของรู ปสามเหลี่ยมได้ ดังต่อไปนี้
A จากรู ป กําหนด ABC และต่อ BC ออกไป
ทางจุด C ถึงจุด D เรี ยก ACDˆ ว่ามุมภายนอกของ
D ˆ และ ACD
ABC เรี ยก ACB ˆ ว่าเป็ น มุมประชิด
B C
ˆ เป็ นมุมประชิดของ ACD
หรื ออาจกล่าวว่า ACB ˆ

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 123

ทฤษฎีบท ถ้าต่อด้านใดด้านหนึ่งของรู ปสามเหลี่ยมออกไป มุมภายนอกที่เกิดขึ้นจะมีขนาด


เท่ากับผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไม่ใช่มุมประชิดของมุมภายนอกนั้น

B C D

กาหนดให้ ˆ เป็ นมุมภายนอกที่ได้จากการต่อ BC ออกไปทางจุด C


ABC มี ACD
ต้ องการพิสูจน์ ว่า ˆ ABC+CAB
ACD= ˆ ˆ
พิสูจน์ ˆ
เนื่องจาก ACD+..........=180 o (ขนาดของมุมตรง)

ˆ ˆ +CAB=180
และ ABC+BCA ˆ o (……………………………………..

……………………………………...)
ˆ ˆ = ABC+BCA
จะได้ ACD+BCA ˆ ˆ +CAB ˆ (…………………………….)
ˆ ABC
ดังนั้น ACD= ˆ +CAB ˆ (…………………………………….)

นาไปใช้
A
2
1 3
B C D

ˆ เป็ นมุมภายนอกที่ได้จากการต่อ BC ออกไปทางจุด C จะได้วา่


จากรู ป ABC มี ACD
ˆ3=1+2
ˆ ˆ หรื อ ˆ1+2ˆ= ˆ3

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


124 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

ทฤษฎีบท ถ้ารู ปสามเหลี่ยมสองรู ปมีมุมที่มีขนาดเท่ากันสองคู่ และด้านคู่ที่อยูต่ รงข้


กับามุมมคู่
ที่มีขนาดเท่ากัน ยาวเท่ากันหนึ่งคู่ แล้วรู ปสามเหลี่ยมสองรู ปนั้นเท่ากันประการ
ทุก

กาหนดให้ ABC และ ˆ FDE,


DEF มี CAB= ˆ ABC=
ˆ DEF
ˆ และ BC = EF
ต้ องการพิสูจน์ ว่า ABC DEF
พิสูจน์ ˆ FDE
เนื่องจาก CAB= ˆ FDE,
ˆ และ CAB= ˆ ABC=
ˆ DEF
ˆ (กําหนดให้)
ˆ +ABC+BCA
CAB ˆ ˆ =180o (………………………………………
………………………………………)
ˆ
FDE+.......... ˆ
+EFD=.......... (ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของ
รู ปสามเหลี่ยมรวมกันเท่ากับ 180 องศา
จะได้ CABˆ +ABC+BCA
ˆ ˆ = FDE+DEF ˆ ˆ +EFD ˆ
(….……………………………………)
ดังนั้น ˆ = EFD
BCA ˆ (….……………………………………)
และเนื่องจาก BC = EF (….……………………………………)
ดังนั้น ABC DEF (….……………………………………)

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 125

ตัวอย่างที่ 1 ˆ =120o และ


จากรู ป กําหนดให้ AB // CD มี AC ตัด BD ที่จุด O , AOD
ˆ = 36o จงหาค่า x
OCD

B x
O 36 C
120
A D

วิธีทา เนื่องจาก AB // CD มี AC เป็ นเส้นตัด (กําหนดให้)


จะได้ ˆ =..........= 36o
BAO (ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกันและมี
เส้นตัด แล้วมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน)
ˆ เป็ นมุมภายนอกของ
เนื่องจาก AOD COD
ดังนั้น ˆ DCO+CDO
AOD= ˆ ˆ (ถ้าต่อด้านใดด้านหนึ่งของ
รู ปสามเหลี่ยมออกไป มุมภายนอกที่
เกิดขึ้นจะมีขนาดเท่ากับผลบวกของ
ขนาดของมุมภายในที่ไ ม่ใช่มุมประชิด
ของมุมภายนอกนั้น)
จะได้ …………………… (แทน AOD ˆ ด้วย 120 และแทน DCO ˆ
ด้วย 36)
ˆ =120-36
CDO (สมบัติของการเท่ากัน)
= …………
เนื่องจาก ˆ =180o
x +CDO (ขนาดของมุมภายในที่อยูบ่ น
ข้างเดียวกันของเส้นตัดเส้นขนาน
รวมกันเท่ากับ 180o )
จะได้ …………………… (แทน CDO ˆ ด้วย 84)
…………………… (สมบัติของการเท่ากัน)
ดังนั้น ……………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


126 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

ตัวอย่างที่ 2
A B
F จากรู ป กําหนดให้ ABC และ DCF เป็ นรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก
ˆ และ DFC
มี AEB ˆ เป็ นมุมฉาก AB // CD และ AB = CD
E
จงพิสูจน์วา่ AE = DF
C D
กาหนดให้ ABC และ DEF เป็ นรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก
ˆ DFC=
AEB= ˆ 90o , AB // CD และ AB = CD
ต้ องการพิสูจน์ ว่า AE = DF
พิสูจน์ เนื่องจาก AB // CD (………………………………………)
จะได้ ABE ˆ = DCFˆ (………………………………………
………………………………………)
ˆ DFC=
AEB= ˆ 90o (………………………………………)
AB = CD (………………………………………)
ดังนั้น ABC DCF (………………………………………)
นัน่ คือ AE = DF (………………………………………
………………………………………)

กิจกรรมที่ 9.4 : ทักษะการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา สื่ อสาร


สื่ อความหมาย และการเชื่อมโยง
จงหาค่า x และ y จากรู ปที่กาํ หนด
1.
y
x̂ = …………………………………..
120 x 40 ŷ = …………………………………..

2.
x
x̂ = …………………………………..
130 ŷ = …………………………………..
y

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 127

3.
y
x̂ = …………………………………..
ŷ = …………………………………..
62 x 138
4.
x
x̂ = …………………………………..
ŷ = …………………………………..
110 y 125

5.
x y 60
x̂ = …………………………………..
35 ŷ = …………………………………..

6. x
105 x̂ = …………………………………..
45 ŷ = …………………………………..
y

7.
65 x̂ = …………………………………..
x 40 y ŷ = …………………………………..

8.
x
63 x̂ = …………………………………..
y
70 105 ŷ = …………………………………..

9.
35 x̂ = …………………………………..
y
ŷ = …………………………………..
x 27

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


128 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

กิจกรรมที่ 9.5 : ทักษะการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา สื่ อสาร


สื่ อความหมาย และการเชื่อมโยง
1. จากรู ป กําหนดให้ PQ // AD และ AC // BF จงหาค่า x
Q D และ y
26 ……………………………………………………………
30 x ……………………………………………………………
E P A C
……………………………………………………………
(y-12)
B F ……………………………………………………………
……………………………………………………………
2. A B ˆ = (2x + y)o และ DCE
จากรู ป กําหนดให้ ACD ˆ = (2x-y)o
120 จงหาค่า x และ y
(2x+y)
C (2x-y) D
……………………………………………………………
140 ……………………………………………………………
E F ……………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
3. จากรู ป กําหนดให้ ABCD เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนาน
D C E ˆ = (3x +25)o และ BAD
ˆ (x +55)o , BCE
(3x+25) ABC= ˆ = (2y-5)o
จงหาค่า x และ y
(2y-5) (x+55)
F A B ……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 129

4. จากรู ป กําหนดให้ ABCD เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมที่มี


D C
100 ˆ = (2x + y)o , CAD
AB // CD , ACD ˆ = (5x + y)o และ
ˆ (5x-y)o จงหาค่า x และ y
BAC=
……………………………………………………………
A B
……………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

5. H ˆ = (2x +2y)o และ


จากรู ป กําหนดให้ AB // CD มี CEF
ˆ = (5y-8)o จงหาค่า x และ y
DGE
48 E ……………………………………………………………
A B
32 ……………………………………………………………
(2x+2y) (5y-8) ……………………………………………………………
C F G D
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


130 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

6. จงพิสูจน์วา่ “ขนาดของมุมภายในของรู ปสี่ เลี่ยมใด ๆ รวมกันเท่ากับ 360 องศา”


(แนะ ให้วาดรู ปประกอบ)

…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
7. จากรู ป กําหนดให้ ABC เป็ นสามเหลี่ยมใด ๆ จงพิสูจน์วา่ ขนาดของมุมภายนอกของ ABC
รวมกันเท่ากับ 180 องศา
A

C
B

…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 131

ชวนคิดคณิตศาสตร์

หาได้ หรือไม่

ลองทากิจกรรมดู แล้วคุณจะรู้
จงหาค่า m, n, p, q, s, s, t และ u จากรู ปที่กาํ หนดให้ต่อไปนี้

64
p
m r

112
s
t

40

…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15

You might also like