You are on page 1of 13

สื่ อประสม (Multimedia) ในงานส่งเสริ มการเกษตร

สื่ อประสม (Multimedia)

ความหมายของสื่ อประสม
สื่ อประสม หรื อบางทีเรี ยกว่า มัลติมีเดี ย (Multimedia) มาจากคาว่า มัลติ (Multi) ซึ่ ง แปลว่า ความ
หลากหลาย และมีเดีย (Media) ซึ่ ง แปลว่า สื่ อ
ระบบสื่ อประสม คือ เป็ นการทาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ สามารถแสดงผลได้หลาย ๆ รู ปแบบ
ไม่ว่าจะเป็ นข้อความ กราฟิ ก ภาพเคลื่อนไหว และเสี ยง ซึ่ งจะเป็ นการรวมเอาวิชาการหลาย ๆ สาขา
มาประยุกต์เข้าด้วยกัน ปั จจุบนั เป็ นที่นิยมใช้ในงานด้านการศึกษาเป็ นอย่างมาก ซึ่ งเราเรี ยกกันว่า การ
ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction: CAI) ผูเ้ รี ยนเรี ยนสามารถเรี ยนได้ตาม
ความสามารถของแต่ละบุคคลโดยจะมีการโต้ตอบกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ แสดงผลให้ผูเ้ รี ยนเห็ นผ่าน
ทางจอภาพที่สาคัญเทคโนโลยีน้ ี สามารถใช้สื่อประสมหลาย ๆ ชนิ ดเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็ นข้อความ
กราฟิ ก ภาพเคลื่อนไหว หรื อเสี ยง สื่ อการเรี ย นรู ปแบบนี้ จึงสามารถสร้ างแรงจูง ใจในการเรี ยนมาก
ขึ ้ น
สื่ อประสม หมายถึง การนาเอาสื่ อ หลายๆ อย่างมาสัมพันธ์กนั และมีคุณค่าที่ส่งเสริ มซึ่ งกัน
และกันสื่ ออย่า งหนึ่ งอาจใช้เพื่อเร้ า ความสนใจ ในขณะที่อีกอย่า งหนึ่ งใช้เพื่ออธิ บ ายข้อเท็จจริ งของ
เนื้ อหา และอีกชนิ ดหนึ่ งอาจใช้เพื่อก่อให้เกิ ดความเข้าใจที่ลึกซึ้ งและป้ องกันการเข้าใจความหมายผิด
การใช้สื่อประสมจะช่ วยให้ผูร้ ับมีประสบการณ์ จากประสาทสัมผัสที่ผสมผสานกันได้คน้ พบวิธีการที่
จะเรี ยนรู ้ ในสิ่ งที่ตอ้ งการได้ดว้ ยตนเองมากยิ่งขึ้ น (มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช ,2537:111)
สื่ อประสม หมายถึ ง การนาวัส ดุ อุป กรณ์ ชนิ ดต่างๆ เช่ น ภาพยนตร์ โทรทัศน์ สไลด์ฟิล์ม
สตริ ป รู ปภาพของตัวอย่างหุ่ นจาลอง หนังสื อ เป็ นต้น ซึ่ งมีเนื้ อหาสาระสัมพันธ์กบั กิ จกรรมการเรี ยน
การสอน แล้วเลือกมา ประกอบกันเพื่อใช้ใ นการเรี ยนการสอนในแต่ละครั้ ง ( ประหยัด จิระวรพงศ์
,2527:256)
สื่ อประสม หมายถึง การนาสื่ อหลาย ๆ ประเภทมาใช้ร่วมกันทั้งวัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ
เพื่อให้เกิ ดประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลสู งสุ ดในการเรี ยนการสอน การนาเสนอ โดยการใช้สื่อแต่
ละอย่า ง ตามลาดับขั้นตอนของเนื้ อหา และในปั จจุบ นั มีก ารนาคอมพิวเตอร์ ม าใช้ร่วมด้วย เพื่อการ
ผลิต หรื อ การควบคุ ม การทางานของอุป กรณ์ ต่า ง ๆ ในการเสนอข้อ มูล ทั้ง ตัว อัก ษร ภาพกราฟิ ก
ภาพถ่า ย ภาพเคลื ่ อ นไหว แบบวีดิ ท ศั น์แ ละเสี ย ง ( กิ ด านัน ท์ มลิ ท อง , 2543 : 267)
อิริคสัน (Erickson) กล่าวว่า " สื่ อประสม " หมายถึง การนาเอาสื่ อการสอนหลาย ๆ อย่าง
มาสัมพันธ์กนั ซึ่ งมีคุณค่าที่ส่งเสริ มซึ่ งกันและกัน สื่ อการสอนอย่างหนึ่ งอาจใช้เพื่อเร้ าความสนใจใน
ขณะที่อีกอย่างหนึ่ งใช้เพื่ออธิ บายข้อเท็จจริ ง ของเนื้ อหา และอีกชนิ ดหนึ่ งอาจใช้เพื่อก่อให้เกิ ดความ
2

เข้าใจที่ลึกซึ้ ง และป้ องกันการเข้าใจความหมายผิด การใช้สื่อประสมจะช่ วยให้ผูเ้ รี ยนมีประสบการณ์


จากประสาทสัมผัสผสมผสานกันได้พบวิธีการที่จะเรี ยนในสิ่ งที่ตอ้ งการได้ดว้ ยตนเองมากยิ่งขึ้ น " (
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ และคณะ ,2523)

ดังนั้น สื่ อประสม จึงหมายถึ ง การนาสื่ อหลาย ๆ ประเภทมาใช้ร่วมกัน ทั้ง วัส ดุ อุป กรณ์
และวิธีการ เพื่อให้เกิ ดประสิ ทธิ ภาพและ ประสิ ทธิ ผลสู งสุ ดในการเรี ยนการสอน เป็ นตัวกลางในการ
นาเสนอข้อมูล เนื้ อหาความรู ้ โดยการใช้สื่อแต่ละอย่างตามลาดับขั้นตอนของเนื้ อหา และในปั จจุบนั
มีก ารนาคอมพิวเตอร์ มาใช้ร่วมด้วย เพื่อการผลิ ตหรื อการควบคุ ม การทางานของอุป กรณ์ ต่า ง ๆ ใน
การเสนอข้อ มูล ทั้ ง ตัว อัก ษร ภาพกราฟิ ก ภาพถ่า ย ภาพเคลื ่ อ นไหว และเสี ย ง เป็ นต้น
ความหมายของสื่ อประสมจะแตกต่างกันไปตามสมัย ซึ่ งสมัยก่อน เมื่อกล่าวถึ งสื่ อประสม
จะหมายถึ ง การนาสื่ อหลาย ๆ ประเภทมาใช้ร่ ว มกัน เช่ น รู ป ภาพ เครื่ อ งฉายแผ่น โปร่ ง ใส เทป
บัน ทึก เสี ย ง เป็ นต้น เพื่อให้ก ารเสนอผลงานหรื อ การเรี ย นการสอน สามารถดาเนิ น ไปได้อย่า งมี
ประสิ ทธิ ภาพ โดยการเสนอเนื้ อหาในรู ปแบบต่าง ๆ นอกเหนื อจากการบรรยายเพียงอย่างเดี ยว โดยที่
ผูฟ้ ั งหรื อผูเ้ รี ยนมิได้มีปฏิ สัมพันธ์ต่อสื่ อนั้นโดยตรง

ปั จจุบนั ด้วยบทบาทของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลที่มีเพิ่มมากขึ้ นในการทางานจึง


ทาให้ค วามหมายของสื่ อประสมเพิ่มขึ้ นจากเดิ ม ความหมายของสื่ อประสมที่เพิ่มขึ้ นในปั จจุบ นั จะ
หมายถึง " สื่ อประสมเชิ งโต้ตอบ " (Interactive Multimedia) โดยการเพิ่มปฏิ สัมพันธ์ระหว่างสื่ อและ
ผูใ้ ช้ สื่ อประสมสมัยนี้ จึง หมายถึ ง การนาอุปกรณ์ ต่าง ๆ เช่ น เครื่ องเล่มซี ดี - รอม เครื่ องเสี ยงระบบ
ดิ จิท ลั เครื่ องเล่นแผ่นวีดิท ศั น์ ฯลฯ มาใช่ ร่วมกันเพื่อเสนอเนื้ อหาข้อมูล ที่เป็ นตัวอัก ษร ภาพกราฟิ ก
ภาพถ่าย ภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทศั น์ และเสี ยงในระบบสเตริ โอ โดยการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ช่ วยในการผลิ ต การนาเสนอเนื้ อหา เป็ นการให้ผูใ้ ช้หรื อผูเ้ รี ยนมิใช่ เพียงแต่นงั่ ดู หรื อฟั งข้อมูลจากสื่ อ
ที่เสนอมาเท่า นั้น แต่ผูใ้ ช้ส ามารถควบคุ ม ให้คอมพิวเตอร์ ทางานในการตอบสนองต่อคาสั่ง และให้
ข้อมูลป้ อนกลับในรู ปแบบต่าง ๆ ได้อย่า งเต็มที่ ผูใ้ ช้สื่อสามารถมีปฏิ สัมพันธ์ตอบสนองซึ่ งกันและ
กันได้ทนั ที

วิวฒ
ั นาการของสื่ อประสม
สื่ อประสม (multimedia) เป็ นสื่ อสมัยใหม่ที่ใช้คอมพิวเตอร์ นาเอาตัวหนังสื อแสดงข้อความ
ภาพ และเสี ยง ซึ่ งบันทึกไว้ในรู ปของข้อมูลดิจิทลั มาแสดงผลแปลงเป็ นตัวหนังสื อแสดงข้อความ ภาพ
และเสี ย งทางจอภาพและล าโพงผสมผสานกัน รวมทั้ง ควบคุ ม การแสดงผลของสื่ อเหล่ า นั้น โดย
3

โปรแกรมการสั่งงานคอมพิวเตอร์ ทาให้สื่อเหล่ านั้นมี ลกั ษณะพิเศษขึ้ น มีพลังในการสื่ อสารอย่างมี


ชีวติ ชีวามากกว่าสื่ อที่เกิดจากการใช้อุปกรณ์อื่นๆ

คาว่า “ สื่ อประสม ” อาจมีความหมายพื้นๆ


เพียงการแสดงผลของข้อความภาพและเสี ยงพร้อมๆ
กันในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง เช่น สื่ อโทรทัศน์ ภาพยนตร์
สไลด์ประกอบเสี ยง หรื อการใช้วสั ดุอุปกรณ์ต่างๆ
ในการสาธิตหรื อการสอน แต่สื่อเหล่านี้อาจใช้คาเฉพาะอื่นๆ
ที่สามารถอธิ บายความหมายได้ชดั เจนมากกว่าคาว่า สื่ อประสม จึงใช้เพื่อหมายความถึงสื่ อที่มีลกั ษณะ
พิเศษ ซึ่ งมักเกี่ยวข้องกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ดังที่อธิ บายข้างต้น
ในสมัย ก่ อน มนุ ษ ย์ใช้สื่ อที่ เป็ นภาพและ
ตัว อัก ษรในการบัน ทึ ก เพื่ อ ถ่ า ยทอดเรื่ องราวต่ า งๆ
โดยการสลักภาพและอักษรลงบนแผ่นหิ น หรื อขี ด
เขียนลงบนวัสดุ ชนิ ดอื่นที่มีความแข็งแรง และใน
ระยะต่ อ มาได้มี ก ารวาดหรื อ เขี ย นลงบนกระดาษ
ตัวอย่าง เช่ น ในสังคมไทยมีการบันทึกความรู ้และ
เหตุ ก ารณ์ ต่ า งๆ โดยการจารึ ก ลงบนใบลาน หรื อ
กระดาษ เป็ นต้น การพิมพ์
และหนังสื อเป็ นสื่ อที่ เกิ ดขึ้ นในยุโรปในกลางคริ สต์ศตวรรษที่ ๑๕ และเป็ นสื่ อที่ทาให้ความรู ้ หรื อ
การศึกษาแพร่ ขยายออกไป เป็ นการเริ่ มต้นการเปลี่ ยนแปลง และก่ อให้เกิ ดความเจริ ญก้าวหน้าทาง
วิทยาศาสตร์ อย่างรวดเร็ วในอีก ๓๐๐ ปี ต่อมา
ใน ค . ศ . ๑๘๗๗ ทอมัส แอลวา เอดีสัน
(Thomas Alva Edison; ค . ศ . ๑๘๔๗ – ๑๙๓๑๗ ) นักประดิษฐ์
ชาวอเมริ กา ได้ประดิษฐ์ระบบบันทึกเสี ยงขึ้น ซึ่งเป็ นการบันทึก
เสี ยงเก็บไว้ได้เป็ นครั้งแรก ต่อมาใน ค . ศ . ๑๘๘๘ จอร์จ อีสต์แมน
(George Eastman ; ค . ศ . ๑๘๕๔ – ๑๙๓๒ ) นักประดิษฐ์ชาวอเมริ กนั ได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ที่สามารถ
บันทึกภาพโดยใช้แสง ประดิษฐ์กรรมทั้ง ๒ อย่างทาให้เกิดสื่ อประเภทเสี ยงขึ้นและมีรูปแบบใหม่ในการ
บันทึกภาพ นอกเหนือจากการวาด เขียน และพิมพ์ลงบนกระดาษ
การบันทึกภาพด้วยกล้องถ่ายรู ปได้พฒั นาไปสู่ การถ่ายภาพเคลื่อนไหว
จึงทาให้การบันทึกและถ่ายทอดเรื่ องราวแม่นยาตรงกับความจริ ง และน่าสนใจ
ยิง่ ขึ้น และนี่คือที่มาของสื่ อประเภทภาพยนตร์ ซึ่ งได้แพร่ หลายไปทัว่ โลก
เมื่อเริ่ มต้นคริ สต์ศตวรรษที่ ๒๐
4

ระยะเวลาต่อมา ประมาณครึ่ งหลังของคริ สต์ศตวรรษที่ ๒๐


มนุ ษย์ก็คน้ พบประดิษฐ์กรรมคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีดิจิทลั
ได้ประปฏิวตั ิการสื่ อสารของมนุ ษย์ครั้งสาคัญ โดยการนาเข้า
สู่ ระบบสื่ อประสม กล่าวคือ แทนที่จะใช้คอมพิวเตอร์ เฉพาะ
การพิ มพ์ในงานด้านการจัดเก็ บข้อมู ลและการบริ ก ารธุ รกิ จ
ต่า งๆ ก็ ส ามารถนามาใช้แระโยชน์ใ นด้านการสื่ อสารได้
หลากหลายรู ปแบบยิง่ ขึ้น

รูปแบบของสื่ อประสม
1. สื่ อประสมที่ไม่ สามารถโต้ ตอบกับผู้ใช้ ได้ (Multimedia) การนาสื่ อหลายชนิดมาผสมผสาน
เข้าด้วยกัน โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็ นตัวจัดการ และควบคุ มให้สื่อต่างๆ แสดงผลออกมาทาง
หน้าจอและลาโพงของคอมพิวเตอร์

สื่ อประสม I ( Multimedia I ) เป็ นสื่ อประสมที่ใช้โดยการนาสื่ อหลายประเภท มาใช้


ร่ วมกัน เช่ น นาวีดิท ศั น์ มาสอนประกอบการบรรยายของผูส้ อนหรื อผูน้ าเสนอ โดยมี สื่ อสิ่ ง พิ ม พ์
ประกอบด้วย หรื อสื่ อประสมในชุดการเรี ยนรู ้ หรื อชุดการสอน การใช้สื่อประสม I นี้ ผูใ้ ช้และสื่ อจะไม่มี
ปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกัน และจะมีลกั ษณะเป็ น " สื่ อหลายแบบ " ตามศัพท์บญั ญัติของราชบัณฑิตยสถาน
2. สื่ อประสมที่สามารถโต้ ตอบกับผู้ใช้ ได้ (Interactivity Multimedia) กล่าวคือ โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ สามารถจัดการกับข้อมูลภาพและเสี ยง ให้แสดงผลบนจอในลักษณะที่โต้ตอบกับผูใ้ ช้ได้
ไม่ใช่การแสดงผลรวดเดียวจบ (run through) แบบวีดิทศั น์ หรื อภาพยนตร์ และไม่ใช่การสื่ อสารทางเดียว
(one-way communication) คือ ผูช้ มเป็ นผูด้ ูฝ่ายเดียวอีกต่อไป

สื่ อประสม II( Multimedia II ) เป็ นสื่ อประสมที่ใช้คอมพิวเตอร์ เป็ นฐานในการเสนอ


สารสนเทศ หรื อการผลิตเพื่อเสนอข้อมูลประเภทต่าง ๆ เช่น ภาพนิ่ ง ภาพเคลื่อนไหว ตัวอักษร และเสี ยง
ในลักษณะของสื่ อหลายมิติ โดยที่ผใู ้ ช้มีการโต้ตอบกับสื่ อโดยตรง โดยการใช้คอมพิวเทอร์ ในสื่ อประสม
II ใช้ได้ในสองลักษณะ คือ

2.1 การใช้คอมพิวเตอร์ เป็ นฐานในการเสนอสารสนเทศโดยการควบคุมอุปกรณ์ร่วมต่าง ๆ


ในการทางาน เช่ น ควบคุ ม การทางานของอุ ปกรณ์ ใ นสถานี งานสื่ อประสม ควบคุ มการเสนอภาพ
สไลด์มลั ติวิชนั่ และการเสนอในรู ปแบบของแผ่นวีดิทศั น์เชิ งโต้ตอบ (Interactive Video) การใช้ใน
5

ลักษณะนี้คอมพิวเตอร์ จะเป็ นตัวกลางในการควบคุมการทางานของเครื่ องเล่นแผ่นวีดิทศั น์ และเครื่ องเล่น


ซี ดีรอม ให้เสนอภาพนิ่ ง และภาพเคลื่อนไหวตามเนื้ อหาบทเรี ยนที่เป็ นตัวอักษรที่ปรากฏอยู่บนจอภาพ
คอมพิวเตอร์ รวมถึงควบคุมเครื่ องพิมพ์ในการพิมพ์ขอ้ มูลต่าง ๆ ของบทเรี ยน

2.2 การใช้คอมพิวเตอร์ เป็ นฐานในการผลิตแฟ้มสื่ อประสมโดยการใช้โปรแกรมสาเร็ จรู ป


ต่าง ๆ เช่น Tool Book และ Author ware และนาเสนอแฟ้ มบทเรี ยนที่ผลิ ตแล้วแก่ผเู ้ รี ยนโปรแกรม
สาเร็ จรู ปเหล่านี้ จะช่วยในการผลิตแฟ้ มบทเรี ยน ฝึ กอบรม หรื อการเสนองานในลักษณะของสื่ อหลายมิติ
โดยในแต่ ล ะบทเรี ยนจะมี เ นื้ อ หาในลัก ษณะของตัว อัก ษร ภาพกราฟิ ก ภาพกราฟิ กเคลื่ อ นไหว
ภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทศั น์และเสี ยงรวมอยูใ่ นแฟ้ มเดี ยวกัน บทเรี ยนที่ผลิ ตเหล่านี้ เรี ยกว่า " บทเรี ยน
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน " หรื อ "CAI" นัน่ เอง

การนาเสนอข้อมูลของสื่ อประสม II นี้ จะเป็ นไปในลักษณะสื่ อหลายมิติที่เน้นเชิงโต้ตอบ ซึ่ ง


ช่วยให้ผใู ้ ช้สามารถดูขอ้ มูลบนจอภาพได้หลายลักษณะ คือ ทั้งตัวอักษร ภาพ และเสี ยง และถ้าต้องการจะ
ทราบข้อมูลมากกว่านี้ ผูใ้ ช้ก็เพียงแต่คลิกที่คาหรื อสัญลักษณ์รูปที่ทาเป็ นปุ่ มในการเชื่ อมโยงก็จะมีภาพ
เสี ยง หรื อข้อความอธิ บายปรากฏขึ้นมา

3. ประสมสื่ อทีเ่ ป็ นวัสดุ อุปกรณ์ และกระบวนการเข้ าร่ วมกัน นามาใช้สาหรับการเรี ยนการสอน


ปกติทวั่ ๆ ไปเช่ น ชุ ดอุปกรณ์ ชุดการเรี ยนการสอน บทเรี ยนแบบโปรแกรม โปรแกรมสไลด์ ศูนย์การ
เรี ยน เป็ นต้น สื่ อประสมแต่ละชนิ ดที่จดั อยูใ่ นประเภทนี้ มีหลักการและลักษณะเด่นแตกต่างกันออกไป
คือ

3.1 สามารถให้ใช้ได้ประสบการณ์ดว้ ยตนเอง คือ มีส่วนร่ วมในการกระทาหรื อปฏิ บตั ิ


กิจกรรมเป็ นการเร้าใจแก่ผใู ้ ช้ เช่น ศูนย์การเรี ยน บทเรี ยนโปรแกรม ชุดอุปกรณ์ เป็ นต้น

3.2 สามารถให้ผูใ้ ช้ได้เรี ยนรู ้ตามความรู ้ความสามารถ และความแตกต่างของแต่ละบุคคล


เช่น บทเรี ยนโปรแกรม ชุดการสอน เป็ นต้น

3.3 สามารถให้ใช้ได้เรี ยนรู ้ ดว้ ยตนเองหรื อใช้เมื่อขาดผูน้ าเสนอได้ เช่ น บทเรี ยนแบบ
โปรแกรม ชุดการสอนรายบุคคล เป็ นต้น

3.4 สามารถให้ผูใ้ ช้ได้รับผลตอบกลับทันที และได้รับความรู ้สึกภาคภูมิใจในความสาเร็ จ


เช่น ศูนย์การเรี ยน การสอนแบบจุลภาค เป็ นต้น
6

3.5 สามารถใช้ประกอบการศึกษาทางไกลให้ดาเนิ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เช่ น ชุดการ


สอนทางไกลสาหรับการศึกษาเพื่อมวลชน เป็ นต้น

3.6 สามารถใช้ส่งเสริ มสมรรถภาพของนาเสนอ เช่น ชุ ดการสอนประกอบคาบรรยาย เป็ น


ต้น

3.7 สามารถให้ผูใ้ ช้ได้ฝึกความรับผิดชอบและการทางานเป็ นกลุ่ม เช่น ศูนย์การเรี ยน กลุ่ม


สัมพันธ์ เป็ นต้น

4. ประสมสื่ อประเภทฉาย เป็ นการประสมโดยมี ขอ้ จากัดที่ ความสามารถและคุ ณสมบัติ


เฉพาะตัวของอุปกรณ์เครื่ องฉายเป็ นสาคัญ เช่น สไลด์ประกอบเสี ยงและวีดิทศั น์ประกอบเสี ยง สไลด์และ
แผ่นโปร่ งใส วีดิโออิมเมจ เป็ นต้น และฉายบนจอตั้งแต่ 2 จอขึ้นไป เป็ นการใช้ฉายกับผูช้ มเป็ นกลุ่มสื่ อ
ประสมประเภทฉายนี้ สามารถใช้ประกอบการศึกษาและการเรี ยนการสอนโดยเฉพาะสาหรับผู ้ใช้ที่ชอบ
การเรี ยนรู ้จากการอ่านภาพ การเสนอด้วยสื่ อประเภทฉายนี้ แม้วา่ ในบางครั้งราคาการผลิตอาจจะสู งและ
การผลิ ตซับซ้อนกว่าการผลิ ตสื่ อประสมบางชนิ ดในประเภทแรก แต่ผลที่ได้รับจากการเสนอด้วยสื่ อ
ประสมประเภทฉายให้ผลตรงที่มีคุณสมบัติเฉพาะตัวที่สื่ออื่นไม่สามารถทาได้คือผลในความรู ้สึกอารมณ์
และสุ น ทรี ย ภาพแก่ ผู ช้ ม ทั้ง ยัง ช่ ว ยดึ ง ดู ด ความสนใจให้ ผู ้ช มได้ติ ด ตามอย่า งตื่ น ตาตื่ น ใจและมี
ประสิ ทธิ ภาพเป็ นการช่วยในการเรี ยนการสอน สื่ อประสมประเภทนี้มีคุณสมบัติเหมาะแก่การนามาใช้ใน
การเรี ยนการสอน ได้แก่

4.1 ใช้เมื่อเสื่ อมีการเปรี ยบเทียบความคล้ายคลึงกัน เป็ นการง่ายสาหรับผูเ้ รี ยน ในการสังเกต


และเรี ยนรู ้สิ่งที่คล้ายคลึงกันจากสื่ อต่าง ๆ เมื่อภาพของสิ่ งนั้น ๆ ปรากฏบนจอพร้อมกัน

4.2 ใช้สอนให้เห็นความแตกต่าง และการตัดกันเมื่อภาพหลาย ๆ ภาพปรากฏพร้อมๆ กัน

4.3 ใช้มองสิ่ งหนึ่ งสิ่ งใดจากมุมที่ต่างกัน เช่ น ภาพสถานที่หรื ออาคารสถานที่โดยภาพ


ปรากฏพร้อมกันจากการมองในแง่มุมที่ต่างกัน

4.4 ใช้แสดงภาพซึ่ งดาเนินเป็ นขั้นตอน และสามารถเลียนแบบการเคลื่อนไหวได้


7

4.5 ใช้แสดงสิ่ งที่เกิดขึ้นตามลาดับก่อนหลัง เกิดความต่อเนื่องที่ดีมีความสัมพันธ์กนั ระหว่าง


ภาพและเวลา ประกอบกับการจัดภาพและจอให้มีขนาดต่างกันเป็ นการง่ายต่อการจดจา

4.6 ใช้เน้นจุดใดจุดหนึ่งโดยตรงได้ โดยการกาหนดจุดสนใจที่ตอ้ งการให้อยูใ่ นตาแหน่ ง


และรู ปแบบที่ต่างกันหรื ออาจทาโดยการใช้ภาพที่ซ้ าๆ กับปรากฏบนจอพร้อม ๆ กัน

4.7 ใช้ยืดเวลาการเสนอจุดหรื อส่ วนที่สาคัญของเนื้ อหา เช่น บางครั้งภาพที่สาคัญสามารถ


ปรากฏอยูบ่ นจอต่อไปขณะที่รายละเอียดหรื อส่ วนที่เกี่ยวข้องได้เปลี่ยนไปในจอถัดไป

4.8 ใช้แสดงการเคลื่อนไหว โดยใช้หลักการฉายภาพนิ่ งหลาย ๆ ภาพต่อเนื่ องกันอย่าง


รวดเร็ วหรื อใช้ความสามารถของวีดิทศั น์

4.9 ใช้รวมสื่ อภาพนิ่ ง สไลด์ และวีดิทศั น์ ในขณะที่แสดงภาพนิ่ งอาจจะมีการฉายวีดิทศั น์


ประกอบบนจอถัดไป

4.10 ใช้แสดงภาพที่เห็นได้กว้าง (Panorama) บนจอที่ติดกัน

4.11 ลักษณะพิเศษประการสุ ดท้ายที่เด่นของสื่ อประสมประเภทนี้ คือ สามารถแสดงเนื้ อหา


ได้มากในระยะเวลาที่จากัด ลักษณะพิเศษนี้ ผสู ้ อนอาจใช้สื่อประสมนี้ ในการทาเป็ นบทนาหรื อบทสรุ ป
ได้

5. สื่ อประสมระบบการสื่ อสารกับเทคโนโลยีสารสนเทศโดยการใช้ คอมพิวเตอร์ ร่วมกับอุปกรณ์


อื่ น เช่ น เครื่ องเล่ นซี ดี - รอม เครื่ องเสี ย งระบบดิ จิตอล เครื่ องเล่ นแผ่นวีดิท ศั น์ เป็ นต้น เพื่ อให้
คอมพิวเตอร์ สามารถทางานคานวณค้นหาข้อมูล แสดงภาพวีดิทศั น์และมีเสี ยงต่าง ๆ การทางานของสื่ อ
หลาย ๆ อย่า งในสื่ อ ประสมประกอบด้วยการท างานของระบบเสี ย ง (Sound) ภาพเคลื่ อนไหว
(Animation) ภาพนิ่ ง (Still Images) วีดิทศั น์ (Video) และไฮเปอร์ เท็กซ์ (Hypertext) ซึ่ งข้อมูลที่ใช้ใน
ไฮเปอร์ เท็กซ์จะแสดงเนื้ อหาหลักของเรื่ องราวที่กาลังอ่านขณะนั้นโดยเน้นเนื้ อหา ถ้าคาใดสามารถเชื่อม
จากจุดหนึ่ งในเนื้ อหาไปยังเนื้ อหาอื่นได้ก็จะทาเป็ นตัวหนาหรื อขีดเส้นใต้ไว้ เมื่อผูใ้ ช้หรื อผูอ้ ่านต้องการ
จะดู เนื้ อหาก็สามารถใช้เมาส์ คลิ กไปยังข้อมูลหรื อคาเหล่ านั้นเพื่อเรี ยกมาดู รายละเอี ยดของเนื้ อหาได้
สื่ อประสมในลักษณะนี้ นับว่าเป็ นเทคโนโลยีใหม่ กาลังได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง
เพราะเป็ นเทคโนโลยีที่ทาให้เราสามารถใช้คอมพิวเตอร์ ในการแสดงข้อมูลได้หลากหลายรู ปแบบ ดังนั้น
8

สื่ อประสมจะต้องมีคุณสมบัติสาคัญประการหนึ่ง คือ ความสามารถในการโต้ตอบ (Interactivity) อุปกรณ์


ที่ตอบสนองความสามารถนี้ได้คือคอมพิวเตอร์ นนั่ เอง

องค์ประกอบของสื่ อประสม
จากความหมายของสื่ อประสมที่ ก ล่ า วมาแล้วจะเห็ นได้ว่า สื่ อประสมในปั จจุ บนั จะใช้
คอมพิ วเตอร์ เ ป็ นอุ ป กรณ์ หลัก ในการเสนอสารสนเทศในรู ปแบบรวมของข้อความ เสี ย ง ภาพนิ่ ง
ภาพกราฟิ กเคลื่อนไหว และภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทศั น์ เพื่อรวมเป็ นองค์ประกอบของสื่ อประสมใน
ลักษณะของ " สื่ อหลายมิติ " โดยก่อนที่จะมีการประมวลเป็ นสารสนเทศนั้น ข้อมูลเหล่านี้ จะต้องได้รับ
การปรับรู ปแบบโดยแบ่งเป็ นลักษณะดังนี้
1. ภาพนิ่ง ก่อนที่ภาพถ่าย ภาพวาด หรื อภาพต่าง ๆ ที่เป็ นภาพนิ่ งจะเสนอบนจอคอมพิวเทอร์
ให้แลดูสวยงามได้น้ นั ภาพเหล่านี้จะต้องถูกเปลี่ยนรู ปแบบก่อนเพื่อให้คอมพิวเตอร์ สามารถใช้และเสนอ
ภาพเหล่านั้นได้ โดยมีรูปแบบที่นิยมใช้กนั มาก 4 รู ปแบบ คือ

- ภาพบิตแมพ (Bitmap) เป็ นภาพที่มีการเก็บข้อมูลแบบพิกเซล หรื อจุดเล็กๆ ที่แสดงค่าสี


ดังนั้นภาพหนึ่ งๆ จึงเกิดจากจุดเล็กๆ หลายๆ จุดประกอบกัน ( คล้ายๆ กับการปั กผ้าครอสติก ) ทาให้
รู ปภาพแต่ละรู ป เก็บข้อมูลจานวนมาก เมื่อจะนามาใช้ จึงมีเทคนิคการบีบอัดข้อมูล ฟอร์ แมตของภาพบิต
แมพ ที่รู้จกั กันดี ได้แก่ .BMP, .PCX, .GIF, .JPG, .TIF

- ภาพเวกเตอร์ (Vector) เป็ นภาพที่สร้ างด้วยส่ วนประกอบของเส้นลักษณะต่างๆ และ


คุณสมบัติเกี่ยวกับสี ของเส้นนั้นๆ ซึ่ งสร้างจากการคานวณทางคณิ ตศาสตร์ เช่น ภาพของคน ก็จะถูกสร้าง
ด้วยจุดของเส้นหลายๆ จุด เป็ นลักษณะของโครงร่ าง (Outline) และสี ของคนก็เกิดจากสี ของเส้นโครงร่ าง
นั้นๆ กับพื้นที่ผิวภายในนัน่ เอง เมื่อมีการแก้ไขภาพ ก็จะเป็ นการแก้ไขคุณสมบัติของเส้น ทาให้ภาพไม่
สู ญเสี ยความละเอียด เมื่อมีการขยายภาพนัน่ เอง ภาพแบบ Vector ที่หลายๆ ท่านคุ น้ เคยก็คือ ภาพ .wmf
ซึ่ งเป็ น clipart ของ Microsoft Office นัน่ เอง นอกจากนี้ คุณจะสามารถพบภาพฟอร์ แมตนี้ ได้กบั ภาพใน
โปรแกรม Adobe Illustrator หรื อ Macromedia Freehand

- คลิปอาร์ ต (Clipart) เป็ นรู ปแบบของการจัดเก็บภาพ จานวนมากๆ ในลักษณะของตาราง


ภาพ หรื อห้ อ งสมุ ด ภาพ หรื อคลัง ภาพ เพื่ อ ให้ เ รี ยกใช้ สื บ ค้น ได้ ง่ า ย สะดวก และรวดเร็ ว
- HyperPicture มักจะเป็ นภาพชนิ ดพิเศษ ที่พบได้บนสื่ อมัลติมีเดี ย มีความสามารถ
เชื่ อมโยงไปยังเนื้ อหา หรื อรายละเอียดอื่นๆ มีการกระทา เช่น คลิก (Click) หรื อเอาเมาส์มาวางไว้เหนือ
ตาแหน่งที่ระบุ (Over)
9

สาหรับการจัดหาภาพ หรื อเตรี ยมภาพ ก็มีหลายวิธี เช่น การสร้าง


ภาพเอง ด้วยโปรแกรมสร้างภาพ เช่น Adobe Photoshop,
PhotoImpact, CorelDraw หรื อการนาภาพจากอุปกรณ์ เช่น กล้อง
ถ่ายภาพดิจิทลั , กล้องวิดีโอดิจิทลั หรื อสแกนเนอร์

2. ภาพเคลื่อนไหว ภาพเคลื่อนไหว ที่ใช้ในสื่ อประสมจะหมายถึง ภาพกราฟิ กเคลื่อ นไหว หรื อ


ที่เรี ยกกันว่าภาพ " แอนิ เมชัน " (animation) ซึ่ งนาภาพกราฟิ กที่วาดหรื อถ่ายเป็ นภาพนิ่ งไว้มาสร้ างให้
แลดู เคลื่ อนไหว ด้วยโปรแกรมสร้ า งภาพเคลื่ อนไหว ภาพเหล่ า นี้ จะเป็ นประโยชน์ ใ นการจาลอง
สถานการณ์ จริ ง เช่ น ภาพการขับเครื่ องบิน นอกจากนี้ ยงั อาจใช้การเพิ่มผลพิเศษ เช่ น การหลอมภาพ
(morphing) ซึ่ งเป็ นเทคนิ คการทาให้เคลื่อนไหวโดยใช้ " การเติมช่องว่าง " ระหว่างภาพที่ไม่เหมือนกัน
เพื่อที่ให้ดูเหมือนว่าภาพหนึ่งถูกหลอมละลายไปเป็ นอีกภาพหนึ่ง โดยมีการแสดงการหลอมของภาพหนึ่ง
ไปสู่ อีกภาพหนึ่งให้ดูดว้ ย
3. ภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทัศน์ การบรรจุภาพเคลื่ อนไหวแบบวีดิทศั น์ลงในคอมพิวเตอร์
จาเป็ นต้องใช้โปรแกรมและอุปกรณ์เฉพาะในการจัดทา ปกติแล้วแฟ้ มภาพวีดิทศั น์จะมีขนาดเนื้ อที่บรรจุ
ใหญ่มาก ดังนั้น จึงต้องลดขนาดแฟ้มภาพลงด้วยการใช้เทคนิคการบีบอัดภาพ (compression) ด้วยการลด
พารามิเตอร์ บางส่ วนของสัญญาณในขณะที่คงเนื้อหาสาคัญไว้ รู ปแบบ
ของภาพวีดิทศั น์บีบอัดที่ใช้กนั ทัว่ ไปได้แก่ QuickTime, AVI, และ

G 4. เสี ยง เสี ยงที่ใช้ในสื่ อประสมจาเป็ นต้องบันทึกและจัดรู ปแบบ


เฉพาะเพื่อให้คอมพิวเตอร์ สามารถเข้าใจและใช้ได้ รู ปแบบเสี ยงที่นิยม
ใช้กนั มากจะมีอยู่ 2 รู ปแบบ คือ Waveform (WAV) และ Musical Instrument Digital Interface (MIDI)
แฟ้มเสี ยง WAV จะบันทึกเสี ยงจริ งดังเช่นเสี ยงเพลงในแผ่นซี ดีและจะเป็ นแฟ้ มขนาดใหญ่จึงจาเป็ นต้อง
ได้รับการบีบอัดก่อนนาไปใช้แฟ้ มเสี ยง MIDI จะเป็ นการสังเคราะห์เสี ยงเพื่อสร้างเสี ยงใหม่ข้ ึนมาจึงทา
ให้แฟ้มมีขนาดเล็กกว่าแฟ้ม WAV แต่คุณภาพเสี ยงจะด้อยกว่า
ลักษณะของเสี ยง ประกอบด้วย คลื่นเสี ยงแบบออดิโอ (Audio) ซึ่ งมีฟอร์ แมตเป็ น .wav, .au
การบันทึกจะบันทึกตามลูกคลื่นเสี ยง โดยมีการแปลงสัญญาณให้เป็ นดิจิทลั และใช้เทคโนโลยีการบีบ
อัดเสี ยงให้เล็กลง ( ซึ่ งคุณภาพก็ต่าลงด้วย ) เสี ยง CD เป็ นรู ปแบบการบันทึก ที่มีคุณภาพสู ง ได้แก่ เสี ยงที่
บันทึกลงในแผ่น CD เพลงต่างๆ MIDI (Musical Instrument Digital Interface) เป็ นรู ปแบบของเสี ยงที่
แทนเครื่ องดนตรี ชนิดต่างๆ สามารถเก็บข้อมูล และให้วงจรอิเล็กทรอนิกส์ สร้างเสี ยงตามตัวโน้ต เสมือน
การเล่นของเครื่ องเล่นดนตรี น้ นั ๆ เสี ยงที่ทางานผ่านคอมพิวเตอร์ เป็ นสัญญาณดิ จิทลั มี 2 รู ปแบบคือ
- Synthesize Sound เป็ นเสี ยงที่เกิดจากตัววิเคราะห์เสี ยง ที่เรี ยกว่า MIDI โดยเมื่อตัวโน้ต
10

ทางาน คาสั่ง MIDI จะถูกส่ งไปยัง Synthesize Chip เพื่อทาการแยกสี ยงว่าเป็ นเสี ยงดนตรี ชนิ ดใด ขนาด
ไฟล์ MIDI จะมีขนาดเล็ก เนื่องจากเก็บคาสัง่ ในรู ปแบบง่ายๆ

- Sound Data เป็ นเสี ยงจากที่มีการแปลงจากสัญญาณ analog เป็ นสัญญาณ digital โดยจะมี
การบันทึกตัวอย่างคลื่น (Sample) ให้อยูท่ ี่ใดที่หนึ่งในช่วงของเสี ยงนั้นๆ และการบันทึกตัวอย่างคลื่นเรี ยง
กันเป็ นจานวนมาก เพื่อให้มีคุณภาพที่ดี ก็จะทาให้ขนาดของไฟล์โตตามไปด้วย Sample Rate จะแทนด้วย
kHz ใช้อธิ บายคุณภาพของเสี ยง อัตรามาตรฐานของ sample rate เท่ากับ 11kHz, 22kHz, 44kHz Sample
Size แทนค่าด้วย bits คือ 8 และ 16 บิท ใช้อธิ บายจานวนของข้อมูลที่ใช้จดั เก็บในคอมพิวเตอร์ คุณภาพ
เสี ยงที่ดีที่สุด ได้แก่ Audio-CD ที่เท่ากับ 44kHz ระบบ 16 บิท เป็ นต้น

ฟอร์ แมตในการจัดเก็บ (File Format) มีหลากหลายรู ปแบบ โดยมีส่วนขยาย ( นามสกุล ) ที่เป็ น


มาตรฐานในการระบุ ได้แก่

5. การเชื่ อมโยงหลายมิติ ส่ วนสาคัญอย่างหนึ่ งของการใช้งานในรู ปแบบสื่ อประสมในลักษณะ


ของสื่ อหลายมิติ คือ ข้อมู ลต่ างๆ สามารถเชื่ อมโยงกันได้อย่า งรวดเร็ วโดยใช้จุดเชื่ อมโยงหลายมิ ติ
(hyperlink) การเชื่ อมโยงนี้ จะสร้ างการเชื่ อมต่อระหว่างข้อมู ลตัวอักษรภาพ และเสี ยงโดยการใช้สี
ข้อความขีดเส้นใต้ หรื อสัญลักษณ์รูป ที่ใช้แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ เช่น รู ปลาโพง รู ปฟิ ล์ม ฯลฯ เพื่อให้ผใู ้ ช้
คลิกที่จุดเชื่อมโยงเหล่านั้นไปยังข้อมูลที่ตอ้ งการ
11

6. ข้ อความ (Text) เป็ นส่ วนที่เกี่ยวกับเนื้ อหาของมัลติมีเดีย ใช้แสดงรายละเอียด หรื อเนื้ อหา
ของเรื่ องที่นาเสนอ ซึ่งปัจจุบนั มีหลายรู ปแบบ ได้แก่

- ข้ อ ความที่ไ ด้ จ ากการพิมพ์ เป็ นข้อความปกติ ที่พ บได้ทวั่ ไป ได้จากการพิ ม พ์ด้วย


โปรแกรมประมวลผลงาน (Word Processor) เช่น Notepad, Text Editor, Microsoft Word โดยตัวอักษร
แต่ละตัวเก็บในรหัส เช่น ASCII

- ข้ อความจากการสแกน เป็ นข้อความในลักษณะภาพ หรื อ Image ได้จากการนาเอกสารที่


พิมพ์ไว้แล้ว ( เอกสารต้นฉบับ ) มาทาการสแกน ด้วยเครื่ องสแกนเนอร์ (Scanner) ซึ่ งจะได้ผลออกมาเป็ น
ภาพ (Image) 1 ภาพ ปั จจุบนั สามารถแปลงข้อความภาพ เป็ นข้อความปกติได้ โดยอาศัยโปรแกรม OCR
- ข้ อความอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นข้อความที่พฒั นาให้อยู่ในรู ปของสื่ อ ที่ใช้ประมวลผลได้
- ข้ อความไฮเปอร์ เท็กซ์ (Hypertext) เป็ นรู ปแบบของข้อความ ที่ได้รับความนิยมสู งมาก ใน
ปั จจุบนั โดยเฉพาะการเผยแพร่ เอกสารในรู ปของเอกสารเว็บ เนื่ องจากสามารถใช้เทคนิ ค การลิงค์ หรื อ
เชื่อมข้อความ ไปยังข้อความ หรื อจุดอื่นๆ ได้
เมื่อมีการนาข้อมูลต่าง ๆ มารวบรวมสร้างเป็ นแฟ้ มข้อมูลด้วยโปรแกรมสร้างสื่ อประสมแล้ว
การที่จะนาองค์ประกอบต่าง ๆ มาใช้งานได้น้ นั จาเป็ นต้องใช้ส่วนต่อประสาน (interface) เพื่อให้ผูใ้ ช้
สามารถใช้งานโต้ตอบกับข้อมูลสารสนเทศเหล่านั้นได้ ส่ วนต่อประสานที่ปรากฏบนจอภาพจะมีมากมาย
หลายรู ปแบบ อาทิเช่น รายการเลือกแบบผุดขึ้น (pop - up menus) แถบเลื่อน (scroll bars) และสัญลักษณ์
รู ปต่าง ๆ เป็ นต้น

สื่ อประสมในงานส่ งเสริมและพัฒนาการเกษตร


การใช้ สื่ อ ประสมในงานส่ ง เสริ มและพัฒ นาการเกษตร จะช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและ
ประสิ ทธิผลในนาเสนอได้อย่างมาก โดยใช้ในลักษณะของการใช้คอมพิวเตอร์ (CAI) รู ปแบบต่าง ๆ เช่น
สถานการณ์ลาลอง เกม การทบทวน ฯลฯ ซึ่ งในปั จจุบนั มีผผู ้ ลิตบทเรี ยนลงแผ่นซี ดีออกจาหน่ายมากมาย
หรื อผูน้ าเสนอจะจัดทาบทเรี ยนเองได้โดยใช้โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ช่ วยในการจัดทา ตัวอย่าง เช่ น
วงการแพทย์สามารถใช้สถานการณ์จาลองของการผ่าตัดโดยใช้สื่อประสมเพื่อให้ผเู ้ รี ยนทาการผ่าตัดกับ
คนไข้เสมือนจริ ง หรื อด้านวิศวกรรมศาสตร์ ใช้สื่อประสมของการออกแบบวงจรไฟฟ้า เพื่อให้ผเู ้ รี ยนฝึ ก
การออกแบบ ทดสอบ และใช้วงจรนั้นได้ หรื อแม้แต่เด็กนักเรี ยนในโรงเรี ยนประถมศึกษาก็สามารถใช้
สื่ อประสมในการเสนอเรี ยงความแก่ ครู ผูส้ อนและเพื่อนร่ วมในชั้นได้เช่ นกัน การใช้สื่อประสมใน
การศึกษาจะมีประโยชน์มากมายหลายด้าน อาทิ เช่น
12

1.ดึงดูดความสนใจ บทเรี ยนสื่ อประสมในลักษณะสื่ อหลายมิติที่ประกอบด้วยภาพกราฟิ ก


ภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทศั น์ และเสี ยง นอกเหนือไปจากเนื้ อหาตัวอักษร จะดึงดูดความสนใจของผูใ้ ช้ได้
เป็ นอย่างดี และช่วยในการสื่ อสารระหว่างผูน้ าเสนอและผูใ้ ช้ดว้ ย

2.การสื บค้ นเชื่ อมโยงฉับไว ด้วยสมรรถนะของการเชื่อมโยงหลายมิติทาให้ผู ้ใช้สามารถเรี ยนรู ้


ในสิ่ งต่าง ๆ ได้กว้างขวางและหลากหลายได้อย่างรวดเร็ วโดยไม่จาเป็ นเรี ยนไปตามลาดับเนื้อหา

3.การโต้ ตอบระหว่ างสื่ อและผู้ใช้ บทเรี ยนสื่ อประสมจะมีจุดเชื่อมโยงหลายมิติเพื่อให้ผู ้ใช้และ


สื่ อมีปฏิสัมพันธ์กนั ได้ในลักษณะสื่ อประสมเชิงโต้ตอบ

4.ให้ สารสนเทศหลากหลาย ด้วยการใช้ซีดีและดีวีดีในการให้ขอ้ มูลและสารสนเทศในปริ มาณ


ที่มากมายและหลากหลายรู ปแบบเกี่ยวกับเนื้อหาบทเรี ยน

5.ทดสอบความเข้ าใจ ผูใ้ ช้บางคนอาจจะไม่กล้าถามข้อสงสัยหรื อตอบคาถาม การใช้สื่อประสม


จะช่วยแก้ปัญหาในสิ่ งนี้ได้โดยการใช้ในลักษณะการศึกษารายบุคคล

6.สนับสนุ นความคิดรวบยอด สื่ อประสมสามารถแสดงสารสนเทศเพื่อสนับสนุ นความคิด


รวบยอดของผูใ้ ช้ โดยการเสนอสิ่ งที่ให้ตรวจสอบย้อนหลังและแก้ไขจุดอ่อนในการเรี ยนรู ้

ประโยชน์ ของสื่ อประสม


สื่ อประสม ได้เข้ามามีบทบาทในชีวติ ของคนเรามากยิง่ ขึ้น โดยมีประโยชน์ ดังนี้
- เสนอสิ่ งเร้าให้กบั ผูใ้ ช้ ได้แก่ เนื้อหา ภาพนิ่ง คาถาม ภาพเคลื่อนไหว
- นาเสนอข่าวสารในรู ปแบบที่ไม่จาเป็ นต้องเรี ยงลาดับ เช่น บทเรี ยนมัลติมีเดีย
- สร้างสื่ อเพื่อความบันเทิง
- สร้างสื่ อโฆษณา หรื อประชาสัมพันธ์
13

นอกจากประโยชน์ ดังกล่าว เทคโนโลยีสื่อประสม ยังมีบทบาทต่อ


- การเรียนการสอน อันส่ งผลให้เกิดระบบห้องสมุดแบบดิจิทลั (Digital Library) การเรี ยน
การสอนทางไกล (Distance Learning) การสร้างห้องเรี ยนเสมือนจริ ง (Virtual Classroom) และการเรี ยน
การสอนแบบกระจาย อันส่ งผลให้เกิดการเรี ยนรู ้อย่างกว้างขวาง

- ธุรกิจ โดยเฉพาะธุ รกิ จรู ปแบบใหม่ที่เรี ยกว่า E-Commerce อันจะช่วยให้การนาเสนอ


สิ นค้า มีความน่าสนใจมากกว่าเดิม

- การสื่ อสารโทรคมนาคม เนื่องด้วยเทคโนโลยีมลั ติมีเดีย ต้องอาศัยสื่ อเพื่อเผยแพร่ ขอ้ มูล


ดังนั้นเทคโนโลยีน้ ี จึ งมี ความสัมพันธ์ กบั ระบบการสื่ อสารโทรคมนาคม อย่างแยกกันได้ยากมาก
- ธุรกิจการพิมพ์ นับเป็ นอีกหนึ่ งธุ รกิจที่สัมพันธ์กบั เทคโนโลยีมลั ติมีเดีย อันจะส่ งผลให้
หนังสื อ สิ่ งพิมพ์ต่างๆ มีความน่าสนใจมากขึ้น และปั จจุบนั ก็มี E-Magazine หรื อ E-Book ออกมาอย่าง
แพร่ หลาย

- ธุรกิจการให้ บริการข้ อมูลข่ าวสาร เมื่อมีการนาเทคโนโลยีมลั ติมีเดียมาช่วย จะทาให้ขอ้ มูล


ข่าวสารที่เผยแพร่ ออกไป มีความน่าสนใจมากกว่าเดิม

- ธุรกิจโฆษณา และการตลาด แน่นอนว่ามีความสัมพันธ์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ อันจะช่วย


ดึงดูดคนเข้ามาชม ด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่มีความแปลกใหม่

- การแพทย์ และสาธารณสุ ข ปั จจุบนั มีการสร้างสื่ อเรี ยนรู ้ดา้ นการแพทย์ ช่วยให้ประชาชน


ทัว่ ไป มีความสนใจศึกษา เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแล รักษาสุ ขภาพตนเอง

- นันทนาการ นับเป็ นบทบาทที่สาคัญมาก ทั้งในรู ปของเกม การเรี ยนรู ้ และ VR เป็ นต้น

You might also like