You are on page 1of 44

บทที่ 6 6.

1 บทนํา
การตอลงดิน „ การตอลงดิน ( Grounding หรือ Earthing ) เปนขอกําหนดที่สําคัญมาก
ที่สุดอยางหนึ่ง
„ NEC Article 250 “ Grounding ”
„ IEC 364-5-54 “ Earthing Arrangement and Protective
Conductors ”
„ ว.ส.ท. บทที่ 4 “ การตอลงดิน ”

1 2
RMUTL RMUTL

การตอลงดิน มีประโยชนอยู 2 ประการ คือ


1. เพื่อปองกันอันตราย ที่จะเกิดกับบุคคลทีบ่ ังเอิญไปสัมผัสกับสวนที่เปน
ตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟา
โลหะ ของเครื่องบริภัณฑไฟฟา และสวนประกอบอื่นๆ ทีม่ แี รงดันไฟฟา สําหรับประเภทไทย พ.ศ. 2545
เนื่องจากการรัว่ ไหล หรือ การเหนี่ยวนําทางไฟฟา
2. เพื่อปองกันความเสียหายที่จะเกิดกับอุปกรณ หรือ ระบบไฟฟาเมือ่ เกิดการ
ลัดวงจรลง
กฟภ. ประกาศบังคับใหผูใชไฟ ติดตั้งระบบ
สายดิน ตั้งแต 1 ต.ค. 2546 เปนตนไป

3
RMUTL RMUTL
1. ในเขตเทศบาล สําหรับผูใชไฟรายใหมทุกประเภท
ทุกขนาดมิเตอร ตองมีระบบสายดินและการตอลงดิน
2. นอกเขตเทศบาล , เขตชนบท สําหรับผูใชไฟราย
ใหมทุกประเภท กรณี ติดตั้งมิเตอรไมเกิน 5(15)
แอมป จะมีระบบสายดินหรือไมก็ได
3. สําหรับผูใชไฟรายเดิม ขอเพิ่มขนาดมิเตอร ใหทาํ
การตอสายดินที่แผงเมนสวิตซ เทานั้น ไมตองทํา
ระบบสายดินใหม
RMUTL RMUTL

RMUTL RMUTL
RMUTL RMUTL

(ภาวะไมปกติ)

RMUTL RMUTL
6.2 ชนิดการตอลงดินและสวนประกอบตางๆ
การตอลงดินสามารถแบงออกไดเปน 2 ชนิด คือ
1. การตอลงดินของระบบไฟฟา ( System Grounding )
2. การตอลงดินของบริภัณฑไฟฟา ( Equipment Grounding )
การตอลงดินของระบบไฟฟา
หมายถึง การตอสวนใดสวนหนึ่งของระบบไฟฟาทีม่ กี ระแสไหลผานลงดิน
เชน การตอจุดนิวทรัล ( Neutral Point ) ลงดิน
การตอลงดินของบริภัณฑไฟฟา
หมายถึง การตอสวนที่เปนโลหะ ทีไ่ มมกี ระแสไหลผานของอุปกรณตางๆ
ลงดิน

14
RMUTL RMUTL

การตอลงดินมีสวนประกอบที่สาํ คัญ คือ


1.หลักดิน หรือ ระบบหลักดิน ( Grounding Electrode
1. หลักดิน หรือ ระบบหลักดิน ( Grounding Electrode or Grounding
Electrode System ) or Grounding Electrode System )
2. สายตอหลักดิน ( Grounding Electrode Conductor )
3. สายทีม่ กี ารตอลงดิน ( Grounded Conductor )
4. สายตอฝากหลัก ( Main Bonding Jumper )
5. สายดินของบริภัณฑไฟฟา ( Equipment Grounding Conductor )

15 16
RMUTL RMUTL
4.สายตอฝากหลัก ( Main Bonding Jumper )
2.สายตอหลักดิน ( Grounding Electrode Conductor )

17 18
RMUTL RMUTL

1.หลักดิน
สายตอฝาก 3 2.สายตอหลักดิน
3.สายทีม่ ีการตอลงดิน
2 4.สายตอฝากหลัก
1 5.สายดินของบริภัณฑไฟฟา
4

5 1

อุปกรณไฟฟา อุปกรณปอ งกัน


กระแสรัว่ ลงดิน

รูปที่ 6.1 สวนประกอบตางๆ ของระบบการตอลงดิน


20
RMUTL RMUTL
กรณีไมมีสายดินตอที่อุปกรณ
กรณีไมมีสายดินตอที่อุปกรณ ?
คนไมปลอดภัย
G
กรณีมีการตอหลักดินที่อุปกรณ ? อุปกรณปองกันอาจไมทาํ งาน
N

กรณีใชสายนิวทรัลเปนสายดิน?

กรณีมีสายดินแตไมมีการตอถึงกันกับนิวทรัล ?

กรณีมีสายดินและมีการตอถึงกันกับนิวทรัล ?
RMUTL RMUTL

กรณีมีการตอหลักดินที่อุปกรณ กรณีใชสายนิวทรัลเปนสายดิน
อุปกรณปองกันอาจไมทาํ งาน คนไมปลอดภัยกรณีทํางานปกติ
G G

N N

RMUTL RMUTL
กรณีมีสายดินแตไมมีการตอถึงกันกับนิวทรัล กรณีมีสายดินและมีการตอถึงกันกับนิวทรัล
อุปกรณปองกันอาจไมทาํ งาน คนปลอดภัย
G G
อุปกรณปองกันทํางาน
N N

RMUTL RMUTL

LP2 LP2
N G N G

ไมมกี ารตอถึง ถามีการตอถึง


กันระหวาง กันระหวาง
LP1 LP1
N และ G N G N และ G N G

ตอระหวาง ตอระหวาง
N และ G MDB N และ G MDB
N G N G

RMUTL RMUTL
LP2 LP2 Load
ไมมกี ารตอถึง ถามีการตอถึง
กันระหวาง N กันระหวาง N
G G
N และ G N และ G
LP1 LP1
N G N G
ไมมกี ระแส มีกระแสไหล
ไหลในสาย G ในสาย G
MDB MDB
N G N G

RMUTL RMUTL

6.3 การตอลงดินของระบบไฟฟา
G บริภัณฑประธาน ( System Grounding )
N
จุดประสงคของการตอลงดินของระบบไฟฟามีดังตอไปนี้ คือ
หามตอลงดินที่จุด 1. เพื่อจํากัดแรงดันเกิน ( Over Voltage ) ที่สวนตางๆ ของระบบไฟฟา ซึ่งอาจ
อื่นอีกทางดานไฟ เกิดจากฟาผา ( Lightning ) เสิรจในสาย ( Line Surges ) หรือ สัมผัสกับ
ออกของบริภัณฑ สายแรงสูง ( H.V. Lines ) โดยบังเอิญ
N G ประธาน 2. เพื่อใหคาแรงดันเทียบกับดินขณะระบบทํางานปกติมีคา อยูตัว
3. เพื่อชวยใหอุปกรณปองกันกระแสเกินทํางานไดรวดเร็วขึ้น เมือ่ เกิดการ
สายตอหลักดินเปนทองแดง หุมฉนวน ลัดวงจรลงดิน
เสนเดียว ยาวตลอด ไมมีการตอ
หมอแปลงนอกอาคารตตองมีกอารต
งตอลงดิ
ลง นที่บริภัณฑ
ดินเพิ่มอีก 1 จุด ประธาน
32
RMUTL RMUTL
การตอลงดินของระบบไฟฟากระแสสลับ การตอลงดินของระบบไฟฟากระแสสลับที่มีระดับแรงดัน
( AC System Grounding ) ต่ํากวา 50 V ( NEC )
การตอลงดินของระบบไฟฟากระแสสลับแบงออกเปน 3 กลุม คือ „ ไมมีในมาตรฐาน ว.ส.ท.
1. ระบบซึ่งทํางานที่ระดับแรงดันต่ํากวา 50 V „ แตมีใน มาตรฐาน NEC

2. ระบบซึ่งทํางานที่ระดับแรงดันตั้งแต 50 - 1000 V ระดับแรงดันต่าํ กวา 50 V จะตองทําการตอลงดินเมื่อ


3. ระบบซึ่งทํางานที่ระดับแรงดันตั้งแต 1 kV ขึ้นไป - แรงดันที่ไดรับไฟจากหมอแปลง ซึ่งมีแหลงจายไฟแรงดันเกิน 150 V
- หมอแปลงไดรับจากไฟแหลงจายไฟ ที่ไมมีการตอลงดิน (
Ungrounded System )
- ตัวนําแรงดันต่าํ ติดตั้งแบบสายเหนือดินนอกอาคาร

33 34
RMUTL RMUTL

ระบบ 1 เฟส 2 สาย ระบบ 1 เฟส 3 สาย


การตอลงดินของระบบไฟฟากระแสสลับทีม่ ีระดับแรงดันตั้งแต H H1

50 -1000 V
N N
สายทีม่ ีการตอลงดิน
สายที่มีการตอลงดิน H2
การตอลงดินของระบบไฟฟาแบบนี้ มีลกั ษณะดังรูป 6.2 ซึ่งเปน
ตัวอยางการตอลงดินของระบบไฟฟา ชนิด 1 เฟส 2 สาย , 1 เฟส 3 ระบบ 3 เฟส 4 สาย และตัวนํานิวทรัลเปนสายวงจรดวย
A
สาย , 3 เฟส 3 สาย และ 3 เฟส 4 สาย สายที่มีการตอลงดิน
B
N
C
ระบบ 3 เฟส 4 สาย
และจุดกึ่งกลางของเฟสใดเฟสหนึ่งเปนสายวงจร ระบบ 3 เฟส 3 สาย
A A

B C
N
สายที่มีการ
C ตอลงดิน B
สายที่มีการตอลงดิน

รูปที่ 6.2 การตอลงดินของระบบไฟฟากระแสสลับที่มีระดับแรงดันตัง้ แต 50 V-1 kV


35 36
RMUTL RMUTL
การตอลงดินของระบบไฟฟากระแสสลับทีม่ ีระดับแรงดันตั้งแต 1 kV ขึ้นไป
สําหรับระบบไฟฟาทีม่ แี รงดันตั้งแต 1 kV ขึ้นไป ซึ่งจายไฟใหกับบริภณ
ั ฑ
บริภัณฑไฟฟาที่เคลือ่ นยายได ( Mobile Portable Equipment ) ซึ่งไดรับ
ทัว่ ไป อาจตอลงดินไดตามตองการ ดังแสดงในรูปที่ 6.4
ไฟฟาจากระบบไฟฟา ทีม่ แี รงดัน ตัง้ แต 1 kV ขึ้นไป ตองตอลงดิน ดังแสดงใน
รูปที่ 6.3 แหลงจายไฟฟา
อาจมีการตอลงดินหรือไมก็ได

แหลงจายไฟฟา 6600 V
3300 V
จะตองมีการตอลงดิน

บริภัณฑไฟฟาที่เคลื่อนทีไ่ ด บริภณ
ั ฑไฟฟาทั่วไป

รูปที่ 6.4 การตอลงดินของบริภัณฑไฟฟาทั่วไปซึง่ รับไฟฟาจากระบบไฟฟาแรงสูง


รูปที่ 6.3 การตอลงดินของบริภัณฑไฟฟาที่เคลื่อนยายได ซึ่งรับไฟฟาจากระบบไฟฟาแรงสูง
37 38
RMUTL RMUTL

สายตอหลักดิน ( Grounding Electrode Conductor ) สายที่มกี ารตอลงดิน (สายนิวทรัล)

สายตอหลักดิน หมายถึง ตัวนําที่ใชตอระหวางหลักดินกับสวนทั้งสาม สายตอฝาก


ตอไปนี้ คือ
1. สายที่มีการตอลงดิน ( Grounded Conductor ) บริภณ
ั ฑประธาน
2. สายดินของบริภัณฑไฟฟา ( Equipment Grounding Conductor )
สายนิวทรัล สายตอหลักดิน
3. สายตอฝากที่บริภัณฑประธาน ( Main Bonding Jumper )
สายดินของบริภณ
ั ฑไฟฟา
หลักดิน

จายโหลด
รูปที่ 6.5 สายตอหลักดิน
39 40
RMUTL RMUTL
ชนิดของสายตอหลักดิน การติดตั้งและปองกัน ( NEC )
มีคุณสมบัติดังนี้ มีการปองกันทางกายภาพดังนี้
- เปนตัวนําทองแดง ตัวนําเดี่ยว หรือตีเกลียวหุมฉนวน - ถาสายตอหลักดินไมไดเดินในสิ่งหอหุม จะตองเดินสายใหยึด
- ตองมีฉนวนหุม ติดกับพื้นผิว
- ตองเปนสายเสนเดียวยาวตอเนื่องตลอด ไมมีการตัดตอ แตถา - ถาสายตอหลักดินเดินในสิ่งหอหุม จะตองยึดสิ่งหอหุมนั้นติด
เปนบัสบารอนุญาตใหมีการตอได กับพื้นผิว
- ทอสายที่ใชสําหรับปองกันทางกายภาพไดแก ทอ RMC , IMC
, PVC , EMT หรือเกราะสายเคเบิล

41 42
RMUTL RMUTL

การปองกันสายดินจากสนามแมเหล็ก
เมื่อใชสิ่งหอหุมสายตอหลักดินแลว เพื่อปองกันสายดินจากสนามแมเหล็กตอง
คํานึงถึง
- ตองมีความตอเนื่องทางไฟฟาจากบริภัณฑไฟฟาไปยัง หลักดิน บริภณ
ั ฑ
ประธาน ทอสายโลหะ
- สิ่งหอหุมตองยึดติดกับระบบหลักดิน ดังแสดงในรูปที่ 6.6
- ถาสายตอหลักดินไมไดมีสิ่งหอหุมตลอดความยาว ปลายทั้งสองของสิง่
หอหุมจะตองตอเชื่อมเขากับสายตอ หลักดิน ทั้งนี้เพื่อปองกันการเกิด สายตอหลักดิน
ความรอนมากเกินไปขณะเกิด การลัดวงจรลงดิน
หลักดิน

รูปที่ 6.6 การตอทอสาย ( Raceway ) และสายตอหลักดินเขากับหลักดิน

43 44
RMUTL RMUTL
การตอสายตอหลักดินเขากับหลักดิน Steel Cover
สายตอหลักดินจะตองไมมกี ารตัดตอใดๆ ทัง้ สิ้น โดยทั่วไปการตอสายตอ
หลักดินเขากับหลักดินนั้น จะตองเปน การตอที่เขาถึงได และเปนการตอลงดินที่
ใชไดผลดี แตถาระบบ หลักดินเปนแบบฝงใตดิน การตอก็ไมจาํ เปนตองเปนแบบ
เขาถึง ไดเชน ระบบหลักดินทีต่ อกลึกเขาไปในดิน และระบบหลักดิน ทีฝ่ งตัวอยู
ในคอนกรีต เปนตน เพื่อการวัดความตานทานดิน และบํารุงรักษา ควรตอหลัก
ดินเขากับ Grounding Pit
Copper Ground Rod
Steel Reinforcement

รูปที่ 6.7 Grounding Pit

45 46
RMUTL RMUTL

การตอสายตอหลักดินเขากับหลักดินอาจทําไดโดย
- การเชื่อมติดดวยความรอน ( Exothermic Welding )
- หูสาย , หัวตอแบบบีบอัด
- ประกับตอสาย
- สิ่งอื่นที่ระบุใหใชเพื่อการนี้
- หามตอโดยใชการบัดกรีเปนหลัก
การตอสายตอหลักดินเขากับหลักดิน วิธที ี่ดีที่สุด คือ วิธี Exothermic
Welding

48
RMUTL RMUTL
Lid

Starting Powder
Graphite Mould
Weld Metal Powder
Steel disc
Tap Hole
Weld Cavity

Cable
Earth Rod

รูปที่ 6.8 Exothermic Welding

49
RMUTL RMUTL

51 52
RMUTL RMUTL
ชนิดของสายตอหลักดิน ขนาดสายตอหลักดินของระบบไฟฟากระแสสลับ
สายตอหลักดินตองมีคุณสมบัติดังนี้ การเลือกขนาดสายตอหลักดินสําหรับระบบไฟฟา กระแสสลับ จะใชตาม
- เปนตัวนําทองแดงเดี่ยวหรือตีเกลียว ตารางที่ 6.1 เปนเกณฑ โดยเลือกตาม ขนาดสายประธานของระบบ สาย
ประธานของแตละเฟสที่ตอ ขนานกันใหคิดขนาดรวมกัน แลวนํามาหาขนาดสาย
- ตองหุมฉนวน
ตอหลักดิน
- ตองเปนสายเดียวยาวตลอด ไมมีการตัดตอ แตถาเปนบัสบารอนุญาตให
มีการตอได

53 54
RMUTL RMUTL

ตารางที่ 6.1 ขนาดต่ําสุดของสายตอหลักดินของระบบไฟฟากระแสสลับ ตารางที่ 6.1


ขนาดสายประธานเขาอาคาร ขนาดสายตอหลักดิน
ขนาดตัวนําประธาน ขนาดต่ําสุดของสายตอหลักดิน (ตัวนําทองแดง) ตร.มม. (ตัวนําทองแดง) ตร.มม.
( ตัวนําทองแดง ) ( mm2 ) ( ตัวนําทองแดง ) ( mm2 ) ไมเกิน 35 10
ไมเกิน 35 10 ( หมายเหตุ ) เกิน 35 แตไมเกิน 50 16
เกิน 35 แตไมเกิน 50 16 บริภัณฑประธาน
” 50 ” 95 25 เกิน 50 แตไมเกิน 95 25
” 95 ” 185 35 เกิน 95 แตไมเกิน 185 35
” 185 ” 300 50 เกิน 185 แตไมเกิน 300 50
” 300 ” 500 70
เกิน 500 95 เกิน 300 แตไมเกิน 500 70
ไมเกิน 500 95
N G
หมายเหตุ แนะนําใหติดตั้งในทอโลหะหนา ทอโลหะหนาปานกลาง
ทอโลหะบาง หรือ ทออโลหะ

55
RMUTL RMUTL
ตัวอยางที่ 6.1 บานหลังหนึ่งใชไฟฟามิเตอร 15 ( 45 ) A 1 เฟส 2 สาย ใชสายไฟ ตัวอยางที่ 6.2 สถานประกอบการแหงหนึ่ง ใชไฟฟามิเตอร 400 A 3 เฟส 4 สาย
ขนาด 2 x 16 mm2 ตาราง 4 ใชสายไฟตารางที่ 4 ขนาด 2 ( 4 x 150 mm2 ) ในทอขนาดกลาง ( IMC )
สายตอหลักดินจะใชขนาดเทาใด 2 x 80 mm ( 3” ) สายตอหลักดินจะใชขนาดเทาใด
วิธที าํ วิธที าํ
จากตารางที่ 6.1 สายเฟสใชขนาด 2 x 150 = 300 mm2
สายเมนขนาด 16 mm2 จากตารางที่ 6.1 สายประธานขนาด 300-500 mm2
ใชสายตอหลักดินขนาด 10 mm2 ใชสายตอหลักดินขนาด 50 mm2

57 58
RMUTL RMUTL

ตัวอยางที่ 6.3 สถานประกอบการใชหมอแปลงขนาด 1000 kVA


สายทีม่ ีการตอลงดิน ( Grounded Conductor )
22 kV/400-230 V 3 เฟส 4 สาย ทางดานแรงดันต่ํา จะตองใชสายตอหลักดินขนาดเทาใด
วิธีทํา คือ สายของวงจรไฟฟาทีม่ สี วนหนึ่งสวนใดตอถึงดินอยาง จงใจ ในกรณีที่
หมอแปลง 1000 kVA เกิดกระแสลัดวงจรลงดินสายทีม่ ีการตอลงดิน จะทําหนาที่เปนสายดินของ
แรงดันดานแรงต่ํา 400/230V อุปกรณดวย เพื่อนํากระแสลัด วงจรกลับไปยังแหลงจายไฟ ในระบบไฟฟา
กระแสพิกัด = 1000×103 = 1443 A โดยทั่วไป สายทีม่ ี การตอลงดินคือ สายนิวทรัล แตไมจําเปนตองเปนสายนิวทรัล
3 ×400
IC ≥ 1.25 x 1443 = 1804 A เสมอไป ดังแสดงในรูปที่ 6.9
ใชสายตามตาราง 4 เดินบนรางเคเบิล
6 ( 3 x 240, 1 x 120 mm2 )
ขนาดสายเฟสรวม 6 x 240 = 1440 mm2
จากตาราง 6.1 ขนาดสายประธานเกิน 500 mm2
ใชสายตอหลักดินขนาด 95 mm2

59 60
RMUTL RMUTL
สายที่มีการตอลงดิน (สายนิวทรัล) สําหรับระบบไฟฟากระแสสลับทีม่ แี รงดันกวา 1 kV และ เปนระบบทีม่ กี าร
สายตอฝาก
ตอลงดิน จะตองเดินสายทีม่ กี ารตอลงดินจากหมอแปลงมายังบริภัณฑ ประธาน
เสมอ ดังแสดงในรูปที่ 6.10

บริภณ
ั ฑประธาน

สายนิวทรัล สายตอหลักดิน

สายตอลงดิน
บริภัณฑไฟฟา
หลักดิน

บริภัณฑประธาน
จายโหลด

จายโหลด
รูปที่ 6.9 สายที่มีการตอลงดิน ( สายนิวทรัล )

61
รูปที่ 6.10 หมอแปลงที่มีการตอลงดินตองเดินสายที่มีการตอลงดินมายังบริภัณฑประธานดวย 62
RMUTL RMUTL

ขนาดสายที่มีการตอลงดิน ตัวอยางที่ 6.4 จงหาขนาดสายที่มกี ารตอลงดิน ที่ไมไดใชเปนสายวงจรในระบบไฟฟา 3 เฟส


โดยแตละเฟสใชสาย 500 mm2 1 เสน
สายทีม่ กี ารตอลงดินที่เดินจากหมอแปลงจายมายังบริภัณฑ ประธานตองมีขนาด วิธีทํา จากตารางที่ 6.1 กรณีขนาดสาย 300-500 mm2 ใชสาย 70 mm2 ดังรูป
ดังนี้
1. ถาสายที่มีการตอลงดินใชเปนสายดินอยางเดียว ไมไดใชเปนสายของวงจร
( สายนิวทรัล ) ใหคิดขนาดสายตามตารางที่ 6.1 และ ถาขนาดสายประธาน
ของแตละเฟสรวมกันมากกวา 500 mm2 สายที่มกี ารตอลงดินใหใช 12.5%
ของสายประธาน สายที่มีการตอลงดิน
70 mm 2
2. ถาสายที่มีการตอลงดินนี้ใชเปนสายของวงจร ( สายนิวทรัล ) ใหคิดขนาดสาย
ตามวิธกี ารเลือกสายนิวทรัล ขนาดสายที่มีการตอลงดิน และ บริภัณฑประธาน

เดินมายังบริภัณฑประธาน
แตไมไดใชเปนสายของวงจร โหลด 3 เฟส

63 64
RMUTL RMUTL
ตัวอยางที่ 6.5 จงหาขนาดสายทีม่ ีการตอลงดิน ที่ไมไดใชเปนสาย
วงจรในระบบ 3 เฟส โดยแตละเฟสใชสาย 500 mm2 3 เสน
วิธที าํ
เนื่องจากแตละเฟส ใชสาย 500 mm2 3 เสน สายที่มีการตอลงดิน
240 mm 2
ขนาดสายรวม = 3 x 500 = 1500 mm2

ขนาดสายมีขนาดใหญกวา 500 mm2
ขนาดสายทีม่ กี ารตอลงดิน = 0.125 x 1500 บริภัณฑประธาน

= 187.5
ใชสายขนาด 240 mm2
∴ โหลด 3 เฟส
การใชสายขนาด 12.5% ของสายประธานเปนสายทีม่ ีการตอลงดิน
เมื่อสายทีม่ ีการตอลงดินไมไดใชเปนสายของวงจร
65 66
RMUTL RMUTL

การหาขนาดสายที่มีการตอลงดินที่ใชเปนสายวงจร 6.4 การตอลงดินของบริภณ


ั ฑประธาน
ในระบบไฟฟา 3 เฟส 4 สาย ( Service Equipment Grounding )
„ คือ สายนิวทรัลนัน่ เอง „ หมายถึง การตอสิ่งหอหุมโลหะตางๆ และ สายนิวทรัลที่
„ โดยตองทําตามขอกําหนดสายนิวทรัล
บริภัณฑประธานลงดิน
สําหรับสายนิวทรัลของหมอแปลง „ บริภัณฑประธานจะเปนจุดตอรวมของสายดินดังตอไปนี้
„ โดยทั่วไปใชขนาดประมาณ 50% ของสายเฟส
1. สายดินของบริภัณฑไฟฟา ( Equipment Grounding
„ จากตัวอยางที่ 6.3 หมอแปลง 1000 kVA LV 400/230 V 3 เฟส 4 สาย ใชสาย
Conductors )
6( 3 x 240 , 1 x 120 mm2 )
2. สายทีม่ กี ารตอลงดิน ( Grounded Conductors )
∴ สายทีม่ กี ารตอลงดินคือสายนิวทรัลขนาด 6( 1 x 120 mm2 )
3. สายตอฝากหลัก ( Main Bonding Jumper )
4. สายตอหลักดิน ( Grounding Electrode Conductors )

67 68
RMUTL RMUTL
การตอลงดินของบริภัณฑประธาน จะตองกระทําทางดานไฟเขาเสมอ สถานประกอบการที่รบั ไฟฟาผานหมอแปลงที่ติดตั้งนอกอาคาร จะตองมีการ
( Supply Side ) ดังแสดงในรูปที่ 6.11 ตอลงดิน 2 จุด คือ ที่ใกลหมอแปลงหนึ่งจุด และที่บริภัณฑประธานอีกหนึ่งจุด
สายที่มีการตอลงดิน (สายนิวทรัล)
จะตองมีการตอลงดิน
ที่บริภัณฑประธานอีกหนึ่งจุด
สายตอฝาก

บริภัณฑประธาน

สายนิวทรัล สายตอหลักดิน
บริภัณฑประธาน
สายดินของบริภณ
ั ฑไฟฟา
หลักดิน

การตอลงดินทีห่ มอแปลง กําแพงของอาคาร


จายโหลด
รูปที่ 6.12 การตอลงดินที่หมอแปลงนอกอาคารและที่บริภัณฑประธาน
รูปที่ 6.11 แสดงสายตางๆ ที่บริภัณฑประธาน
69 70
RMUTL RMUTL

การตอฝากหลัก ( Main Bonding Jumper ) สายตอฝากหลัก


การตอฝากหลัก ( Main Bonding Jumper ) ซึ่งหมายถึง - สายตอฝากจะตองเปนตัวนําทองแดง
- การตอโครงโลหะของบริภัณฑประธานกับตัวนําทีม่ กี าร ตอลงดิน

สายทีม่ ีการตอลงดิน (สายนิวทรัล)


การตอสายฝากหลัก
การตอสายฝากหลักอาจทําไดโดย
โครงโลหะ
- การเชื่อมดวยความรอน ( Exothermic Welding )
การตอฝากหลัก - หัวตอแบบบีบ
- ประกับจับสาย
บัสบารสายนิวทรัล
- วิธีอื่นที่ไดรับการรับรองแลว
- หามตอโดยการใชตะกั่วบัดกรีเพียงอยางเดียว
รูปที่ 6.13 ความหมายของการตอฝากหลัก
71 72
RMUTL RMUTL
ตัวอยางที่ 6.6 จงหาขนาดสายตอฝากหลัก ในระบบไฟฟา 3 เฟส โดยแตละ เฟสใชสายตัว ตัวอยางที่ 6.7 จงหาขนาดสายตอฝากหลัก ในระบบไฟฟา 3 เฟส โดยแตละเฟสใชสายตัวนําทองแดง
นําทองแดงขนาด 500 mm 1 เสน
2 ขนาด 400 mm2 จํานวน 2 เสน
วิธีทํา จากตารางที่ 6.1 กรณี 300-500 mm2 ใชสายตอฝากหลัก ขนาด 70 mm2 วิธีทํา
ขนาดสายเฟสรวม = 2 x 400 = 800 mm2
เนื่องจากขนาดสายเฟสรวมมีขนาดใหญกวา 500 mm2
ตัวนําทองแดง 4 เสน 500 mm 2 ขนาดสายตอฝากหลัก = 0.125 x 800 = 100 mm2
∴ ใชสายตอฝากหลัก 120 mm2

ตัวนําทองแดง 2 ( 4x400 mm2 )

สายตอฝากหลัก 70 mm2
สายตอฝากหลัก 120 mm2
73 74
RMUTL RMUTL

การตอลงดินของวงจรทีม่ บี ริภัณฑประธานชุดเดียวจายไฟใหอาคาร การตอลงดินของสถานประกอบการแบบนี้ มีขอกําหนดดังนี้


2 หลังหรือมากกวา คือ
แหลงจายไฟฟา
- อาคารประธาน ( อาคารหลังที่ 1 ) การตอลงดินใหเปนไปตามขอกําหนดของการ
ตอลงดินที่บริภัณฑประธาน
สายประธาน

- อาคารหลังอื่น จะตองมีหลักดินเปนของตนเอง และมีการตอลงดินเชนเดียวกับ


สายปอน
อาคารหลังที่ 1
อาคารหลังที่ 2 บริภัณฑประธาน คือ สายทีม่ กี ารตอลงดิน สายตอฝาก สายตอหลักดิน และ
โครงโลหะของบริภัณฑประธาน จะตองตอรวมกัน และตอเขากับหลักดิน
สายปอน
อาคารหลังที่ 3

สายปอน
อาคารหลังที่ 4

รูปที่ 6.14 การจายไฟฟาของอาคารประธานใหกับอาคารหลังอื่นๆ


75 76
RMUTL RMUTL
วงจรบริภัณฑประธานชุดเดียวจายใหอาคาร 2 หลังหรือมากกวา
แหลงจายไฟฟา สายนิวทรัล

ตัวนําประธาน

บริภัณฑประธาน บริภัณฑประธาน

หลักดิน
อาคารหลังที่ 2
N N N
อาคารหลังที่ 1

รูปที่ 6.15 อาคารแตละหลังตองมีหลักดินเปนของตัวเอง


อาคารที่ 1 อาคารที่ 2 อาคารที่ 3
77
RMUTL RMUTL

อาคารหลังอื่นมีวงจรยอยเพียงวงจรเดียว อนุญาตใหไมตองมีหลักดิน
กรณีที่เดินสายดินของเครื่องบริภัณฑไฟฟา ( Equipment Grounding
ได
Conductor ) ไปพรอมกับสายเฟสจากอาคารประธาน เพื่อการตอลงดินของสวน
โลหะของบริภัณฑไฟฟา ทอโลหะ และ สวนโครงสรางของอาคาร สายดินของ
ตัวนําประธาน เครื่องบริภัณฑไฟฟานีจ้ ะตองตอกับหลักดินทีม่ อี ยู (ถาไมมีหลักดินจะตอง
กลองอโลหะ สรางขึ้น) และจะตองเปนสายหุมฉนวนดวย นอกจากนี้สายนิวทรัลที่เดินมาจาก
อาคารประธานอนุญาตใหไมตองตอเขากับหลักดินที่อาคารหลังอื่นได

G N
C

อาคารที่ 1 ไมตองตอลงดิน
อาคารที่ 2
80
RMUTL RMUTL
สายดินของเครื่องบริภัณฑไฟฟา 6.5 การตอลงดินของระบบไฟฟาทีม่ ีตัวจายแยกตางหาก
สายนิวทรัล
จากอาคารหลังที่ 1
( Separately Derived System )
„ ระบบไฟฟาทีจ่ ายไฟโดย
บัสบารสายนิวทรัล
- เครื่องกําเนิดไฟฟา
อาคารหลังที่ 2
- หมอแปลงไฟฟา
บัสบารลงดินของเครื่องบริภัณฑไฟฟา
- ขดลวดคอนเวอรเตอร
สาย ดินของเครื่องบริภัณฑ ไฟฟา

ทอโลหะ บริภัณฑไฟฟา โครงสรางของอาคาร โครงโลหะ

รูปที่ 6.16 การเดินสายดินของเครื่องบริภณ


ั ฑไฟฟาจากอาคารประธานไปยังอาคารหลังอื่นๆ
81 82
RMUTL RMUTL

เครื่องกําเนิดไฟฟา
การตอลงดินของระบบไฟฟา
เมื่อมีหมอแปลงอยูนอกอาคาร

หมอแปลงไฟฟา สายแรงต่าํ
อาคาร
ตอสายนิวทรัล
ลงดิน แผงสวิตชแรงต่ํา
G
N
รูปที่ 6.17 ระบบไฟฟาที่มีตัวจายแยกตางหาก ตอหมอแปลง ตอระบบไฟฟาลงดิน
ลงดิน
83
RMUTL RMUTL
เครื่องกําเนิดไฟฟา จายโหลด

สวิตชสับเปลีย่ น

สายตอหลักดิน แหลงจายไฟปกติ

รูปที่ 6.18 ระบบไฟฟาที่มีเครื่องกําเนิดไฟฟาเปนตัวจายแยกตางหากพรอมสวิตชสับเปลี่ยน

รูปที่ 6.19 ระบบที่มีเครื่องกําเนิดไฟฟา พรอมสวิตชสับเปลี่ยน แตไมมีการตัดสายนิวทรัล


RMUTL 85
RMUTL ระบบนี้ไมใชระบบไฟฟาที่มีตัวจายแยกตางหาก 86

การตอลงดินของระบบไฟฟาที่มีตัวจายแยกตางหาก
ถึงแมจะไมใชระบบประธาน ( Service )
แตในทางปฎิบัติถือวาเปนระบบประธาน
ใหใชตามหลักการของบริภัณฑประธาน
สายตอฝากหลัก สายตอหลักดิน จะตอรวมกันเขากับหลักดิน
BREAK

87
RMUTL RMUTL
6.6 การตอลงดินของเครื่องบริภณ
ั ฑไฟฟา
เครื่องบริภัณฑไฟฟาที่ตองตอลงดิน
( Equipment Grounding )
ประเภทของบริภัณฑไฟฟาทีจ่ ะตองตอลงดินมีดังตอไปนี้
‰ การตอสวนที่เปนโลหะที่ไมมกี ระแสไหลผานของสถาน
ประกอบการใหถึงกันตลอด แลวตอลงดิน 1. เครื่องหอหุมที่เปนโลหะของ สายไฟฟา แผงบริภัณฑประธาน โครง และ
จุดประสงคดังนี้ คือ รางปน จั่นที่ใชไฟฟา โครงของตูลิฟต และลวดสลิงยกของที่ใชไฟฟา
1. เพื่อใหสวนโลหะที่ตอ ถึงกันตลอดมีศักดาไฟฟาเทากับดิน ทําใหปลอดภัย 2. สิ่งกัน้ ที่เปนโลหะรวมทั้งเครื่องหอหุมของเครื่อง บริภัณฑไฟฟาในระบบแรง
จากการโดนไฟดูด สูง
2. เพื่อใหอุปกรณปองกันกระแสเกินทํางานไดรวดเร็วขึ้น เมือ่ ตัวนําไฟฟาแตะ
เขากับสวนโลหะใดๆ เนื่องจากฉนวนของสายไฟฟาชํารุด หรือเกิดอุบัติเหตุ
3. เปนทางผานใหกระแสรั่วไหล และ กระแสเนื่องมาจากไฟฟาสถิตลงดิน

89 90
RMUTL RMUTL

3. เครื่องบริภัณฑไฟฟาที่ยึดติดอยูกับที่ ( Fixed Equipment ) และชนิดที่มีการเดินสาย


ถาวร ( Hard Wires ) สวนที่เปนโลหะเปดโลงซึ่งปกติไมมีไฟฟา แตอาจมีไฟฟารั่วถึงได
ตองตอลงดินถามีสภาพตามขอใดขอหนึ่งตอไปนี้
มาตรฐานกําหนดความ
- อยูหางจากพื้น หรือ โลหะที่ตอ ลงดินไมเกิน 8 ฟุต ( 2.40 m ) ในแนวตั้ง
หรือ 5 ฟุต ( 1.5 m ) ในแนวนอน และบุคคลอาจ สัมผัสได ( ในขอนี้ถา มีวิธี สูงไวเพื่อไมใหสัมผัสโดย
ติดตั้ง หรือวิธีการปองกันอยางอื่น ไมใหบุคคลไปสัมผัสได ก็ไมตองตอลงดิน )
ดังแสดงในรูปที่ 6.20
บังเอิญที่ระยะ 2.5 เมตร
- สัมผัสทางไฟฟากับโลหะอื่นๆ ( เปนโลหะที่บุคคลอาจสัมผัสได )
- อยูในสภาพที่เปยกชืน้ และ ไมไดมีการแยกใหอยูตางหาก
แตทคี่ วามสูงมากๆอาจ
ตองติดตั้งสายดินสําหรับ
กรณีที่โคมอยูสูงมากในทางปฏิบัติควรติดตัง้ สายดิน ชางซอมและเกิดไฟรั่ว

91
RMUTL RMUTL
บริภัณฑไฟฟา
ที่ยึดติดกับที่

2.40 m

บริภัณฑไฟฟา
1.5 m
ที่ยึดติดกับที่

รูปที่ 6.20 ระยะหางของเครื่องบริภัณฑไฟฟากับระบบหลักดิน


ถามีระยะหางมากกวานี้ไมตองตอลงดิน

93
RMUTL RMUTL

4. เครื่องบริภัณฑไฟฟาสําหรับยึดติดกับที่ตอไปนี้ ตองตอสวนที่เปนโลหะเปดโลง และ ปกติ


ไมมีกระแสไฟฟา ลงดิน
- โครงของแผงสวิตช
- โครงของมอเตอรชนิดยึดอยูกับที่
- กลองของเครื่องควบคุมมอเตอร ถาใชเปนสวิตชธรรมดา และ มีฉนวน
รองที่ฝาสวิตชดานในก็ไมตองตอลงดิน
- เครื่องบริภัณฑไฟฟาของลิฟต และ ปนจั่น
- ปายโฆษณา เครื่องฉายภาพยนต เครื่องสูบน้ํา

95
RMUTL RMUTL
5.เครื่องบริภัณฑไฟฟาที่ใชเตาเสียบสวนที่เปนโลหะเปดโลงของเครื่องบริภัณฑไฟฟา ตอง สายดินของบริภัณฑไฟฟา
ตอลงดินเมื่อมีสภาพตามขอใดขอหนึ่งดังนี้ ( Equipment Grounding Conductor )
„ แรงดันเทียบกับดินเกิน 150 V ยกเวนมีการปองกันอยางอื่น หรือ มีฉนวนอยางดี
„ ตัวนําทีใ่ ชตอสวนโลหะ ที่ไมนํากระแสของบริภัณฑ
„ เครื่องไฟฟาทั้งที่ใชในที่อยูอาศัย และ ที่อยูอื่นๆ ดังนี้

- ตูเย็น ตูแชแข็ง เครื่องปรับอากาศ


- เครื่องซักผา เครื่องอบผา เครื่องลางจาน เครื่องสูบน้ําทิ้ง
- เครื่องประมวลผลขอมูล เครื่องใชไฟฟาในตูเลี้ยงปลา
- เครื่องมือที่ทํางานดวยมอเตอร เชน สวานไฟฟา
- เครื่องตัดหญา เครื่องขัดถู
- เครื่องมือที่ใชในสถานที่เปยกชืน้ เปนพื้นดินหรือเปนโลหะ
- โคมไฟฟาชนิดหยิบยกได

รูปที่ 6.21 สายดินของบริภัณฑไฟฟา


97 98
RMUTL RMUTL

ทางเดินสูดินที่ใชไดผลดี ( Effective Grounding ) ชนิดของสายดินของบริภณ


ั ฑไฟฟา
การตอลงดินใหไดผลดีตองทําใหไดตามขอกําหนดดังตอไปนี้ คือ สายดินของบริภัณฑไฟฟา ที่เดินสายรวมไปกับสายของวงจรจะตองเปน
- ความตอเนื่อง ( Continuity ) สวนโลหะทั้งหมดจะตองตอ ดังนี้
ถึงกันตลอด - ตัวนําทองแดงจะหุมฉนวน หรือไมหุมฉนวนก็ได
- อิมพีแดนซต่ํา ( Low Impedance ) เพื่อใหกระแสไฟฟาไหล - เปลือกโลหะของสายเคเบิลชนิด AC , MI และ MC
ผานไดสะดวก
- บัสเวยที่ไดระบุใหใชแทนสายสําหรับตอลงดินได
- ทนตอกระแสคาสูงได ( Ampacity ) ขนาดพื้นที่หนาตัดจะ
ตองใหญพอ เพื่อใหทนตอกระแสสูงๆ ไดเมือ่ เกิดการลัด
วงจรขึ้น

99 100
RMUTL RMUTL
ตารางที่ 6.2 ขนาดต่ําสุดของสายดินของบริภัณฑไฟฟา
ขนาดสายดินของบริภัณฑไฟฟา พิกัดหรือขนาดปรับตั้งของ ขนาดต่ําสุดของสายดินของบริภัณฑ
ขนาดสายดินของบริภัณฑไฟฟา ทําตามขอตางๆ ตอไปนี้ ไฟฟา
เครื่องปองกันกระแสเกิน ไม ( ตัวนําทองแดง )
- เลือกขนาดสายดินตามขนาดของเครื่องปองกันกระแสเกิน ตามตารางที่ 6.2 เกิน
( mm2 )
- เมื่อเดินสายควบ ถามีสายดินของบริภัณฑไฟฟาใหเดินขนานกันไป ในแตละทอสาย (A)
16 1.5 *
และขนาดสายดินใหคิดตามพิกัดของเครื่องปองกัน กระแสเกิน 20 2.5 *
40 4*
- เมื่อมีวงจรมากกวาหนึ่งวงจรเดินในทอสายอาจใชสายดินของ บริภัณฑไฟฟารวมกันได 70 6*
และใหคํานวณขนาดสายดินตามพิกัดของ เครื่องปองกันกระแสเกินตัวโตที่สดุ 100
200
10
16
- ขนาดสายดินของมอเตอรใหเลือกตามพิกัดของเครื่องปองกัน เกินกําลังของมอเตอร 400 25
500 35
พิกัดของเครื่องปองกันเกินกําลัง = 1.15 In 800 50
1,000 70
โดยที่ In คือ พิกัดกระแสของมอเตอร 1,250 95
2,000 120
- สายดินของบริภัณฑไฟฟา ไมจําเปนตองโตกวาสายเฟส 2,500 185
4,000 240
6,000 400
หมายเหตุ :
- ขนาดต่ําสุดของสายดินของบริภณ ั ฑไฟฟาใชสาํ หรับที่อยูอ าศัย หรืออาคารของผูใชไฟที่อยูใ กลหมอแปลง
ระบบจําหนายภายในระยะ 100 m
- กรณีที่ผูใชไฟอยูหางจากหมอแปลงระบบจําหนายเกิน 100 m ใหดูภาคผนวก ฌ ของมาตรฐาน
RMUTL 101
RMUTL การติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทยของ ว.ส.ท. 102

ตัวอยางที่ 6.8 ระบบไฟฟาหนึ่งประกอบดวย บริภณ


ั ฑไฟฟา และ แผงจายไฟ ดังรูป วิธที าํ
จงหาขนาดสายดินของบริภัณฑไฟฟา ที่เดินจากบริภัณฑประธาน และ แผง จากตาราง 6.2 ใชขนาดสายดิน ดังนี้
จายไฟ บริภัณฑประธาน บริภัณฑประธานเครื่องปองกัน 300 A ขนาดสายดิน 25 mm2
เครื่องปองกัน 300 A แผงจายไฟ 1 เครื่องปองกัน 100 A ขนาดสายดิน 10 mm2
ใชสายดิน 25 mm2
แผงจายไฟ 2 เครื่องปองกัน 20 A ขนาดสายดิน 2.5 mm2
300
A

เครื่องปองกัน 100 A จะเห็นวาขนาดสาย Bonding Jumper ที่แผงจายไฟจะใชเทากับขนาดสายดิน


ใชสายดิน 10 mm 2 ของบริภัณฑไฟฟาที่จายมายังแผงจายไฟนั้นดวย
เครื่องปองกัน 20 A
ใชสายดิน 2.5 mm2

100 20
A A Load

103 104
RMUTL RMUTL
ตัวอยางที่ 6.9 บริภัณฑประธานมีเครื่องปองกันกระแสเกิน 500 A ตอกับวงจร ซึ่งประกอบดวยสายควบ 2 ชุด เดินใน ตัวอยางที่ 6.10 วงจรจายโหลด 4 วงจร ทีต่ อจากแผงจายไฟแหงหนึ่ง ตองการเดินใน
ทอรอยสายทอละ 1 ชุด ดังรูป จงหาขนาดสายดินของบริภัณฑไฟฟา
ทอสายรวมกัน โดยแตละวงจรมีเครือ่ งปองกันกระแสเกิน 20 A , 40 A , 15 A
และ 20 A ดังรูป จงหาขนาดสายดินของบริภัณฑไฟฟา ที่ใชรวมกันในทอสาย

สายดินของบริภัณฑไฟฟา 35 mm2
20 AMP
500 สายดินของบริภัณฑไฟฟา 4 mm2 โดย
AMP สายเฟส 40 AMP เลือกตามเครื่องปองกันใหญที่สุด 40 A

15 AMP
วิธีทํา 20 AMP
วงจรประกอบดวยสายควบ 2 ชุด เดินในทอรอยสายทอละ 1 ชุด ดังนั้นจะตองเดินสายดิน 2 เสน
ในแตละทอ โดยสายดินแตละเสนเลือกตามขนาดเครือ่ งปองกัน
จากตาราง 6.2 กรณีเครือ่ งปองกัน 500 A ใชขนาดสายดิน 35 mm2 วิธที าํ
ขนาดสายดินทีใ่ ชรวมกันจะตองเลือกตามเครื่องปองกันทีม่ ขี นาดใหญที่สุด คือ 40 A
จากตารางที่ 6.2 กรณีเครื่องปองกัน 40 A ใชสายดิน 4 mm2
105 106
RMUTL RMUTL

ตัวอยางที่ 6.11 มอเตอรเหนี่ยวนําขนาด 22 kW , 380 V ( 44 A ) , 3 เฟส 6.7 การตอลงดินของเครื่องคอมพิวเตอร


จงหาขนาดสายไฟตารางที่ 4 เดินในทอโลหะในอากาศ
วิธีทํา ( Computer Grounding )
IC 1.25 x In
≥ 1.25 x 44
„ การตอลงดินของเครื่องคอมพิวเตอร หรืออุปกรณ อิเล็กทรอนิกสเปน
≥ เรื่องสําคัญมาก เนือ่ งจากอุปกรณ เหลานีม้ คี วามไวตอสัญญาณรบกวน
≥ 55 A
( Noise )
สาย T-4 3 x 16 mm2 ( 56 A )
หาขนาดสายดิน „ ดังนั้นในการตอลงดินนอกจากจะตองคํานึงถึง
IL = 1.15 x In - ความปลอดภัย
- การลดสัญญาณรบกวน
= 50.6 A
สายดิน 6 mm2
สายวงจรมอเตอร 3 x 16 mm2

G-6 mm2
φ 32 mm ( 1 1/4” )
107 108
RMUTL RMUTL
การตอลงดินตองทํา 2 แบบ คือ
การตอลงดินของระบบการจายไฟ
1. การตอลงดินของระบบการจายไฟ ( Power
( Power Distribution Grounding )
Distribution Grounding )
„ สวนโลหะที่ไมมกี ระแสไหลผานของเครื่องคอมพิวเตอร จะตองตอลง
2. การตอลงดินความถี่สูง ( High Frequency
ดินเพื่อความปลอดภัยจากไฟฟาซอต และใหอุปกรณปองกันทํางานได
Grounding ) รวดเร็วขึ้นเมือ่ เกิดการ ลัดวงจรลงดิน

109 110
RMUTL RMUTL

การตอลงดินความถีส่ ูง (High Frequency Grounding ) วิธีการตอลงดินที่ถูกตองของเครื่องคอมพิวเตอร


„ สายดินของบริภัณฑไฟฟา จะมีความตานทานต่ําที่ 50 Hz
เครื่องคอมพิวเตอรจะตองตอลงดินตาม NEC 250 ซึ่งจะประกอบดวย
„ ที่ความถี่สูงจะทําใหมคี าอิมพีแดนซจะสูงเพราะการเหนี่ยวนํา
1. การตอลงดินของสายดินบริภัณฑไฟฟา
„ สัญญาณรบกวนอาจมีความถี่ 30 MHz
„ เพื่อลดสัญญาณรบกวนตองมีการตอลงดินความถี่สูง 2. การตอลงดินของระบบคอมพิวเตอร
„ วิธีหนึ่งทีท่ ําไดคือ Signal Reference Grid ซึ่งเปนตาขายสี่เหลี่ยม ขนาด
ประมาณ 600 x 600 mm ทําดวยตัวนําหรือ แผนทองแดง เชื่อมตอกัน
ตลอดทีจ่ ุดตัด นําไปวางใตเครื่องอุปกรณตางๆ ซึ่งสวนมากจะอยูใ ตพื้นยก
( Raised Floor )
„ อุปกรณตางๆ ของระบบคอมพิวเตอรควรตอเขากับ Signal Reference
Grid ดวยสายที่สั้นที่สุดเทาทีท่ าํ ได

111 112
RMUTL RMUTL
การตอลงดิน A
B โครงโลหะอุปกรณคอมพิวเตอร

‰ แบบหลายจุด ( Multiple Grounding ) ตามรูปที่ 6.22 ก จะใชไมไดเนื่องจากทําให C


เกิด Ground Loop และกระแสสามารถไหลวนได ซึ่งคือสัญญาณรบกวนนั่นเอง N

การตอลงดิน วิธที ี่ถูกตอง หลักดิน


(ก)
„ แบบเรเดียลเขาหาจุดกลาง ( Central Radial Grounding ) กลาวคือ A
อุปกรณทกุ ชิ้นจะมีสายดินของบริภัณฑไฟฟา ตอแยกกันไปยังบัสดินของ B โครงโลหะอุปกรณคอมพิวเตอร

คอมพิวเตอร ( Computer Ground Bus ) จุดนี้จะเปนการตอลงดินเพียง C


N
จุดเดียว ( Single Ground Point ) วิธนี ี้จะไมทาํ ใหเกิด Ground Loop ตาม
รูปที่ 6.22 ข หลักดิน
Signal Reference Grounding
(ข)

รูปที่ 6.22 การตอลงดินของเครื่องคอมพิวเตอร


113 114
RMUTL RMUTL

หลักดิน ( Grounding Electrode )


„ การตอลงดินเปนแบบแยก ( Isolated Ground System ) ตามรูปที่ 6.23 การที่ใชระบบ
การตอลงดินแบบแยก Isolated Ground System ในสภาพการทํางานตามปกติสามารถ
ลดสัญญาณรบกวนไดจริง เนื่องจากมันจะเพิ่มอิมพีแดนซในระบบ แตจากการวิเคราะห
อยางละเอียด และทดสอบภาคสนามพบวา ในสภาพอากาศฝนฟาคะนอง หรือเมื่ออาคาร
ถูกฟาผา จะมีแรงดันสูงมาก เหนี่ยวนําขึ้นที่สวนประกอบของเครื่อง คอมพิวเตอรซึ่งอาจ
ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานผิดพลาดและ เสียหายได ตามรูปที่ 6.24

116
RMUTL RMUTL
โครงโลหะอาคาร
6.8 ระบบหลักดิน ( Grounding Electrode System )
C C

C
สายดิน
C
ดิน ( Earth )
C = อุปกรณคอมพิวเตอร
„ เปนจุดอางอิง
มีการตอลงดินแบบแยก
„ รองรับกระแสตางๆ ทีร่ ั่วไหลลงดิน
รูปที่ 6.23 การตอลงดินแบบแยก „ เปนที่ตอ ของสวนที่เปนโลหะของสถานประกอบการตางๆ
ความจุไฟฟาระหวางโครงอาคาร กระแสฟาผา 10 kA
กับอุปกรณคอมพิวเตอร „ ศักดาไฟฟาเทากับดินคือเปนศูนย

10 kV C = อุปกรณคอมพิวเตอร

รูปที่ 6.24 แรงดันสูงเหนีย่ วนําที่สวนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร


117 118
RMUTL RMUTL

สภาพการนําไฟฟาของดิน (σ ) ในการศึกษาสภาพการนําไฟฟาของดินนั้น เราจะทําการ


ขึ้นอยูกบั องคประกอบตางๆ ดังตอไปนี้ „ ศึกษาความตานทานจําเพาะของดิน (ρ ) แทน

- สัดสวนของเกลือแรที่ละลายในดิน ( Saline Water ) โดยที่


- องคประกอบของดิน ( Compositions ) ρ = σ
1 …………………………….(6.1)
- ขนาดของอนุภาคดิน ( Size of Particles ) โดยที่
- ความหนาแนนของดิน ( Compactness ) ρ คือ ความตานทานจําเพาะของดิน ( Ω .m )
- อุณหภูมิ ( Temperature ) σ คือ สภาพการนําไฟฟาของดิน ( Mho/m )
- ความชืน้ ( Moisture ) ดินทีม่ คี วามตานทานจําเพาะต่ํา ( 10-100 Ω .m ) แสดงวามีสภาพการนํา
ไฟฟาดี
- เงื่อนไขของสภาพภูมิอากาศ ( Weather Conditions )

119 120
RMUTL RMUTL
หนาที่ของระบบหลักดิน
ตัวอยางความตานทานจําเพาะของดินชนิดตางๆ ดังแสดงในตาราง ระบบหลักดิน
„ ประกอบดวยหลักดินหลายแบบซึ่งตอถึงกัน ในสถานประกอบการหนึ่งๆ อาจมีหลักดิน
แบบเดียวหรือหลายแบบก็ได ถาหลักดินมีหลายแบบ จะตองตอหลักดินนั้นๆ ใหตอเนื่อง
ชนิดของดิน ความตานทานจําเพาะเฉลี่ย ถึงกันตลอดเปนระบบหลักดิน
( Ω.m ) ระบบหลักดินมีหนาที่ดังตอไปนี้
ดินผสมวัชพืชเปยก 10
1. ทําใหเกิดการตอถึงกันอยางดีระหวางดิน และสวนที่เปนโลหะที่ไมมีกระแสไหลผานของ
ดินชื้น 100 สถานประกอบการ เพื่อใหสวนโลหะเหลานี้มีศักดาไฟฟาเปนศูนย คือที่ระดับดิน
ดินแหง 1000
2. เพื่อใหเปนทางผานเขาสูด นิ อยางสะดวกสําหรับอิเล็กตรอน จํานวนมาก ในกรณีที่เกิด
ทราย 500 - 1000
ฟาผาหรือแรงดันเกิน
หินแข็ง 10000
3. เพื่อถายทอดกระแสรั่วไหล หรือ กระแสที่เกิดจากไฟฟาสถิตลงสูดนิ

121 122
RMUTL RMUTL

มักมีผูเขาใจผิดอยูเสมอวา ชนิดของหลักดิน
‰ หลักดินมีหนาที่ในการนํากระแสลัดวงจร เพื่อใหอุปกรณปองกันกระแส หลักดินอาจแบงเปน 2 กลุม คือ
เกินทํางาน
1. หลักดินที่มีอยูแลว ( Existing Electrode )
‰ แตในความเปนจริงแลวหลักดินไมอาจทําหนาทีน่ ี้ได เนื่องจากทางผาน
ระหวางหลักดินกับอุปกรณปองกันมี อิมพีแดนซสูง ทําใหกระแสไมเพียง 2. หลักดินที่ทําขึน้ ( Made Electrode )
พอที่จะทําให อุปกรณปองกันทํางาน

123 124
RMUTL RMUTL
หลักดินที่มีอยูแลว หลักดินที่ทําขึ้น
„ ทําขึน้ เพื่อจุดประสงคอยางอื่น ซึ่งไมใชเพื่อการตอลงดิน หลักดินทีม่ อี ยูแลว „ จัดหาและติดตั้งสําหรับงานระบบการตอลงดินโดยเฉพาะ
ประกอบดวย แตใชเปนหลักดินได เชน - แทงดิน ( Ground Rods )
- ทอโลหะใตดิน - หลักดินที่หุมดวยคอนกรีต ( Concrete Encased Electrode )
- โครงโลหะของอาคาร - แผนผัง ( Buried Plate )
- เสาเข็มหลัก - ระบบหลักดินแบบวงแหวน ( Ring )
- โครงสรางโลหะใตดิน - กริด ( Grid )

125 126
RMUTL RMUTL

ระบบหลักดินแบบตางๆ 2.หลักดินที่หุมดวยคอนกรีต ( Concrete Encased Electrode )


1.แทงดิน ( Ground Rod ) „ คอนกรีตที่อยูตา่ํ กวาระดับดินซึ่งมีความชื้นอยูรอบๆ จะเปนวัตถุตวั กึ่งนําไฟฟา (
Semi-Conducting Medium ) และมีความตานทานจําเพาะประมาณ 30 Ω .m
„ นิยมใชกันมากที่สุด
ที่ 20 oC ซึ่งเปนคาทีต่ ่ํากวาเกณฑเฉลี่ยของดิน
„ ราคาถูกและ ติดตั้งงาย
„ ตัวนําไฟฟาหรือแทงโลหะทีฝ่ งอยูในฐานรากคอนกรีต ( Concrete Foundation )
„ เสนผานศูนยกลางไมนอยกวา 5/8 นิว้ ( 16 mm ) ทีม่ ีเหล็กเสริม ( Reinforcing Bar ) เปนหลักดินที่ดี
„ ความยาวไมนอ ยกวา 2.4 m „ ใชเหล็กเสนทีฝ่ ง ลึกอยูในคอนกรีตไมนอยกวา 2 นิว้ ( 50 mm ) มีความยาวไม
„ การเพิ่มเสนผานศูนยกลางจะชวยลดความตานทานดินได เพียงเล็กนอย แต นอยกวา 20 ฟุต ( 6 m ) และมีเสนผานศูนยกลางไมเล็กกวา 12.7 mm
จะชวยเพิ่มความแข็งแรงทางกล
„ ทองแดงเปนโลหะที่ดีที่สุดสําหรับใชเปนแทงดิน
„ เพื่อใหความแข็งแรงทางกลดีขึ้น อาจใชเปนเหล็กหุมทองแดง ( Copper
Clad or Copper Encased Steel )
127 128
RMUTL RMUTL
3. แผนโลหะ ( Buried Plate )
„ ตองเปนชนิดกันการผุกรอน
„ มีพื้นผิวสัมผัสไมนอ ยกวา 0.18 m2
„ เหล็กอาบโลหะชนิดกันการผุกรอนตองหนาไมนอ ยกวา 6 mm
„ โลหะกันการผุกรอนชนิดอื่นที่ไมใชเหล็กหนาไมนอ ยกวา 1.5 mm
4.หลักดินแบบวงแหวน ( Ring )
„ ตัวนําทองแดงเปลือยยาวไมนอ ยกวา 20 ฟุต ( 6 m ) ขนาดไมเล็กกวา 35 mm2
มาขดเปนวงแหวน และฝงลึกใตดินไมนอ ยกวา
2.5 ฟุต ( 0.76 m ) ดังแสดงในรูปที่ 6.26

รูปที่ 6.25 การใชสายตัวนําหุมดวยคอนกรีตเปนระบบหลักดิน 129 130


RMUTL RMUTL

รูปที่ 6.26 การใชหลักดินแบบวงแหวนเปนระบบหลักดิน

131
RMUTL RMUTL
5. กริด ( Grid) การคํานวณความตานทานดิน
„ ใชกบั สถานีไฟฟายอย 1. หลักดินแบบแทงดินตามแนวลึก ( Deep Rod Earthing )
ความตานทานดินของแทงดินที่ฝงตามแนวลึกในเนื้อดินที่มีความสม่ําเสมอ จะคํานวณไดจากสูตร
„ ครอบคลุมไปทั่วสถานีไฟฟา อาจเลยรั่วออกไป
= ρ ⎢⎢ln ⎜⎜ 4rl ⎟⎟ −1⎥⎥
⎡ ⎛ ⎞ ⎤
R …………………………………. ( 6.2 )
„ ตัวนําฝงลึกประมาณ 0.5 ฟุต ( 0.15 m ) 2π l ⎢⎣ ⎜⎝ ⎟⎠ ⎥⎦
โดยที่
„ จัดเปนรูปตาขายสีเ่ หลี่ยมขนาด 10-12 ฟุต ( 3.0-3.7) R คือ ความตานทานดิน (Ω )
„ ใชหินกรวดโรยทั่วบริเวณ เพือ่ ลดแรงดันชวงกาว ( Step Voltage ) l คือ ความยาวของแทงดิน ( m )
r คือ รัศมีสมมูลของหลักดิน ( m )
ρ คือ ความตานทานเฉพาะของดิน (Ω -m )
In คือ Natural Logarithm

133 134
RMUTL RMUTL

ตัวอยางที่ 6.12 แทงดินมีรศั มี ( r ) 8 mm ยาว 3 m ตัวอยางที่ 6.12 (ตอ)


ρ = 100 Ω .m จงหาความตานทานของดิน จะเห็นไดวาการเพิ่มรัศมีเปน 2 เทา ซึ่งจะเพิ่มน้ําหนักเปน
วิธที าํ −29.8
4 เทา จะลดความตานทานลงเพียง 33.5 33.5 ×100 = 11.0%
l = 3000 mm ถาเพิ่มความยาวเปน 6 m
r = 8 mm
∴ R = 100 ⎡⎢ ln ⎛⎜ 4×6000 ⎞⎟ −1⎤⎥ = 18.6 Ω
= 100 ⎡⎢ ln ⎛⎜ 4 × 3000 ⎞⎟ − 1⎤⎥ = 33.5 Ω 2π ×6 ⎢⎣ ⎜ 8 ⎟ ⎥⎦
⎝ ⎠

R
2π × 3 ⎣ ⎝ 8 ⎠ ⎦
จะเห็นไดวาการเพิ่มความยาวเปน 2 เทา ซึ่งจะเพิ่มน้าํ หนักเปน 2 เทา สามารถลด
ถาเพิ่มรัศมีเปน 2 เทาคือ 16 mm ความตานทานลงได
⎡ ⎛ 4 × 3000 ⎞ ⎤ = 29.8 33.5 −18.6×100 = 44.5%
= 100 −1 Ω
2π × 3 ⎢⎣ ⎜⎝ 16 ⎟⎠ ⎥⎦
R ln

33.5

135 136
RMUTL RMUTL
ตัวอยางที่ 6.13 แทงดินรัศมี ( r ) 12 mm มีความยาว 3 m 2. หลักดินแบบวงแหวน
และถือวาดินมีความตานทานจําเพาะ 100 Ω.m สม่ําเสมอ หลักดินแบบวงแหวน โดยปกติจะฝงอยูใตดินลึก 0.5 m ดังแสดงในรูปที่ 6.27
จงหาความตานทานของดิน

วิธที าํ
l = 3000 mm
r = 12 mm
∴ R = 100 ln 4×3000 −1 =







⎥ 31.3 Ω
2π ×3 12 ⎢
⎣⎢
⎜⎜

⎟⎟


⎦⎥

รูปที่ 6.27 แทงดินตามแนวผิวดิน

137 138
RMUTL RMUTL

เนื่องจากหลักดินชนิดนี้ไดรับผลกระทบจากสภาพอากาศ อยางมาก ตัวอยางที่ 6.14 แทงดินรัศมี ( r ) 10 mm มีความยาว 20 m ฝงในผิวดินตาม


ดังนั้นเมือ่ ตองการวัดความตานทานดินของ หลักดิน จะคิดเสมือนวาหลักดิน แนวระดับ และถือวาดินมีความตานทาน จําเพาะ 100 Ω .m สม่าํ เสมอ จงหา
นี้ติดตั้งอยูทผี่ วิ ดิน คือ ไมคํานึงถึงระยะความลึกทีฝ่ งหลักดิน ซึ่งสามารถ ความตานทานของดิน
คํานวณ ความตานทานดินของระบบแบบนี้ไดจากสูตร วิธที าํ
l = 20000 mm.
R = ρ ln 2l −1











⎥ .………….. ( 6.3 )
πl r ⎢
⎣⎢







⎦⎥
r = 10 mm.
⎟ −1⎥ 11.6 Ω
⎡ ⎤
R = 100 ⎢⎢ln ⎛⎜⎜⎜ 40000 ⎞
=
∴ π ×20 ⎣⎢ ⎝10 ⎟
⎟ ⎥
⎠ ⎦⎥

139 140
RMUTL RMUTL
หลักดินตามมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟา การวัดความตานทานจําเพาะของดิน
สําหรับประเทศไทยของ ว.ส.ท. ( Measurement of Soil Resistivity )
หลักดินตามมาตรฐานของ ว.ส.ท. มี „ ใชวิธีของเวนเนอร ( Wenner ) โดยอาศัยหลักการการปรับเทียบแรงดันของ
1. แทงดิน ( Ground Rod ) Bridge Meter
2. แผนตัวนํา ( Buried Plate ) „ เครื่องวัดชนิดนี้เรียกวา " Earth Resistance Meter "
3. อาคารที่เปนโครงโลหะ และการตอลงดินอยางถูกตอง โดยมีคา ตานทาน „ ประกอบดวยขั้วออก 4 ขั้ว พรอมกับ
ของการตอลงดินไมเกิน 5 โอหม „ อิเล็กโตรดชวยอีก 4 ตัว อิเล็กโตรดจะถูกตอกลงดินในแนวดิ่งดวยระยะหาง " a "
4. หลักดินชนิดอื่นๆ ตองไดรับความเห็นชอบจากการไฟฟา เทาๆ กัน ลึกประมาณ 0.3-0.5 m
ρ = 2π a R ( Ω .m )

141 142
RMUTL RMUTL

ระยะหาง " a " เพิ่มขึ้น กระแสทดสอบจะไหลทะลุไปตามชั้นของ ดินที่ อยูลึกกวา การวัดความตานทานดินของหลักดิน


ดังนั้นคาความตานทานจําเพาะที่วัดได อาจจะเพิ่มขึ้นหรือ ลดลงก็ได ขึ้นอยูกับคาความ
ตานทานจําเพาะของดินของชั้นที่กระแสนั้น ไหลผาน ( Measurement of Earth Resistance )
„ เครื่องวัดความตานทานดินจะเปนชนิดเดียวกันกับเครื่องวัดความตานทานจําเพาะของดิน
„ ความถูกตองขึ้นอยูกับความสามารถในการไหลของกระแสทดสอบและ ลักษณะการวาง
Current Electrode
„ เมื่อทําการวัดในดินที่มีความตานทานจําเพาะสูง ( มากกวา 100 Ω.m ) ตองลดความตานทาน
ที่ Current Electrode ลง
„ เพื่อเพิ่มกระแสทดสอบ โดยการนํา Current Electrode หลายๆ ตัวมาตอขนานกัน
„ ทําใหดินบริเวณ Current Electrode เปยกชื้นขณะที่กําลังทําการวัดได เมื่อทําใหการไหลของ
กระแสทดสอบเปนไปดวยดีแลว เราก็สามารถอานคาความตานทานไดจากมิเตอรโดยตรง
รูปที่ 6.28 แสดงวิธีการวัดความตานทานจําเพาะของดิน โดยใช Earth Resistance Meter ใน
ดินที่ไมมีการแบงเปนชัน้ ความตานทานจําเพาะของดินจะไมขึ้นอยูกับระยะหาง
" a ” ดังนั้นถาตองการวัดที่ความลึก 1 ระยะหางระหวางโพรบ ( Probe )
ควรเปน a = 0.75L
143 144
RMUTL RMUTL
รูปที่ 6.29 แสดงตําแหนงการวาง Current Electrode และ Probe
เพื่อทําการวัดความตานทานดินของหลักดิน

145
RMUTL RMUTL

ขอพิจารณาในการวัดความตานทานดิน คาระยะหางทีใ่ หไวขางลางนี้ ตามปกติแลวจะใหผลการวัดที่ถูกตอง เปนที่


„ Current Electrode และ Probe ตองตอกในแนวดิ่งและอยูในแนวเดียวกันกับ ยอมรับได
Earth Electrode Earth Electrode - Current Electrode = a
„ ถาดินมีลักษณะการแบงเปนชั้น จะตองทําการวัดซ้ํา โดยเปลี่ยนระยะหางของ Earth Electrode - Probe = 0.6 a
Electrode แลวเลือกใชคาทีม่ ากกวา i) a ≥ 40 m ถา L ≤ 4 m
„ ความเชื่อถือไดของเครื่องมือวัดจะขึ้นอยูกบั ตําแหนงของ External Current
ii) a ≥ 10.1 m ถา L > 4m
Probe และ Probe
หรือ a ตองไมนอยกวา 40 m นัน่ เอง

147 148
RMUTL RMUTL
6.9 ความตานทานระหวางหลักดินกับดิน สายดินและการตอลงดิน
( Resistance to Ground )
„ มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทยของ ว.ส.ท. ไดกําหนดคาความ ความตานทานดิน
ตานทานของหลักดินตองไมเกิน 5 Ω
„ สําหรับพื้นทีท่ ยี่ ากในการปฏิบัติ ถาความตานทานของหลักดิน เกิน 5 Ω และ
ทางการไฟฟาเห็นชอบ อาจกําหนดใหมีคาไมเกิน
25 Ω ได คาความตานทานระหวางหลักดิน
„ ถาในการวัดไดคาความตานทานดินสูงกวา 25 Ω ทางแกคอื ใหปกหลักดินเพิ่มอีก
1 แทง กับดินตองไมเกิน 5 โอหม
พื้นที่ยากในทางปฏิบัติ ยอมให คาความตานทาน
RMUTL 149
RMUTL
ระหวางหลักดินกับดินตองไมเกิน 25 โอหม

RMUTL RMUTL
วัดความตานทานดินได 12 โอหม ตองการ


ใหลดลงเหลือ 5 โอหม จะทําอยางไรดี?


ปกเพิ่มที่ไหน และจํานวนเทาใด?

ค.ง. ข ก …..?
0.6 a P C
a

RMUTL RMUTL

สมมุติวัดความตานทานดินได 12 โอหม
จะตองตอกหลักดินเพิ่มเปนกี่หลัก
2 หลัก 12 × 0.58 = 6.96Ω

จํานวนอิเล็กโทรดขนานกัน k 3 หลัก 12 × 0.42 = 5.04Ω


2 0.58
3 0.42 4 หลัก 12 × 0.34 = 4.08Ω
4 0.34
5 0.28

RMUTL RMUTL
RMUTL RMUTL

RMUTL RMUTL
RMUTL RMUTL

RMUTL RMUTL
เครื่องใชไฟฟาใด เครื่องใชไฟฟาใด
ที่ไมตองมีระบบสายดิน ที่ไมตองมีระบบสายดิน

เครื่องใชไฟฟาที่มีโครงเปนฉนวน หรือ ไม เครื่องใชไฟฟาที่มีแรงดันต่ํากวา 50 โวลต เชน


RMUTL
เกีย่ วของกับน้ํา เชน พัดลม ทีวี RMUTL
โทรศัพท เครื่องโกนหนวดไฟฟา

สีของสายดิน ตัวอยางการตอลงดินสําหรับอาคาร
สายสีเขียว หรือ ผนังอาคาร
เขียวสลับเหลือง
แผงเมนแรงต่ํา
สายตอหลักดิน
จุดทดสอบตองเขาถึงได

ไมต่ํากวา ตอดวยวิธีหลอมละลาย
0.6 เมตร
หลักดิน
RMUTL RMUTL
RMUTL RMUTL

ทดสอบ

RMUTL RMUTL
การหาขนาดสายตอหลักดิน การหาขนาดสายตอหลักดิน
สายตอฝาก และ สายดิน สายตอฝาก และ สายดิน
N L
THW 150 ตร.มม. 1. ขนาดสายตอหลักดิน
บริภณ
ั ฑประธาน แผงยอย กําหนดจากขนาดสายประธานเขาอาคารตาม
150 A 60 A ตารางที่ 6.1สายประธานเขาอาคารขนาด 150 ตร.มม.
สายตอ 80 A ไดสายตอหลักดิน ขนาด 35 ตร.มม.
ฝาก ?
2. ขนาดสายตอฝากดานไฟเขาของบริภัณฑไฟฟา
กําหนดจากขนาดสายประธานเขาอาคารตาม
สายดิน ? ตารางที่ 6.1 สายประธานเขาอาคารขนาด 150 ตร.มม.
RMUTL
สายตอหลักดิน ? สายดิน ? RMUTL
ไดสายตอหลักดิน ขนาด 35 ตร.มม.

การหาขนาดสายตอหลักดิน
สายตอฝาก และ สายดิน
3. ขนาดสายดินจากบริภัณฑประธานถึงแผงยอย
กําหนดจากขนาดเครื่องปองกันกระแสเกินตามตารางที่ 6.2
เครื่องปองกันกระแสเกิน ขนาด 150 แอมแปร
ไดสายดิน ขนาด 16 ตร.มม.
4. ขนาดสายดินจากแผงยอยถึงโหลด
กําหนดจากขนาดเครื่องปองกันกระแสเกินตามตารางที่ 6.2
เครื่องปองกันกระแสเกิน ขนาด 60 แอมแปร
ไดสายดิน ขนาด 6 ตร.มม.
176
RMUTL RMUTL

You might also like