You are on page 1of 5

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)


1.รหัสวิชา 3215301
2.ชื่อย่อภาษาอังกฤษ FUND PERIO
3.ชื่อวิชา
ชื่อภาษาไทย : ปริทันตวิทยาเบื้องต้น
ชื่อภาษาอังกฤษ : FUNDAMENTAL PERIODONTICS
4.หน่วยกิต 1(1–0–2)
5.ส่วนงาน
5.1.คณะ/หน่วยงานเทียบเท่า คณะทันตแพทยศาสตร์
5.2.ภาควิชา ภาควิชาปริทันตวิทยา
5.3.สาขาวิชา
6.วิธีการวัดผล Letter Grade (A B+ B C+ C D+ D F)
7.ประเภทรายวิชา Semester Course
8.ภาคการศึกษาที่เปิดสอน ทวิภาค ภาคต้น
9.ปีการศึกษาที่เปิดสอน 2013
10. การจัดการสอน
ตอนเรียน ผู้สอน ช่วงเวลาประเมิน
1 10002611 อ. ทญ. ดร. จันทรกร แจ่มไพบูลย์ 07-08-2556 ถึง 20-10-2556
1 10002853 ผศ. ทพ. ขจร กังสดาลพิภพ 07-08-2556 ถึง 20-10-2556
1 10016329 ผศ.ทญ. อรวรรณ จรัสกุลางกูร 07-08-2556 ถึง 20-10-2556
1 10016330 ผศ. ทญ. ศานุตม์ มังกรกาญจน์ 07-08-2556 ถึง 20-10-2556
1 10017787 รศ. ทญ. ดร. รังสินี มหานนท์ 07-08-2556 ถึง 20-10-2556

11.เงื่อนไขรายวิชา

12.หลักสูตรที่ใช้รายวิชานี้
13.ระดับการศึกษา ปริญญาบัณฑิต ชั้นปีที่ 3
14.สถานที่เรียน
15.เนื้อหารายวิชา
บทบาทของระบบภูมิคุ้มกันที่มีต่อแบคทีเรียในคราบจุลินทรีย์ต่อการเกิดและการดำาเนินโรคปริทันต์ การเปลี่ยนแปลงลักษณะ
ทางจุลกายวิภาคและทางคลินิกของอวัยวะปริทันต์ที่เป็นโรค สาเหตุหลัก สาเหตุเสริม และปัจจัยเสี่ยงของโรคปริทันต์ การจำาแนกโรค
ปริทันต์ การตรวจอวัยวะปริทันต์ทางคลินิก การแปลภาพถ่ายรังสี การวินิจฉัย การพยากรณ์โรค รวมทั้งการวางแผนการรักษาอย่าง
เป็นขั้นตอน

This document is generated from CUCAS. หน้า 1/5


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประมวลรายวิชา

Role of host immune response to plaque bacteria in the onset and pathogenesis of periodontal
diseases; histological and clinical changes of diseased periodontium; etiologic factors, contributing factors and risk
factors of periodontal diseases; classification of periodontal diseases; periodontal examination and radiographic
interpretation; periodontal diagnosis, periodontal prognosis, sequential periodontal treatment planning.

16.ประมวลการเรียนรายวิชา
16.1.วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
# วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
1 นิสิตสามารถอธิบายบทบาทของระบบภูมิคุ้มกันในการเกิดและการดำาเนินโรคปริทันต์ได้
ผลการเรียนรู้ : 1.1. รู้รอบ 1.2. รู้ลึก 3.1. สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 3.3. มีทักษะใน
การคิดแก้ปัญหา 4.1. มีทักษะทางวิชาชีพ 7. มีสุขภาวะ
วิธีการสอน/พัฒนา : 01. การบรรยาย
วิธีการประเมิน : 01. การสอบข้อเขียน

2 นิสิตสามารถอธิบายลักษณะทางจุลกายวิภาค และกายวิภาคคลินิกของอวัยวะปริทันต์ที่เป็นโรคได้
ผลการเรียนรู้ : 1.1. รู้รอบ 1.2. รู้ลึก 3.1. สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 3.3. มีทักษะใน
การคิดแก้ปัญหา 4.1. มีทักษะทางวิชาชีพ 7. มีสุขภาวะ
วิธีการสอน/พัฒนา : 01. การบรรยาย
วิธีการประเมิน : 01. การสอบข้อเขียน

3 นิสิตสามารถอธิบายบทบาทของสาเหตุหลัก สาเหตุเสริม และปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเกิดโรคปริทันต์ได้


ผลการเรียนรู้ : 1.1. รู้รอบ 1.2. รู้ลึก 3.1. สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 3.3. มีทักษะใน
การคิดแก้ปัญหา 4.1. มีทักษะทางวิชาชีพ 7. มีสุขภาวะ
วิธีการสอน/พัฒนา : 01. การบรรยาย
วิธีการประเมิน : 01. การสอบข้อเขียน

4 นิสิตสามารถอธิบายลักษณะทางคลินิกและภาพถ่ายรังสีของอวัยวะปริทันต์ที่เป็นโรคได้
ผลการเรียนรู้ : 1.1. รู้รอบ 1.2. รู้ลึก 3.1. สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 3.3. มีทักษะใน
การคิดแก้ปัญหา 4.1. มีทักษะทางวิชาชีพ 7. มีสุขภาวะ
วิธีการสอน/พัฒนา : 01. การบรรยาย
วิธีการประเมิน : 01. การสอบข้อเขียน

5 นิสิตสามารถให้การวินิจฉัย การพยากรณ์โรค และอธิบายแผนการรักษาที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ โดย


อธิบายการควบคุมหรือจัดการกับปัจจัยที่มีผลต่อการเกิด และ/หรือดำาเนินโรคได้
ผลการเรียนรู้ : 1.1. รู้รอบ 1.2. รู้ลึก 3.1. สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 3.3. มีทักษะใน

This document is generated from CUCAS. หน้า 2/5


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประมวลรายวิชา

การคิดแก้ปัญหา 4.1. มีทักษะทางวิชาชีพ 7. มีสุขภาวะ


วิธีการสอน/พัฒนา : 01. การบรรยาย
วิธีการประเมิน : 01. การสอบข้อเขียน

16.2.แผนการสอนรายสัปดาห์
สัปดาห์ที่ เนื้อหาทีส่ อน การมอบหมายงาน
1-3 29 พ.ค. 2556 Nature of Periodontal Disease -
5 มิ.ย. 2556 Periodontal Homeostasis
12 มิ.ย. 2556 Immunopathogenesis of Periodontal Disease
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 1
ผู้สอน : รังสินี
4-5 19 มิ.ย. 2556 Contributing factors / Risk factors of periodontal
disease
26 มิ.ย. 2556 Continue
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 1
ผู้สอน : ขจร
6 Interrelationship between systemic and periodontal disease -
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 1
ผู้สอน : อรวรรณ
7 Radiographic interpretation -
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 1
ผู้สอน : จันทรกร
8-9 7 ส.ค. 2556 Classification and diagnosis of periodontal disease -
14 ส.ค. 2556 Continue
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 1
ผู้สอน : อรวรรณ
10-13 28 ส.ค. 2556 Periodontal prognosis
4 ก.ย. 2556 Periodontal treatment planning
11 ก.ย. 2556 Management of medically compromised patients
18 ก.ย. 2556 Management of periodontal emergencies
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 1
ผู้สอน : ศานุตม์
16.3.สื่อการสอน (Media)
สื่อนำาเสนอในรูปแบบ Powerpoint media
 เอกสารประกอบการสอน คอมพิวเตอร์ เครื่องเปลี่ยนสัญญาณคอมพิวเตอร์

This document is generated from CUCAS. หน้า 3/5


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประมวลรายวิชา

16.4.การติดต่อสื่อสารกับนิสิตผ่านระบบเครือข่าย
16.4.1.รูปแบบและวิธีการใช้งาน:
16.4.2.ระบบจัดการการเรียนรู้ (LMS) ที่ใช้
16.5.จำานวนชั่วโมงที่ให้คำาปรึกษาแก่นิสิต 0.0 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
16.6.การประเมินผล
กิจกรรมการประเมิน ร้อยละ
สอบข้อเขียนโดยการสอบกลางภาค 50.00
การสอบปลายภาค 50.00
เกณฑ์การวัดผล

17.รายชื่อหนังสืออ่านประกอบ
17.1.หนังสือบังคับ
1. ชนินทร์ เตชะประเสริฐวิทยา. โรคปริทันต์และกระบวนการรักษา. กรุงเทพมหานคร: เยียร์บุ๊คพับลิชเชอร์, 2544.
2. Genco RJ, Goldman HM, Cohen DW. Contemporary

17.2.หนังสื่ออ่านเพิ่มเติม
1. Lindhe J, Karring T, Lang NP. Clinical Periodontology and Implant Dentistry. 4th ed. Copenhagen:
Blackwell Munksgaard, 2003.
2. Wilson TG, Kornman DS, Newman MG. Advances in Periodontics. Chicago: Quintessence Publishing,
1992.
3. Seymour RA, Heasman PA, Macgregor IDM. Drugs, Diseases, and the Periodontium. New York: Oxford
University Press, 1992.
4. Schluger S, Yuodelis R, Page RC, Johnson RH. Periodontal Diseases. 2nd ed. Philadephia: Lea & Febiger,
1990.
5. Newman MG, Takei HH, Carranza FA . Carranza's Clinical Periodontology. 10thed. Philadelphia: WB
Saunders Co., 2006.
6. Grant D.A, Stern IB, Listgarten MA. Periodontics. 6th ed. St. Louis: CV Mosby Co., 1988.
7. Rateitschak KH, Rateitschak EM, Wolf HF, Hassell TM. Color Atlas of Dental Medicine.1. Periodontology.
New York: Thieme Medical Publishers, Inc., 1988.
8. Ramfjord SP, Ash MM. Periodontology and Periodontics. Ishiyaku EuroAmerica, Inc., 1989.
9. Nield-Gehrig JS. Fundamentals of Periodontal Instrumentation. 4thed. Philadelphia: Lippincott Williams
& Wilkins., 2000.

17.3.บทความวิจัย/บทความวิชาการ (ถ้ามี)

17.4.สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง

This document is generated from CUCAS. หน้า 4/5


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประมวลรายวิชา

18.การประเมินการสอน
18.1.การประเมินการสอน ผ่านระบบ CUCAS - SCE
18.2.การปรับปรุงจากผลการประเมินการสอนครั้งที่ผ่านมา

19.หมายเหตุ

This document is generated from CUCAS. หน้า 5/5

You might also like