You are on page 1of 51

บทที่

คอนกกรีตเสริมเหล็
ม ก
(Reeinforceed Conccrete)

ศศ.ดร.อมร พิมานมาศ

สถาบันเทคโนโลลยีนานาชาติสิสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรรมศาสตร์

ดร.ภาณุวฒ ั น์ จ้จอยกลัด
มหาวิทยาาลัยศรีนครินทรวิ
น โรฒ
แนวทางการเลื่อนระดับเป็ นสามัญวิศวกร | สภาวิศวกร
________________________________________________________________

2.1 ข้อกําหนดในงานคอนกรีตเสริมเหล็ก
มาตรฐาน วสท. (1008-38 : วิธีกาํ ลัง) ให้ความหมายของคอนกรีตเสริมเหล็ก (คสล.) หรือ
ReinforcedConcrete(RC) ว่ า “คอนกรี ต ที่ มี เ หล็ ก เสริ ม ไม่ น้ อ ยกว่ า ปริ ม าณตํ า่ สุ ด ที่ ต ้อ งการโดย
มาตรฐานและคํานวณออกแบบบนสมมุติฐานที่วา่ วัสดุท้งั สองมีพฤติกรรมร่วมกันในการรับแรงต่างๆ”

2.1.1 ข้อดีและข้อเสียของคอนกรีตเสริมเหล็ก
ข้อดี ของคอนกรี ตเสริมเหล็ ก เช่น (1) ใช้ความแข็งแกร่งในด้านรับแรงอัดจากคอนกรี ต +
ความเหนี ยวจากเหล็กเสริม (2) RC สามารถต้านทานไฟและนํ้าได้ดี (3) RC มีความแข็งแกร่งสูง
(4) มีค่าการบํารุงรักษาตํา่ (5) สามารถขึ้ นรูปเป็ นรูปทรงใดๆ (ขึ้ นอยูก่ บั แบบหล่อ) (6) ใช้ฝีมือ
แรงงานที่ตาํ ่ (คนไทยใช้มานาน)
ข้อเสียของคอนกรีตเสริมเหล็ก ได้แก่ 1. คอนกรีตเป็ นวัสดุเปราะ ปริมาณเหล็กเสริมที่ใช้ตอ้ ง
รับ การออกแบบเป็ นอย่างดี 2. ต้องใช้แบบหล่อในการสร้างรูปทรง (ค่าแบบหล่อมีมลู ค่าสูง) 3. มีค่า
“กําลังรับนํ้าหนักเทียบกับนํ้าหนักของชิ้ นส่วน” ที่ตาํ ่ และ 4. คุณสมบัติของคอนกรีตมีความไม่แน่ นอน
สูง

2.1.2 วิธีการออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก
ทฤษฎีการออกแบบ RCทัว่ โลก มีปรัชญาการออกแบบที่คล้ายกันหรืออาจต่างกันเพียงชื่อใน
การเรียก สัญลักษณ์และสมการการออกแบบเท่านั้ น ทั้งนี้ ทฤษฎีที่ใช้ในการออกแบบตามมาตรฐาน
วสท. ซึ่งอ้างตามอเมริกนั (ACI) คือ
ก. วิธีหน่ วยแรงใช้งาน (Working Stress Method, WSM)
ข. วิธีกาํ ลัง (Strength Design Method, SDM)

2.1.2.1 วิธีหน่วยแรงใช้งาน
วิธีหน่ วยแรงใช้งาน ใช้พื้นฐานของ “ทฤษฎียืดหยุ่น (elastic theory)” เนื่ องจากตั้ง
สมมุติฐานว่า “โครงสร้างมีพฤติกรรมอยู่ในช่วงยืดหยุ่น” (ดังรูปที่ 2.1-1) วิธีนี้จะจํากัดไม่ให้หน่ วย
แรงที่เกิดขึ้ นในคอนกรีตและเหล็กเสริมเกินค่าหน่ วยแรงที่ยอมให้เช่น

หน่ วยแรงในคอนกรีต ( f c )   c f c (2.1-1 (ก))


หน่ วยแรงในเหล็กเสริม ( f s )   s f y (2.1-1 (ข))

PIMANMAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 2 ของบทที่ 2


คอนกรี
ค ตเสริมเหล็ก | หมวดดวิชาวิศวกรรมมโครงสร้าง
________________________________________________________________________

เมื่อ  c f c คือ หน่ วยแรงอั


ว ในคอนกรีต และ  s f y คือ หน่น่ วยแรงดึ งที่ยยอมให้ในเหหล็ กเสริม
ดที่ ยอมให้

ทั้งนี้ ค่า  c และ  s เป็
เ นไปตามตตารางที่ 2.1--1

ตารางทที่ 2.1-1ค่าตัวคูณสําหรับั การจํากัดค่คาหน่ วยแรงใในวัสดุคอนกกรีตเสริมเหล็ล็ก


วสท. กฎกกระทรวง ฯ
c 0.45 0.375
s 0.50 0.50

ดังนั้นจึงอนุนุ มานได้ว่าตลอดชีวิตของงโครงสร้างจจะไม่เกิดการรแตกร้าวและะมีการเคลื่อนตั
น วที่ตาํ ่
ในสหรัฐั อเมริกาวิธีนี้ นิ ยมในช่วง ค.ศ.19000 – ค.ศ.19663 โดยปั จจุบับนเลิกใช้แล้ว แต่สาํ หรับเมื
เ องไทย
ยังเป็ นทที่นิยมอยู่

รูปที่ 2.1-1
2 พฤติกรรมของโคร
ก รงสร้างในช่วงใช้งาน รูปที
ป ่ 2.1-2 พฤติ
พ กรรมขอองโครงสร้างใในช่วง
ประลัย

วิธีนี้วิเคราะะห์โครงสร้างใน
ง “ช่วงใช้งาน
ง (servicee stage)” ดัดงนั้นนํ้าหนักกที่ใช้ออกแบบบจึงเป็ น
นํ้าหนักใช้
ก งาน (working load) คือ การรวมแรงเพื่ออออกแบบ (w) : นํ้าหนักคคงที่ (DL)+นํน้้ าหนักจร
(LL)

W  WDL  WLL (2.1-2)


(

อมร พิมานมาาศ และ ภาณุวัวฒ


ั น์ จ้อยกลัด | หน้าที่ 3 ขอองบทที่ 2
แนวทางการเลื่อนระดับเป็ นสามัญวิศวกร | สภาวิศวกร
________________________________________________________________

2.1.2.2 วิธีกาํ ลัง


วิธีกําลังในอดี ตตามมาตรฐาน วสท. และยังคงใช้ตามกฎกระทรวงฯ เรี ยกว่า “วิธีกําลัง
ประลัย (Ultimate Strength Design, USD)” เนื่ องจากพิจารณากําลังของโครงสร้าง ณ ภาวะประลัย
(ultimate stage) ซึ่งจะกําหนดให้ “กําลังระบุขององค์อาคาร (nominal strength, Rn )” ซึ่งลดค่าแล้ว
มีค่ามากกว่า “นํ้าหนักบรรทุกที่เพิ่มค่าแล้ว (overload, Qu )”

Rn  Qu (2.1-3)

เมื่อ  คือ ตัวคูณลดค่าเนื่ องจากความไม่แน่ นอน ซึ่งมาจากความไม่แน่ นอนของวัสดุและการก่อสร้าง


(มีค่าน้อยกว่า 1.0)
เนื่ องจากวิธีนี้เป็ นการวิเคราะห์ในภาวะประลัย ดังนั้ นนํ้ าหนั กที่ ใ ช้ออกแบบจึงเป็ นนํ้ าหนั ก
ประลัย (ultimate load, Wu) ซึ่งคํานวณจากการเพิ่มค่า (overload) ให้กบั นํ้าหนักบรรทุกในช่วงปรกติ
ดัง(2.1-3)

Wu   DL  WDL   LL  WLL (2.1-4)

เมื่อ  คือ ตัวคูณเพิ่มค่ากรณีน้ําหนักบรรทุกคงที่ และ  คือ ตัวคูณเพิ่มค่ากรณีน้ําหนักบรรทุกจร


DL LL

ทั้งนี้ ค่า  และ  เป็ นไปตามตารางที่ 2.1-2


DL LL

ตารางที่ 2.1-2 ค่าตัวคูณเพิ่มค่านํ้าหนักบรรทุก


 DL
 LL

วสท. 1.4 1.7


กฎกระทรวง ฯ 1.7 2.0
ACI318-14 1.2 1.6

PIMANMAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 4 ของบทที่ 2


คอนกรีตเสริมเหล็ก | หมวดวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
_____________________________________________________________________

2.1.3 ข้อเปรียบเทียบสําหรับวิธีการออกแบบ
WSD SDM

 ควบคุมไม่ให้หน่ วยแรงที่เกิดขึ้ นเกินกว่า  สามารถคํานวณกําลังที่แท้จริงของ


หน่ วยแรงที่ยอมให้ โครงสร้างทําให้สามารถกําหนด
 ทําให้ไม่สามารถคํานวณกําลังที่แท้จริง สัดส่วนความปลอดภัย (F.S.) รวมถึง
ของโครงสร้างได้ สามารถวางแนวทางการเสริมกําลัง
โครงสร้างได้อย่างถูกต้อง

วิธีกาํ ลังได้ถกู พัฒนาขึ้ นมาแทนที่วธิ ีหน่ วยแรงใช้งานเนื่ องจากเหตุผลหลายประการ เช่น


(ก) วิธีหน่ วยแรงใช้งาน : ไม่สามารถระบุถึงกําลังที่แท้จริงของโครงสร้างได้เนื่ องจากใน WSD
ผูอ้ อกแบบสนใจที่จะควบคุมไม่ให้หน่ วยแรงที่เกิดขึ้ นเกินกว่าหน่ วยแรงที่ยอมให้เท่านั้น ในขณะที่ SDM
สามารถคํานวณกําลังที่แท้จริงของโครงสร้าง ทําให้ทราบถึงหนักบรรทุกสูงสุดที่โครงสร้างจะรับได้
(ข) ความปลอดภัยของวิธีกาํ ลัง:กําหนดความปลอดภัยไว้แล้วถึงสองขั้น โดยผ่านทาง 1. ตัว
คูณเพิ่มนํ้าหนัก () และ 2. ตัวคูณลดกําลัง () ตัวคูณทั้งสองสร้างมาจากการวิจยั และวิธีทางสถิติที่มี
ความ สมเหตุสมผลกว่าวิธีหน่ วยแรงใช้งาน (เปลี่ยนแปลงได้แล้วแต่ดุลยพินิจของผูอ้ อกแบบ) เห็นได้
จาก LL มีค่ามากกว่า DL เนื่ องจากนํ้าหนักบรรทุกจรมีความไม่แน่ นอนมากกว่านํ้าหนักบรรทุกคงที่
(ค) วิ ธี ห น่ วยแรงใช้ง านไม่ ไ ด้พิ จ ารณาอิ ท ธิ พ ลจากการคื บ (creep) และการหดตั ว
(shrinkage) ของคอนกรีต ในภาวะที่โครงสร้างรับนํ้าหนักบรรทุกใช้งาน คอนกรีตจะเกิดการคืบและ
การหดตัวเนื่ องจากการสูญเสียนํ้า ทําให้ค่าสติฟเนสของคอนกรีตลดลง เป็ นผลให้หน่ วยแรงในเหล็ก
เ ส ริ ม มี ค่ า เ พิ่ ม ขึ้ น ดั ง นั้ น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ด ้ ว ย วิ ธี ห น่ ว ย แ ร ง ใ ช้ ง า น จึ ง มี ค ว า ม ไ ม่ แ ม่ น ยํ า
แต่ ใ นขณะที่ ก ารออกแบบด้ ว ยวิ ธี กํ า ลั ง จะพิ จ ารณาหน้ า ตั ด ที่ ภ าวะวิ บั ติ ซึ่ ง ไม่ มี อิ ท ธิ พ ลของ
การคืบและการหดตัวของคอนกรีตแต่อย่างใด
(ง) วิธีกาํ ลังสามารถคํานวณความเหนี ยวของหน้าตัด ซึ่งจําเป็ นต่อการออกแบบเพื่อต้าน
แผ่นดินไหว
(จ) อีกทั้งวิธีกาํ ลังสามารถออกแบบหน้าตัดให้มีความประหยัดเนื่ องจากใช้กาํ ลังของหน้าตัด
อย่างเต็มที่ ซึ่งทําให้ได้หน้าตัดที่เล็กกว่าหน่ วยแรงใช้งาน เนื่ องจากความปลอดภัยที่สามารถกําหนดได้

อมร พิมานมาศ และ ภาณุวฒ


ั น์ จ้อยกลัด | หน้าที่ 5 ของบทที่ 2
แนวทางการเลื่อนระดับเป็ นสามัญวิศวกร | สภาวิศวกร
________________________________________________________________

2.1.4 การตรวจสอบที่ภาวะใช้งาน
ตลอดอายุใช้งานของโครงสร้าง โอกาสที่โครงสร้างจะรับแรงถึงจุดประลัยนั้ นอาจจะไม่เกิดขึ้ น
อีกทั้งการออกแบบหน้าตัดที่ภาวะประลัย หน้าตัดที่ได้มกั จะมีขนาดเล็กเนื่ องจากได้ใช้กาํ ลังของวัสดุที่
ภาวะขีดสุดเป็ นผลให้โครงสร้างอาจจะเกิดการแอ่นตัวที่มาก (แต่ไม่วิบตั ิ) จนสูญเสียสภาพการใช้งาน
(out of service) หรือเกิดรอยร้าวที่มากจนเกินไป (excessive cracks) จนทําให้อายุการใช้งานของ
โครงสร้างลดลงดังนั้ นหลังจากทําการออกแบบด้วยวิธีกาํ ลังแล้ว ต้องทําการตรวจสอบ สภาพการใช้
งาน (serviceability) ของโครงสร้า งด้ว ยทุ ก ครั้ง เนื่ อ งจากที่ ส ภาพใช้ง านของโครงสร้า ง จะถื อ ว่า
โครงสร้างมีพฤติกรรมในช่วงยืดหยุน่ (elastic range) ดังนั้นจึงเป็ นที่ยอมรับที่ใช้วิธีหน่ วยแรงใช้งานใน
การตรวจสอบ

2.1.5 ข้อกําหนดเพิ่มเติมของกฎกระทรวงฯ
ในการคํา นวณออกแบบโครงสร้า งคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก กฎหมายไม่ ไ ด้ร ะบุ ใ ห้ป ฏิ บัติ ต าม
มาตรฐาน หรือประมวลข้อบังคับใดเป็ นการเฉพาะ วิศวกรสามารถใช้ความรูไ้ ด้ตามทฤษฎีและเลือก
แนวทางปฏิบตั ิใดที่เป็ นที่ยอมรับได้ แต่ท้งั นี้ กฎหมาย (กฎกระทรวงฯ พ.ศ.2522) ได้กาํ หนดขอบข่าย
เบื้ องต้นเกี่ยวกับเรื่องของนํ้าหนักบรรทุกและกําลังของวัสดุ ไว้ดงั นี้

2.1.5.1 ในการคํานวณส่วนต่างๆ ของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กตามทฤษี กาํ ลังประลัยให้ใช้น้ําหนัก


บรรทุกประลัยดังต่อไปนี้
1. สําหรับส่วนของอาคารที่ไม่คิดแรงลม ให้ใช้น้ําหนักบรรทุกประลัย ดังนี้
Wu  1.7 DL  2.0 LL

2. สําหรับส่วนของอาคารที่คิดแรงลม ( WL ) ด้วย ให้ใช้น้ําหนักบรรทุกประลัย ดังนี้


Wu  0.75(1.7 DL  2.0 LL  2.0WL)
Wu  0.9 DL  1.3WL

โดยให้ใช้ค่านํ้าหนักบรรทุกประลัยที่มากกว่า แต่ท้งั นี้ ต้องไม่ตาํ ่ กว่านํ้าหนักบรรทุกประลัยใน


1. ด้วย

2.1.5.2 ในการคํานวณส่วนต่างๆ ของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กตามทฤษฎีกาํ ลังประลัยให้ใช้ค่า


หน่ วยแรงอัดประลัยของคอนกรีตไม่เกิน 150 ksc

PIMANMAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 6 ของบทที่ 2


คอนกรีตเสริมเหล็ก | หมวดวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
_____________________________________________________________________

2.1.5.3 ในการคํานวณส่วนต่างๆ ของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กตามทฤษฎีกาํ ลังประลัยให้ใช้กาํ ลัง


ครากของเหล็กเสริมต่อไปนี้
1. เหล็กเสริมกลมผิวเรียบ ให้ใช้ไม่เกิน 2,400ksc
2. เหล็กเสริมอื่น ให้ใช้กาํ ลังครากของเหล็กเสริมชนิ ดนั้น แต่ตอ้ งไม่เกิน 4,000ksc

2.1.5.4 หน่ วยนํ้ าหนักบรรทุกจรสําหรับประเภท และส่วนต่างๆ ของอาคารนอกเหนื อจากนํ้าหนัก


ของตัวอาคารหรือเครื่องจักรหรืออุปกรณ์อย่างอื่น ให้คาํ นวณโดยประมาณเฉลี่ยไม่ตํา่ กว่าอัตรา ดัง
แสดงในตารางที่ 2.1-3

ตารางที่ 2.1-3หน่ วยนํ้าหนักบรรทุกจรตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ.2522


ประเภทและส่วนต่างๆ ของอาคาร หน่ วยนํ้าหนักบรรทุกจร
(kgf/m2)
(1) หลังคา 30
(2) กันสาดหรือหลังคาคอนกรีต 100
(3) ที่พกั อาศัย โรงเรียนอนุ บาล ห้องนํ้า ห้องส้วม 150
(4) ห้องแถว ตึกแถวที่ใช้พกั อาศัยอาคารชุด หอพักโรงแรม และห้องคนไข้ 200
พิเศษของโรงพยาบาล
(5) สํานักงาน ธนาคาร 250
(6) อาคารพาณิชย์ส่วนของห้องแถว ตึกแถวที่ใช้เพื่อใช้ในการพาณิชย์ 300
(ก) มหาวิทยาลัย วิทยาลัย โรงเรียน และโรงพยาบาล
ห้องโถง บันได ช่องทางเดินของอาคารชุด หอพัก โรงแรม สํานักงานและ 300
(ข) ธนาคาร
(7) ตลาด อาคารสรรพสินค้า หอประชุม โรงมหรสพ ภัตตาคาร ห้องประชุม 400
(ก) ห้องอ่านหนังสือในห้องสมุดหรือหอสมุด ที่จอดหรือเก็บรถยนต์นัง่ หรือ
รถจักรยานยนต์ 400
ห้องโถง บันได ช่องทางเดินของอาคารพาณิชย์มหาวิทยาลัย วิทยาลัย และ
(ข) โรงเรียน
(8) คลังสินค้า โรงกีฬา พิพิธภัณฑ์ อัฒจันทร์ โรงงานอุสาหกรรม โรงพิมพ์ 500
(ก) ห้องเก็บเอกสารและพัสดุ 500
ห้องโถง บันได ช่องทางเดินของอาคารพาณิชย์มหาวิทยาลัย วิทยาลัย และ
(ข) โรงเรียน
(9) ห้องเก็บหนังสือของห้องสมุดหรือหอสมุด 600
(10) ที่จอดหรือเก็บรถยนต์บรรทุกเปล่า 800

อมร พิมานมาศ และ ภาณุวฒ


ั น์ จ้อยกลัด | หน้าที่ 7 ของบทที่ 2
แนวทางการเลื่อนระดับเป็ นสามัญวิศวกร | สภาวิศวกร
________________________________________________________________

2.1.5.5 ในการคํานวณออกแบบหากปรากฏว่าพื้ นที่ส่วนใดต้องรับนํ้ าหนั กเครื่องจักรหรืออุปกรณ์


หรือหน่ วยนํ้าหนักบรรทุกจรอื่นๆ ที่มีค่ามากกว่าหน่ วยนํ้าหนักบรรทุกจร ซึ่งกําหนดไว้ในข้อ 2.1.5.4
ให้ใช้หน่ วยนํ้าหนักบรรทุกจรตัวที่มากกว่าเฉพาะส่วนที่ตอ้ งรับนํ้าหนักเพิ่มขึ้ น

2.1.5.6 ในการคํานวณออกแบบโครงสร้างอาคาร ให้คาํ นึ งถึงแรงลมด้วย หากจําเป็ นต้องคํานวณ


และไม่มีเอกสารที่รบั รองโดยสถาบันที่เชื่อถือได้ ให้ใช้หน่ วยแรงลม ดังแสดงในตารางที่ 2.1-4

ตารางที่ 2.1-4หน่ วยแรงลมอย่างน้อยตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ.2522


ความสูงของอาคารหรือส่วนของอาคาร หน่ วยแรงลมอย่างน้อย
(kgf/m2)
(1) ส่วนของอาคารที่สงู ไม่เกิน 10 เมตร 50
(2) ส่วนของอาคารที่สงู เกิน 10 เมตร แต่ไม่เกิน 20 เมตร 80
(3) ส่วนของอาคารที่สงู เกิน 20 เมตร แต่ไม่เกิน 30 เมตร 120
(4) ส่วนของอาคารที่สงู เกิน 20 เมตร แต่ไม่เกิน 40 เมตร 160
หมายเหตุ สําหรับ 2.1.5.6 ในกรณี นี้ยอมให้ใช้ค่าหน่ วยแรงที่ เกิดขึ้ นในส่วนต่างๆ ของอาคาร
ตลอดจนความต้านทานของดินใต้ฐานรากเกินค่าที่กาํ หนดไว้ในกฎกระทรวงนี้ ได้รอ้ ย
ละ 33.3 แต่ท้งั นี้ ต้องไม่ทาํ ให้ส่วนต่างๆ ของอาคารนั้นมีความมัน่ คงน้อยไปกว่าเมื่อ
คํานวณตามปกติโดยไม่คิดแรงลม

2.1.6 วัสดุคอนกรีตเสริมเหล็ก
คอนกรี ตเสริ มเหล็ กสามารถรับกําลังได้เนื่ องจากเกิดการทํางานกันอย่างสมบูรณ์ระหว่า ง
คอนกรีตและเหล็กเสริม โดยวัสดุแต่ละประเภทมีคุณสมบัติเฉพาะตัว โดยรายละเอียดของแต่ละวัสดุมี
ดังนี้

2.1.6.1 คอนกรีต (Concrete)


คุณสมบัติของคอนกรีตในงานคอนกรีตเสริมเหล็กมีหลายตัว อย่างไรก็ดีคุณสมบัติที่สาํ คัญที่
จําเป็ นต้องทราบมีดงั นี้
ก. หน่ วยนํ้าหนัก (Unit weight)
คอนกรีตมีหน่ วยนํ้ าหนั ก (c) ปรกติประมาณ 2,400 กก./ม.3อย่างไรก็ตามกรณี ของ
โครงสร้าง คสล. ยังคงใช้ค่าดังกล่าวในการออกแบบ

PIMANMAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 8 ของบทที่ 2


คอนกรี
ค ตเสริมเหล็ก | หมวดดวิชาวิศวกรรมมโครงสร้าง
________________________________________________________________________

ข. อัตราส่วนพัวซองส์ (Poisson ‘s ratio)


อัตราส่วนพพัวซองส์บอกกค่าการขยายตัวทางด้านข้ น างของคออนกรีต ค่าประมาณ 0.15-0.20
(อาจใชช้ 0.2 เพื่อคววามสะดวก)
ค. กําลังอัดั ประลัยของคอนกรีต (CCompressivee strength)
มาตรฐาน วสท. พิจารณ ณากําลังอัดประลั
ป ยของชิ้ นทดสอบคอน
น นกรีตรูปทรงงกระบอกที่ 28
2 วัน ที่
มีขนาดดเส้นผ่านศูนย์กลาง 15 ซม.
ซ สูง 30 ซม.
ซ โดยใช้สญลั

ั กษณ์ fc ในการคํานววณโดยในรูปทีป ่ 2.1-
3 แสดงตัวอย่างควาามสัมพันธ์ระหว่ ํ งแตกต่างกัน
ะ างหน่ วยแรงและความมเครียดของคคอนกรีตที่กาาลั

รูปที่ 2.1-3 ตัวอย่างความสั


ง มพันธ์
น ระหว่างหนน่ วยแรงและคความเครียดขของชิ้ น
ทดสอบคคอนกรีตรูปทรงประบอกทีที่ 28 วัน

ง. กําลังรับั แรงดึงของคคอนกรีต (Teensile strenggth)


การวัดกําลังั รับแรงดึงขอองคอนกรีตนั้นทําได้ยาก เนื่ องจากยึดจั
ด บชิ้ นงานนันั้ นทําได้ยาก โดยจาก
การทดดลองพบว่ามีค่คาประมาณ 8-15% ขอองกําลังรับแรรงอัด อย่างไไรก็ดีเรานิ ยมมใช้วิธีโมดูลสแตกร้สั าว
(modulus of rupture, fr) ในการรคํานวณหาคค่ากําลังรับแรงดึงของคอนนกรีตซึ่งคํานนวณได้ดงั นี้

f r  2 f c เมื่อ fc มีหน่ วยเป็ น ksc (2.1-5)


(

จ. โมดูลสั ยืดหยุน่ ของคคอนกรีต (M


Modulus of elasticity)
โมดูลัสยืดหยุ
ห ่นของคอนนกรีต (EEc) คํานววณจากความมชันที่เป็ นเส้ส้นตรงช่วงแรรกๆ จาก
ความสัสัมพันธ์ระหว่างหน่ วยแรงงและความเคครียดของคอนกรีตที่รบั แรงกดตามแนนวแกน นัน่ คือ Ec =

อมร พิมานมาาศ และ ภาณุวัวฒ


ั น์ จ้อยกลัด | หน้าที่ 9 ขอองบทที่ 2
แนวทางงการเลื่อนระดับั เป็ นสามัญวิศวกร
ศ | สภาวิวิศวกร
_____________________________________________________________________

fc/cอยย่า งไรค่าดังกล่าวประมาาณได้ยากกวว่า กรณี ของเเหล็ กเสริ ม เนื่ องจากเส้น้ โค้งของคออนกรี ต มี


ลักษณะะเป็ นเส้นโค้ง (ดูรูปที่ 2.1-3) ทั้งนี้ วสท.
ว แนะนําให้
า คาํ นวณจาก

Ec  155,100 f c เ ่อ
เมื f c มีหน่นวยเป็ น kscc (22.1-6)

ฉ. การนําอุณหภูมิของคอนกรีต (TThermal condductivity)


คอนกรีตจะะขยายตัว (T+) และหดตัว (T--) เมื่ออุณหภู ณ มิเพิ่มขึ้ นนและลดลงตามลําดับ
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงงปริมาตรจะะคล้ายๆ ในกกรณีการหดตตัวแบบแห้ง ทั้งนี้ ค่าสัมประสิทธิ์
การยืดหดตัว () จะขึ้
จ นอยูก่ บั มวลรวมที
ม ่ใช้ผสมคอนกรี
ผ ต ว่ ไปจะมีค่าประมาณ 10x10-6 /Co
ตทั

2.1.6.2 เหล็กเสริริม (Reinforccement)


คุณสมบัติติของเหล็กเสสริมในงานคออนกรีตเสริมเหล็กมีหลายยตัว อย่างไรก็ดีคุณสมบัติติที่สาํ คัญ
ที่จาํ เป็ นต้
น องทราบมีมีดงั นี้
ก. โมดูลสั ยืดหยุน่ (Moodulus of elasticity)
ความสัมพันั ธ์ของหน่ วยแรงและคววามเครียดของเหล็ กเสริ มขณะรับแรรงดึงเป็ นไปตตามรูปที่
2.1-4 โดยควาามชันของกรราฟในช่วงแรรกที่เป็ นเส้นเอี น ยง คือ ค่าโมดูลัสยืดหหยุ่น (Es) สําหรับใน
ประเทศศไทย วสท. แนะนํ แ าให้ใช้เ้ ท่ากับ 2,0440,000 ksc

รูปที่ 2.1-4
2 ความมสัมพันธ์ระหหว่างหน่ วยแรรงและความเเครียดของเหหล็กเสริม

MAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 10 ของบทที่ 2


PIMANM
คอนกรี
ค ตเสริมเหล็ก | หมวดดวิชาวิศวกรรมมโครงสร้าง
________________________________________________________________________

ข. กําลังคราก (Yield strength)


s
กํ า ลั ง ครา ก (fy) พิ จ า รณาได้จ ากกจุ ด ที่ เ ส้น ก ราฟความสสั ม พัน ธ์ ร ะหหว่ า งหน่ ว ย แรงและ
ความเคครียดเปลี่ยนความชั
น นเอียงเป็
ย นแนวราาบ (ดูรูปที่ 2.1-4) สําหรับในประะเทศไทย ชั้นคุ น ณภาพ
ของเหล็ล็กเสริมแบ่งตามกํ
ต าลังคราก เป็ นไปตาามตารางที่ 2.1-5 2 ดังนี้

ก วเรียบ มอก. 20-22527 และเหหล็กข้ออ้อย มอก. 24-


ตารางทที่ 2.1-5 คุณสมบัติของงเหล็กเสริมกลมผิ
2527
ชนิ ดของเหล็กเสริม ชั้นคุณภาพ ห วยแรงจุดคราก หน่ วยแรงจุดปประลัย ความยืด
หน่
fy fu %
(กก./ซม.2) (กก./ซม.2) ไม่น้อยกว่า
กลมเส้นกลม SR224 2,400 3,900 21
เหล็ล็กข้ออ้อย SD30 3,000 4,900 17
SD440 4,000 5,700 15
SD50 5,000 6,300 13

ทั้ง นี้ ในกา รคํา นวณมาาตรฐานออ กแบบนิ ย มกกํา หนดให้ความสั


ค ม พัน ธ์ข องหน่ ว ย แรงและ
ความเคครียดภายหลลังการครากเเป็ นเส้นตรง (นอน) ดังแสดงในรู
แ ปที่ 2.1-5 และมีความสัมพัพนธ์ตาม
(2.1-77)

รูปที่ 2.1--5 เส้นกราฟฟออกแบบสําหรั


า บเหล็กเสสริม

อ พิมานมาศศ และ ภาณุ วฒน์


อมร ฒ
ั จ้อยกลัด | หน้าที่ 11 ขอองบทที่ 2
แนวทางการเลื่อนระดับเป็ นสามัญวิศวกร | สภาวิศวกร
________________________________________________________________

f s  Es   s เมื่อ  s   y (2.1-7(ก))
fs  fy เมื่อ  s   y (2.1-7(ข))

ค. คุณสมบัติของหน้าตัดเหล็กเสริม (Sectional properties)


คุณสมบัติที่ใช้บ่อยของเหล็ก เช่น เส้นรอบวง รวมถึงพื้ นที่หน้าตัด สําหรับเหล็กเสริมที่นิยมใน
การออกแบบแสดงได้ในตารางที่ 2.1-6

ตารางที่ 2.1-6คุณสมบัติของหน้าตัดที่ใช้บ่อยในงานออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก
รหัส เส้นผ่านศูนย์กลาง เส้นรอบวง (ซม.) นํ้าหนัก พื้ นที่
(มม.) (กก./ม.) (ซม.2)
RB6 6 1.87 0.22 0.28
RB9 9 2.83 0.50 0.64
RB12 12 3.77 0.89 1.13
RB15 15 4.71 1.39 1.77
RB19 19 5.97 2.23 2.84
RB25 25 7.86 3.85 4.91
DB10 10 3.14 0.62 0.79
DB12 12 3.77 0.89 1.13
DB16 16 5.03 1.58 2.01
DB20 20 6.28 2.47 3.14
DB25 25 7.85 3.85 4.91
DB28 28 8.80 4.83 6.16
DB32 32 10.05 6.31 8.04

2.1.7 ข้อกําหนดทั ่วไป


2.1.7.1 สภาพผิวของเหล็กเสริม
(ก) ในขณะเทคอนกรีต เหล็กเสริมต้องปราศจาก โคลน นํ้ ามัน หรือสารอื่นที่ไม่ใช่โลหะ
เกาะผิวซึ่งจะทําให้แรงยึดหน่ วงลดลง การเคลือบด้วยอีพอกซีเหล็กเสริม
(ข) เหล็กเสริมที่มีสนิ มอย่างบาง สะเก็ดจากโรงรีดหรือทั้งสองอย่าง อนุ มตั ิให้ใช้ได้หากมิติ
ที่เล็กที่สุดและนํ้าหนักของชิ้ นส่วนทดสอบเป็ นไปตามข้อกําหนดของ ASTM

PIMANMAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 12 ของบทที่ 2


คอนกรีตเสริมเหล็ก | หมวดวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
_____________________________________________________________________

2.1.7.2 การจัดวางเหล็กเสริม
(ก) ก่อนเทคอนกรีต เหล็กเสริมต้องจัดวางในตําแหน่ งที่ถูกต้องโดยมีที่รองรับที่แข็งแรง
และยึดไว้แน่ นหนาพอ โดยมีความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้ตามที่กาํ หนดในข้อ (ข)
(ข) นอกจากวิศวกรจะกําหนดให้เป็ นอย่างอื่น ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้ของการจัดวาง
เหล็กเสริมให้เป็ นดังนี้
1. ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้สาํ หรับความลึก d และระยะหุม้ คอนกรีตตํา่ สุดในองค์
อาคารที่รบั แรงดัด แรงอัด และกําแพง ให้ใช้ค่าดังตารางที่ 2.1-7 ต่อไปนี้

ตารางที่ 2.1-7ความคลาดเคลื่อนของระยะ d
ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้
ระยะ d ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้ของ d
สําหรับระยะหุม้ คอนกรีตตําสุ
่ ด
d>200 มม. (20 ซม.) ±100 มม. (1.0 ซม.) ±10 มม. (1.0 ซม.)
d<200 มม. (20 ซม.) ±13 มม. (1.3 ซม.) ±13 มม. (1.3 ซม.)

หมายเหตุ เว้นแต่ความคลาดเคลื่อนสําหรับช่องว่างในการวัดวาง (soffit) ต้องเป็ น ±6มม. (±0.6


ซม.) และความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้สาํ หรับระยะหุม้ ต้องไม่เกิน ± 1/3 ของระยะหุม้
คอนกรีตตํา่ สุดที่ระบุไว้ในแบบก่อสร้างและข้อกําหนด

2. ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้สาํ หรับตําแหน่ งจุดดัดในแนวตามยาวและปลายของ


เหล็กเสริมมีค่าเท่ากับ ± 50มม. (5 ซม.) ยกเว้นความคลาดเคลื่อนต้องเป็ น ± 13มม. (1.3
ซม.) ที่ ป ลายไม่ต่ อ เนื่ อ งของแป้ นหูช า้ งและเชิ ง อื่ น และ ±25มม.(2.5 ซม.) ที่ ป ลายไม่
ต่อเนื่ องขององค์อาคารอื่น ให้ใช้ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้สาํ หรับระยะหุม้ คอนกรีตตํา่ สุด
ที่ปลายไม่ต่อเนื่ องขององค์อาคารด้วย

(ค) ลวดตะแกรงเหล็กเชื่อม (ที่มีขนาดไม่ใหญ่กว่า 6 มม.) ที่ใช้ในแผ่นพื้ นที่มีช่วงไม่เกิน


3 ม. อนุ ญาตให้โค้งจากจุดใกล้กบั ด้านบนของแผ่ นพื้ นที่ จุดรองรับไปยังจุดใกล้กบั ด้านล่างของแผ่น
พื้ นที่กึ่งกลางช่วง โดยมีขอ้ กําหนดว่าเหล็กเสริมนั้นต่อเนื่ องหรือยึดอย่างมัน่ คงที่จุดรองรับ
(ง) ไม่อนุ ญาตให้เชื่อมกับเหล็กเส้นที่ตดั กันสําหรับการประกอบเหล็กเสริมนอกเสียจากจะ
ได้รบั การรับรองจากวิศวกร

อมร พิมานมาศ และ ภาณุวฒ


ั น์ จ้อยกลัด | หน้าที่ 13 ของบทที่ 2
แนวทางการเลื่อนระดับเป็ นสามัญวิศวกร | สภาวิศวกร
________________________________________________________________

2.1.7.3 การกําหนดระยะห่างระหว่างเหล็กเสริม
(ก) ระยะช่องว่างตํา่ สุดของเหล็กเส้นที่วางขนานกันในแต่ละชั้น ต้องไม่แคบกว่า db และ
ต้องไม่นอ้ ยกว่า 25 มม. (2.5 ซม.)
(ข) การเสริมเหล็กในคานที่มีเหล็กเส้นตั้งแต่สองชั้นขึ้ นไป ระยะช่องว่างระหว่างชั้นของ
เหล็กเส้นต้องไม่แคบกว่า 25 มม. (2.5 ซม.) และเหล็กเส้นที่อยู่ช้นั บนต้องจัดเรียงให้อยู่ในแนว
เดียวกับเหล็กเส้นที่อยูช่ ้นั ล่าง
(ค) ระยะช่องว่างของเหล็กเสริมตามยาวในองค์อาคารรับแรงอัดที่ใช้เหล็ กปลอกเกลียว
หรือเหล็กปลอกเดี่ยว ต้องไม่นอ้ ยกว่า 1.5 db และต้องไม่นอ้ ยกว่า 40 มม.
(ง) ระยะช่องว่างระหว่างเหล็กต่อทาบกับเหล็กต่อทาบด้วยกัน หรือระหว่างเหล็กต่อทาบ
กับเหล็กเส้นอื่น ให้ใช้เช่นเดียวกันกับที่กาํ หนดไว้สาํ หรับระยะช่องว่างระหว่างเหล็กเส้น
(จ) ในกําแพงและในแผ่นพื้ น ยกเว้นแผ่นพื้ นระบบตงคอนกรีต เหล็กเสริมเอกรับแรงดัด
ต้อ งมี ร ะยะเรี ย งไม่ ม ากกว่ า 3 เท่ า ของความหนาของกํา แพงหรื อ แผ่ น พื้ นนั้ น และต้อ งไม่ เ กิ น
400 มม. (40 ซม.)
(ฉ) เหล็กเส้นมัดรวมกันเป็ นกํา
1. เหล็ กเส้นหลายเส้นที่ ขนานกันและมัดรวมกันเป็ นกํา เพื่อให้รับแรงเสมือนเป็ น
หน่ วยเดียวกันนั้นต้องเป็ นเหล็กข้ออ้อยทุกเส้น มีจาํ นวนไม่เกินกําละ 4 เส้น
2. เหล็ กเส้นมัดรวมกันเป็ นกําต้องถูกล้อมรอบให้อยู่ภายในเหล็ กลูกตั้งหรื อเหล็ ก
ปลอก
3. เหล็กเส้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า 36 มม. ไม่อนุ ญาตให้มดั รวมกันใน
คาน
4. ในเหล็กเส้นที่มดั รวมเป็ นกํา เหล็กเส้นแต่ละเส้นที่สิ้นสุดในช่วงขององค์อาคารรับ
แรงดัด ต้องสิ้ นสุดในตําแหน่ งที่เหลื่อมกัน โดยมีตาํ แหน่ งสิ้ นสุดห่างกันอย่างน้อย 40 db
5. หากใช้วิธีกําหนดระยะเรียงของเหล็ กเส้นและระยะหุม้ คอนกรีตตํา่ สุด โดยการ
ถือเอาขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กเส้นเป็ นหลัก ให้ถือว่าเหล็กแต่ละกําเป็ นเสมือน
เหล็กเส้นเดียวที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางที่หามาจากเนื้ อที่หน้าตัดเทียบเท่ากับเหล็กเส้นทั้งกํา
รวมกัน
2.1.7.4 คอนกรีตที่หมุ ้ เหล็กเสริม
ระยะหุม้ คอนกรีตหมายถึงระยะที่วดั จากผิวคอนกรีตถึงผิวนอกสุดของเหล็กปลอกเดี่ยว เหล็ก
ปลอกเกลียว หรือเหล็กลูกตั้ง ในกรณีที่ไม่มีเหล็กดังกล่าว ให้วดั ถึงผิวนอกของเหล็กเส้นที่อยูน่ อกสุด
(ก) คอนกรีตหล่อในที่ระยะหุม้ คอนกรีตตํา่ สุดสําหรับเหล็กเสริมให้เป็ นไปตามข้อตาราง
ที่ 2.1-8 ต่อไปนี้ แต่ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่าที่กาํ หนดไว้ในข้อ (จ) และข้อ (ช)
PIMANMAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 14 ของบทที่ 2
คอนกรีตเสริมเหล็ก | หมวดวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
_____________________________________________________________________

ตารางที่ 2.1-8 ระยะหุม้ เหล็กเสริมสําหรับคอนกรีตหล่อในที่


รายละเอียด ระยะหุม้
ตํา่ สุด (ซม.)
คอนกรีตที่หล่อติดกับดิน และผิวคอนกรีตสัมผัสกับดินตลอดเวลา 7.5
คอนกรีตที่สมั ผัสกับดินหรือถูกแดดฝน
 สําหรับเหล็กเส้นขนาดใหญ่กว่า 16 มม. 5.0
 สําหรับเหล็กเส้นขนาด 16มม. และเล็กกว่า 4.0
คอนกรีตที่ไม่สมั ผัสกับดินหรือไม่ถกู แดดฝน
 ในแผ่นพื้ น กําแพง และตง
- สําหรับเหล็กเส้นขนาด 43 มม. และ 57 มม 4.0
- สําหรับเหล็กเส้นขนาด 36มม. และเล็กกว่า 2.0
- ในคานและเสาเหล็กเสริมหลัก เหล็กลูกตั้งเหล็กปลอกเดี่ยว เหล็กปลอกเดียว 4.0
 ในหลังคาเปลือกบาง แผ่นพื้ นพับจีบ
- สําหรับเหล็กเส้นขนาด 16 มม. และใหญ่กว่า
- สําหรับเหล็กเส้นและลวดตะแกรงเหล็กเชื่อมขนาด 16 มม. และเล็กกว่า 2.0
1.5
(ข) คอนกรี ต หล่ อ สํา เร็ จ (มี ก ารควบคุ ม ภาพและหล่ อ คอนกรี ต จากโรงงาน)ระยะหุ ม้
คอนกรีตตํา่ สุดสําหรับเหล็กเสริมให้เป็ นไปตามตารางที่ 2.1-9 ดังนี้
ตารางที่ 2.1-9 ระยะหุม้ เหล็กเสริมสําหรับคอนกรีตหล่อสําเร็จ
รายละเอียด ระยะหุม้
ตํา่ สุด (ซม.)
คอนกรีตที่สมั ผัสกับดินหรือถูกแดดฝน
 ในแผงกําแพง
- สําหรับเหล็กเส้นขนาด 43 มม. และ 57 มม. 4.0
- สําหรับเหล็กเส้นและลวดตะแกรงเหล็กเชื่อม 36 มม. และเล็กกว่า 2.0
 ในองค์อาคารชนิ ดอื่น
- สําหรับเหล็กเส้นขนาด 43 มม. และ 57 มม. 5.0
- สําหรับเหล็กเส้นขนาดตั้งแต่ 20 มม. ถึง 36 มม. 4.0
- สําหรับเหล็กเส้นและลวดตะแกรงเหล็กเชื่อมขนาด 16 มม. และเล็กกว่า 3.0
อมร พิมานมาศ และ ภาณุวฒ
ั น์ จ้อยกลัด | หน้าที่ 15 ของบทที่ 2
แนวทางการเลื่อนระดับเป็ นสามัญวิศวกร | สภาวิศวกร
________________________________________________________________

รายละเอียด ระยะหุม้
ตํา่ สุด (ซม.)
คอนกรีตที่ไม่สมั ผัสกับดินหรือไม่ถกู แดดฝน
 ในแผ่นพื้ น กําแพง และตง
- สําหรับเหล็กเส้นขนาด 43 มม. และ 57 มม. 3.0
- สําหรับเหล็กเส้นขนาด 36 มม. และเล็กกว่า 1.5
- ลวดตะแกรงเหล็กเชื่อมขนาด 16 มม. และเล็กกว่า dbแต่ไม่นอ้ ยกว่า 1.5
- ในคานและเสาเหล็กเสริมหลักและไม่จาํ เป็ นต้องมากกว่า 4.0
- เหล็กลูกตั้งเหล็กปลอกเดี่ยวหรือเหล็กปลอกเกลียว 1.0
 ในหลังคาเปลือกบางและแผ่นพื้ นพับจีบ
- สําหรับเหล็กเส้นขนาด 20 มม. และใหญ่กว่า 1.5
- สําหรับเหล็กเส้นและลวดตะแกรงเหล็กเชื่อมขนาด 16 มม. และเล็กกว่า 1.0

(ค) เหล็กเส้นมัดรวมกันเป็ นกําระยะหุม้ ตํา่ สุดของคอนกรีตต้องเท่ากับเส้นผ่านศูนย์กลาง


ของเหล็กเส้นเดี่ยวซึ่งมีเนื้ อที่หน้าตัดเทียบเท่ากับเหล็กเส้นทั้งกํารวมกัน แต่ไม่จาํ เป็ นต้องมากกว่า 5.0
ซม. ในกรณีคอนกรีตที่หล่อติดกับดิน และผิวคอนกรีตสัมผัสกับดินตลอดเวลา ระยะหุม้ ตํา่ สุดต้องไม่
น้อยกว่า 7.5 ซม.
(ง) ในสภาวะแวดล้อมที่มีการกัดกร่อน ในสภาวะแวดล้อมที่มีการกัดกร่อน หรือที่ตอ้ ง
สัมผัสกับสภาวะรุ นแรงอื่นๆ ต้องเพิ่มระยะหุม้ คอนกรีตให้เหมาะสม และให้พิจารณาถึงการป้องกัน
คอนกรีตโดยการเพิ่มความแน่ นและลดความพรุนของคอนกรีต หรือหาวิธีป้องกันอื่น ๆ
(จ) การเตรียมการเพื่อการต่อ เติมในอนาคตเหล็ กเสริ มส่วนที่ เปลื อย หัวยึดที่ ฝัง ใน
คอนกรีต และแผ่นเหล็กที่เตรียมไว้สาํ หรับยึดต่อกับส่วนที่จะต่อเติมในอนาคต ต้องมีการป้องกันการ
กัดกร่อน
(ฉ) การป้ องกัน จากอัค คี ภัย เมื่อ ประมวลข้อบังคับ อาคารได้กํา หนดระยะหุ ม้ เพื่อการ
ป้องกันจากอัคคีภยั ไว้หนากว่าระยะหุม้ ตํา่ สุดที่กาํ หนดในข้อ 3.1.7.4 ให้ใช้ระยะหุม้ ค่าที่หนากว่า

PIMANMAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 16 ของบทที่ 2


คอนกรีตเสริมเหล็ก | หมวดวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
_____________________________________________________________________

2.2 องค์อาคารรับแรงดัด
2.2.1 การดัดของคานอย่างง่าย
พิจารณาคานอย่างง่ายเมื่อรับนํ้ าหนั กบรรทุก เมื่อกําหนดให้คานมีหน้าตัดสี่เหลี่ยมกว้าง b
และลึก h และเสริมเหล็กไว้ที่ระยะ d เมื่อวัดจากผิวบนของคาน (รูปที่ 2.2-1) ภายหลังเรียกระยะ d
ว่า “ความลึกประสิทธิผล (effective depth)” เมื่อคานเริ่มรับนํ้าหนัก คานจะโก่งตัวและเกิดแรงภายใน
ที่สาํ คัญขึ้ นในหน้าตัด นัน่ คือ 1. แรงเฉือน (shear force) และ 2. โมเมนต์ดดั (bending moment) ซึ่ง
ณ ตําแหน่ งกลางคานโมเมนต์ที่เกิดขึ้ นทําให้ส่วนบนของคานเกิด “แรงอัด (compression force)” และ
ส่วนล่างเกิด “แรงดึง (tension force)” เมื่อเพิ่มนํ้าหนักบรรทุกขึ้ นเรื่อยๆ คานจะเกิดการวิบตั ิ ซึ่งตาม
มาตรฐาน วสท. จะถือว่าคานวิบตั ิเมื่อความเครียดที่ผิวรับแรงอัด (c) มีค่าเท่ากับความเครียดอัด
บดอัด (crushing strain,cu) เท่ากับ 0.003

d
h

รูปที่ 2.2-1 การนิ ยามพารามิเตอร์ที่เกี่ยวข้อง


ตามทฤษฎีกําลังในกรณี ที่คานเสริ มเหล็ กขั้นตํา่ ตามมาตรฐาน โอกาสที่ เหล็ กเสริ มจะขาด
ก่อนที่คอนกรีตที่ผิวบนวิบตั ิจะเกิดได้ยาก ดังนั้ นในการศึกษาจึงจํากัดการวิบตั ิของคานไปที่การวิบตั ิ
ของคอนกรีตที่ผิวรับแรงอัดเป็ นหลัก โดยใช้สมมุติฐานต่อไปนี้ ในการศึกษาการดัดตามมาตรฐาน วสท.
คือ 1. ระนาบของหน้าตัดก่อนการดัดยังคงเป็ นระนาบหลังการดัด 2. คอนกรีตรับแรงดึงได้น้อยมาก
3. คอนกรีตและเหล็กยึดเกาะกันดีมาก 4. หน้าตัดคอนกรีตเสริมเหล็กจะถือว่าวิบตั ิเมื่อความเครียด
u=0.003 5. หน่ วยแรงอัดในคอนกรีตซึ่งไม่เป็ นเชิงเส้น สามารถใช้การกระจายเชิงเส้นเทียบเท่าได้
ทั้งนี้ การพิจารณาพฤติกรรมของเหล็กเสริมให้ใช้เกณฑ์ซึ่งแบ่งตามความสัมพันธ์ของหน่ วยแรง (fs)
และความเครียด (s) ดังนี้ (ก) ถ้า s<y กําหนดให้ fs = Ess (เหล็กไม่คราก) และ (ข) ถ้า s>y
กําหนดให้ fs = fy (เหล็กครากแล้ว)

2.2.2 พฤติกรรมการดัด
เมื่อคานเริ่มรับการดัด คานจะแอ่นตัว เนื้ อคานส่วนที่ยืดออกจะสร้างความเครียดดึง ในขณะที่
เนื้ อคานส่วนที่หดจะสร้างความเครียดอัด ความเครียดดึงดังกล่าวสามารถแปลงเป็ นหน่ วยแรงดึงผ่าน
ค่าโมดูลสั ยืดหยุน่ และเมื่อในก็ตามที่หน่ วยแรงดึงที่เกิดขึ้ นมีค่าเกินกว่ากําลังต้านแรงดึงของคอนกรีต
อมร พิมานมาศ และ ภาณุวฒ
ั น์ จ้อยกลัด | หน้าที่ 17 ของบทที่ 2
แนวทางงการเลื่อนระดับั เป็ นสามัญวิศวกร
ศ | สภาวิวิศวกร
_____________________________________________________________________

คอนกรีรี ต จะแตกร้้า วและกลไ กของคอนกกรี ต เสริ ม เห ล็ ก จะเริ่ ม ทํ า งาน จาก กระบวนกา รพัฒ นา
ความเเครี ย ดในหนน้ า ตัด เนื่ อ งจจากการดัด ตั้ง แต่ เ ริ่ ม ต้นจนคานวิ
น บับัติ จะสามาารถแบ่ ง เป็ นช่
น ว งของ
พฤติกรรมการดั
ร ดไดด้ดงั นี้

2.2.2.1 ก่อนคานนร้าว
ก่อนคอนนกรีตที่ผิวรับแรงดึ
บ งเริ่มแตกร้
แ าวหน้าตัด คสล. จะะมีพฤติกรรมมคล้ายคานคคอนกรีต
ล้วน ดังั นั้นจึงสามาารถใช้ทฤษฎียืดหยุน่ (elaastic theoryy) ในการวิเคราะห์หน้าตตัดได้ ทั้งนี้ พฤติกรรม
ของหน้น้าตัดในช่วงนี้นี้ สามารถอธิบายได้ตาม รูปที่ 2.2-22 เมื่อ Asคือ พื้ นที่ของเหล็ล็กเสริมรับแรงดึง, c
และ ctc คือ ความเครียดในคอนนกรีตในส่วนอั
น ด และความเครียดในนคอนกรีตในนส่วนดึง, fccและ แ fctคือ
หน่ วยแแรงในคอนกกรีตในส่วนอัอัด และความมเครียดในคคอนกรีตในส่ส่วนดึ ง ซึ่งในนกรณี นี้มีค่าน้อยกว่า
โมดูลสั แตกร้าว (fr)

รูปที่ 2.2-2 การกระจายยของความเคครียดและหน่ วยแรงในหน้


ว น้าตัดในภาวะะก่อนคานร้าว

2.2.2.2 หลังคานนร้าวแต่ก่อนประลั น ย
เมื่อคอนกรีตที่ ผิวรับแรงดึ งเริ่มแตกร้
แ าว และะมีแนวโน้มพุพ่งเข้าสู่แนวแแกนสะเทิ น (neutral
axis) เนื้ อคอนกรีตใต้
ใ แนวแกนดัดังกล่าวจะถูกสมมุ
ก ติวา่ รับแรงดึ
บ งไม่ได้้ ในภาวะนี้ เหหล็กเสริมรับแรงดึงจะ
เริ่มทํางาน
ง และใช้สมมุ
ส ติฐานในนการคํานวณ ณว่าความเครียดและหน่ วยแรงแปรผั
ย นนเป็ นเส้นตรงงและเป็ น
สัดส่วนกั
น น (รูปที่ 2.2-3)
2

MAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 18 ของบทที่ 2


PIMANM
คอนกรี
ค ตเสริมเหล็ก | หมวดดวิชาวิศวกรรมมโครงสร้าง
________________________________________________________________________

รูปที่ 2.2-3
2 การกระจายของคววามเครียดแลละหน่ วยแรงใในหน้าตัดในนภาวะคานแตกร้าวแต่กอนประลั
อ่ ย

2.2.2.3 เข้าสูภ่ าววะประลัย


ก มครากหหรือ c มีค่ามากขึ้ น (เข้าใกล้
เมื่อเหล็กเสริ า 0.003) การกระจาายของความเเครียดจะ
ยังคงสมมุติให้แปรผผันเป็ นเส้นตรง ต ในขณะทีที่หน่ วยแรงในคอนกรีตจะสมมุติให้มีพฤติกรรมแบบบไร้เชิง
เส้นซึ่งทัทว่ ไปจะกําหนนดให้เป็ นรูปพาราโบลา
ป (รูปที่ 2.2-4)

failure Concrete crushiing


f c  0.50 f c 8 f c
f c  0.85 0.85 f c 0.85 f c

s  y y y y
 s   y
Inelastic strain Inelastic straiin

ความเครียดและหนน่วยแรง ความเครีรียดแปรผันเป็ นเสส้นตรง


แปรผันเป็ นเส้นตรง
น แต่หน่วยแแรงแปรผันแบบไร้ร้เชิงเส้น
รูปที่ 2.2-4 พัฒนาการในการกระจายตัวของหน่ วยแรรงและความเครียด

2.2.3 ความเครียดบดอั
ย ดของงคอนกรีต (Crushing
( strrain of concrete)
ความเครียดบดอัด (cruushing strainn, cu) คือ ความเครี
ค ยดอัอัดของคอนกกรีต ณ จุดวิบับตั ิ (รูปที่
2.2-5) ซึ่งสังเคราะห์ได้จากการทดสอบชิ้ นทดสอบลู
น กทรงกระบอก
ท ง ค่า cu
(cylinder sppecimen) ทั้งนี้
จะมีค่ามากกว่า o หรื
ห อความเครียด ณ จุดที่คอนกรีตมีกํกาํ ลังอัดสูงสุด (fc)

อ พิมานมาศศ และ ภาณุ วฒน์


อมร ฒ
ั จ้อยกลัด | หน้าที่ 19 ขอองบทที่ 2
แนวทางงการเลื่อนระดับั เป็ นสามัญวิศวกร
ศ | สภาวิวิศวกร
_____________________________________________________________________

รูปที่ 2.2-5
2 กราฟฟความสัมพันธ์
น ระหว่างหหน่ วยแรงและความเครียด
ย ซึ่งมีความมเครียด ณ จุจดวิบัติ
เริ่มต้นที่ 0.003

2.2.4 รูปแบบการวิบตั ขิ องหน้าตัด : ใช้ฐานของควา


ฐ ามเครียด (SStrain based))
หน้าตัดคอนกรีตเสริมเหล็
เ กรับการรดัด จะถือว่าสิ้
า นสุดการรัรับกําลังก็ต่อเมื่อความเคครียดของ
คอนกรีรีตที่ผิวรับแรรงอัด (c) มีค่าเท่ากับความเครียดบบดอัด (cu) ส่วนการกําหหนดรูปแบบการวิบตั ิ
ต้องย้อนกลับมาพิจารณาสถาน
จ นะของความเครียดดึงในเเหล็กเสริม (s) อีกครั้งว่าพัฒนาควาามเครียด
ถึงจุดคราก (y = fy/Es) หรือไม่ม่ โดยเกณฑ์ดัดงั กล่าวสามาารถแบ่งรูปแบบบการวิบตั ิขของหน้าตัดรับแรงดัด
ได้ดงั นี้
1. หาก c = cuในขณ ณะเดียวกันsพัฒนาความมเครียดถึงy พอดี (s=y) จะเรียกกการวิบตั ินี้
ว่า “กาารวิบตั ทิ ี่จดุ สมดุ
ส ล (balannced failure))”
2. หาก c = cu แต่s ยังพัฒนาไมม่ถึงy(s<y) จะเรียกกาารวิบตั ินี้ว่า “การวิบตั ิโดยยแรงอัด
เป็ นหลัลัก (compresssion failure)”
3. หาก c = cu โดยทที่ s พัฒนาเเลย y(s>y) จะเรียกกาารวิบตั ินี้ว่า “การวิบตั ิโดยแรงดึง
เป็ นหลัลัก (Tension failure)”

2.2.5 สมมุตฐิ านใในการวิเครราะห์หน้าตัดรั


ด บแรงดัด
(ก) ระนาาบของหน้าตัดั ก่อนการดัดยั
ด งคงเป็ นระะนาบหลังกาารดัด
(ข) คอนกรีตรับแรงดึึงได้นอ้ ยมากก
(ค) คอนกรีตและเหล็กยึดเกาะกันดีน มาก
(ง) หน้าตัตดคอนกรีตเสริ ย cu= 0.0003
เ มเหล็กจะะถือว่าวิบตั ิเมื่อความเครียด
(จ) หน่ วยแรงอั
ย ดในคอนกรีตซึ่งไมม่เป็ นเชิงเส้น สามารถใช้การกระจายเชิ
ก ชิงเส้นเทียบเเท่าได้

MAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 20 ของบทที่ 2


PIMANM
คอนกรี
ค ตเสริมเหล็ก | หมวดดวิชาวิศวกรรมมโครงสร้าง
________________________________________________________________________

2.2.6 เหล็กเสริมสมดุ ก มสูงสุด และเหล็กเสริมขั้นตํา่


ม ล เหล็กเสริ
จากการทดดสอบในห้องปฏิ
ง บัติการพบว่า การกกระจายตัวขอองหน่ วยแรงงอัดในคาน ณ ภาวะ
ประลัยมี
ย ลักษณะเป็ป็ นรูปเส้นโค้ค้งพาราโบลาา ซึ่งมีค่าหนน่ วยแรงสูงสุดเท่
ด ากับ 0.885fc และมีความลึ ก
เท่ากับความลึกของงความเครียดอัด ด ซึ่งกําหนดให้วดั จากกผิวรับแรงอัดั มีค่ากับ c อย่างไรก็ดีดีได้มีการ
สร้างหนน่ วยแรงอัดรูปกล่อง (com
mpressive sttress block)) เพื่อให้การวิวิเคราะห์สะดดวกขึ้ น กล่องดั
ง งกล่าว
ใช้หน่ วยแรงอัดเฉลี่ยเท่ากับ 0.885fc โดยมีความลึ
ค กเท่ากับ a เมื่อ a มีค่าเท่ากับ1c (ดูรูปที่ 3.2-6)
3

รูปที่ 2.2-6หน่ วยแรงออัดรูปกล่องสําหรับการวิเคราะห์


ค และออกแบบหน้าตัดรับแรงดัด

เมื่อ 1 = 0.85
0 เมือ่ fc<280kssc
= 0.85-
0 (0.05/70)(fc -280)
- เมือ่ fc>280kssc
ทั้งนี้ ค่า 1 ต้องมีค่าไม่
า ตาํ ่ กว่า 0.65
0

ในการวิเครราะห์หน้าตัดคานจํ
ด าเป็ นที
น ่จะต้องรูก้ ่อนว่ ด ดการวิิบตั ิแบบใด จากการ
อ าหน้าตัดจะเกิ
เปรียบเทียบปริมาณ ใ าตัด  = As/(b××d) กับปริมาณเหล็
ณเหล็กเสริมในหน้ า กเสริมมสมดุล (b) ซึ่งมีค่า
เท่ากับ (2.2-1)

f c 6120
b  0.85 1( )( ) (2.2-1)
(
fy 6120  fy

โดย   b ถือเป็ น การวิบตั ทิ จุจี่ ดสมดุล


  b ถือเป็ น การวิบตั เิ นื่องจากแรงดึดึงเป็ นหลัก
  b ถือเป็ น การวิบตั เิ นื่องจากแรงออัดเป็ นหลัก
อ พิมานมาศศ และ ภาณุ วฒน์
อมร ฒ
ั จ้อยกลัด | หน้าที่ 21 ขอองบทที่ 2
แนวทางการเลื่อนระดับเป็ นสามัญวิศวกร | สภาวิศวกร
________________________________________________________________

อย่างไรก็ดีมาตรฐาน วสท./ACI ได้เพิ่มข้อกําหนดให้กบั องค์อาคารรับแรงดัดและแรงอัดซึ่งมี


แรงดัดร่วมด้วย เมื่อกําลังรับแรงตามแนวแกน Pn มีค่าตํา่ กว่า 0.10fcAgหรือ Pbว่า “ค่า  ต้องไม่
เกิน 0.75b” หรือกล่าวได้วา่ เหล็กเสริมในหน้าตัด () ต้องมีค่าไม่เกิน maxเมื่อ max = 0.75b
ทั้งนี้ Park and Paulay (1975) เสนอว่าหากกําลังครากของเหล็กอยู่ระหว่าง 2,400 ถึง
4,000kscและกําลังอัดประลัยอยูร่ ะหว่าง200 ถึง400ksc ค่าbจะมีค่าอยูร่ ะหว่าง 0.377(fc/fy) ถึง
0.495(fc/fy) โดยที่ Whitney (1937) แนะนําให้ใช้ค่า b = 0.456(fc/fy) ในขณะที่ในยุดหนึ่ ง ACI
เคยแนะนําให้ใช้ค่า max = 0.18(fc/fy)
ทั้งนี้ การเสริมเหล็กในหน้าตัดจะต้องไม่น้อยเกินไป โดยมาตรฐาน วสท./ACI ได้กาํ หนดให้
ปริมาณเหล็กเสริมในหน้าตัด () จะต้องไม่นอ้ ยกว่า ปริมาณเหล็กเสริมตํา่ สุด (min) ดังนี้ (ก) 14/fy
โดยสํ า หรั บ คานรู ป ตั ว ที แ ละตง ซึ่ ง ตั ว คานเป็ นส่ ว นรั บ แรงดึ ง ให้ใ ช้ค วามกว้า งของตั ว คาน
ในการคํานวณหา  หรือ (ข) 1.33 เท่าของพื้ นที่เหล็กเสริมที่ตอ้ งการจริงตามทฤษฎี

2.2.7 การวิเคราะห์หน้าตัดรับแรงดัด : เสริมเฉพาะเหล็กเสริมรับแรงดึง


เมื่ อ ทราบมิ ติ ข องหน้ า ตัด กํา ลัง ของวัส ดุ แ ละปริ ม าณเหล็ ก เสริ ม กํา ลัง ดัด ระบุ (nominal
strength) ของหน้าตัดสามารถประเมินได้ (2.2-2)ดังนี้

Mn  C  jd หรือ T  jd (2.2-2)

เมื่อ C คือ แรงอัดในหน้าตัด คํานวณจาก 0.85fcab


ในขณะที่ T คือ แรงดึงในหน้าตัด คํานวณจาก As  f s
และ jd คือ แขนของโมเมนต์ค่คู วบ คํานวณจาก (d – a/2)

ซึ่งจากการประเมินจะพบว่าตัวแปรที่ไม่ทราบค่าในสูตรด้านบนประกอบด้วย a และ fs อย่างไร


ก็ ดี หากเราสามารถประเมินรูปแบบการวิบัติของหน้า ตัดจาก b แล้วจะทําให้สามารถลดรูปการ
วิเคราะห์ได้ดงั นี้
(ก) กรณีวบิ ตั ิโดยแรงดึงเป็ นหลัก (c = cu และ s>>y หรือ fs = fy)
เมื่อ s>>y จะสามารถกําหนดให้ fs = fy นัน่ คือ T = Asfy ซึ่งเมื่อสมดุลกับ C แล้วจะสามารถแก้
สมการเพื่อหาค่า a และแทนค่ากับใน (2.2-1) ได้อย่างไรก็ดีในกรณีของคานและแผ่นพื้ น ซึ่งมี
ปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึงไม่มาก ค่า jd จะมีค่าประมาณ (7/8)d นั น่ คือจะสามารถเขียน
(2.2-2) ได้ใหม่คือ
PIMANMAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 22 ของบทที่ 2
คอนกรี
ค ตเสริมเหล็ก | หมวดดวิชาวิศวกรรมมโครงสร้าง
________________________________________________________________________

7 (2.2-3)
(
M n  As f y  d
8

(ข) กรณีวิบิ ตั ิโดยแรงอัดเป็ นหลัก (c = cu แลละ s<y หรือ fs = Es*s)
เมื่อ s<y ค่คา fsจะต้องคคํานวณจาก Ess เมื่อ s คํานวณจากสามเหลี่ยมคคล้ายของการรกระจาย
ของควาามเครียดในหน้าตัด (ดูรูรูปที่ 2.2-6) นัน่ คือ s= 0.003[(dd-1a)/1aa] นัน่ คือเมื่อนํา T ที่
เกิดจากก Asและ fs ข้างต้น ไปสมมดุลกับ C แล้วจะสามาารถแก้สมการเพื่อหาค่า a และแทนนค่ากับใน
(2.2-22) ได้ ในกรณีนี้พบว่าหาาก <b จะเเป็ นผลให้ปัจจั จ ยที่ควบคุมการวิ
ม บตั ิของงหน้าตัดคือคอนกรีต
มิใช่เหล็ล็กเสริม โดยยจากการศึกษาของ ษ Parkk and Pauulay (19755) ค่า Mn จจะแปรผันผันระหว่
น าง
0.294bd2fc ถึง 0.357bd2fc เมื
เ ่อกําลังคราากของเหล็กอยู
อ ร่ ะหว่าง 2,400
2 ถึง 4,000 ksc และกํ
แ าลัง
อัดประลัยอยูร่ ะหว่าง
า 200 ถึง 400ksc
4 โดย Whitney (1937) แนะนนําให้ใช้ค่าตาามสมการด้านล่าง

M n  0.333bd 2 f c (2.2-4)
(

2.2.8 พฤติกรรมของหน้าตัดรั ด บแรงดัด : หน้าตัดทีมี่มีปีกคานและะเสริมเหล็กกรับแรงอัด


โดยทัว่ ไปหน้าตัดจะมีเหล็
ห กเสริมในตตําแหน่ งที่คอนกรี
อ ตเกิดหนน่ วยแรงอัด ซึ่งเรียกว่า เหหล็กเสริม
รับแรงอัด เหล็กเสริริมนี้ อาจจะมมาจากความตั้งใจที่จะให้ไ้ ปช่วยคอนกกรีตรับแรงอัอัด หรือต้องกการเสริม
เพื่อให้ก้ ่อสร้างได้ ผลของเหล็
ผ กเสริมรับแรงอัด (รวมถึงการวิ
ก เคราะหห์ที่รวมผลขอองปี กคาน ซึ่งเกิง ดจาก
การรวมมผลของการหหล่อเป็ นเนื้ อเดี
อ ยวกับแผ่นพื้
น น) จะช่วยให้
ย กาํ ลังดัดเพิ่มขึ้ น เพื่อความเหนี ยวของหน้
ว า
ตัด ส่วนร้
น อยละของงการเพิ่มขึ้ นขข้างต้นจะมากหรือน้อยขึ้ นอยู
น ่กบั สัดส่วนของพาราามิเตอร์ต่างๆๆ ในหน้า
ตัด

รูปที่ 2.2-7
2 การเปปรียบเทียบโมมเมนต์ดดั แลละความโค้งของหน้
ข าตัด เมื
เ ่อแปรผันพพารามิเตอร์ต่ตางๆใน
หน้าตัด
อ พิมานมาศศ และ ภาณุ วฒน์
อมร ฒ
ั จ้อยกลัด | หน้าที่ 23 ขอองบทที่ 2
แนวทางการเลื่อนระดับเป็ นสามัญวิศวกร | สภาวิศวกร
________________________________________________________________

หากพิ จ ารณารู ป ที่ 2.2-7 ซึ่ ง เป็ นกราฟที่ แ กนตั้ง คื อ กํา ลัง ดัด และแกนนอนคื อ ความโค้ง
(curvature, ) ซึ่งสะท้อนถึงการเสียรูปของหน้าตัด พบว่าในกรณีที่เหล็กเสริมรับแรงดึงมีปริมาณ
น้อ ย เช่ น ไม่ เ กิ น ไปกว่ า max การเพิ่ ม ปริ ม าณเหล็ ก เสริ ม รับ แรงอัด (Asหรื อ )รวมถึ ง fc และ
ความกว้างของส่วนพื้ นที่รบั แรงอัด (b) จะมีส่วนช่วยเพิ่ม Mn น้อยมากๆ (แต่เพิ่มความเหนี ยวในหน้า
ตัดให้มากขึ้ น) นัน่ คือหากผูว้ เิ คราะห์ตรวจสอบแล้วว่าหน้าตัดมีพฤติกรรมการวิบตั ิแบบแรงดึงเป็ นหลัก
การวิเคราะห์หน้าตัดที่เสริมเหล็กเสริมรับแรงอัด หรือหน้าตัดรูปตัวที อาจใช้แนวคิดของกรณีการเสริม
เฉพาะเหล็กเสริมรับแรงดึงได้ โดยผลที่ได้จะให้ค่าที่ conservative

2.2.9 การออกแบบหน้าตัดอย่างง่าย
สําหรับการออกแบบหน้าตัดคานรับแรงดัด จะกระทําเมื่อทราบ Mu หรือโมเมนต์เพิ่มค่า ซึ่ง
มาตรฐานกําหนดให้การออกแบบต้องควบคุมให้การวิบตั ิเกิดจากเหล็กเสริมหรือ tension failure
ดังนั้นจึงสามารถประยุกต์ใช้ (2.2-3) ในการออกแบบเหล็กเสริมรับแรงดึงได้ เมื่อกําหนดให้ Mu =
Mn เมื่อ  = 0.9 กรณีการดัด ดังนี้

Mn (2.2-5)
As 
7
fy ( )d
8

ทั้งนี้ ต้องการมีตรวจสอบอีกครั้งว่า As ที่ได้มีค่าน้อยกว่า 0.75As,b หรือไม่ หากไม่จริงสามารถ


เพิ่มค่า d เพื่อปรับค่าลง หลังจากนั้นให้ตรวจสอบ As ที่ได้กบั As,min อีกครั้ง เพื่อที่จะแน่ ใจว่าปริมาณ
เหล็กเสริมไม่ได้มีน้อยเกินไป โดยในแนวคิดนี้ เหล็กเสริมรับอัดจะเสริมตามแบบทัว่ ไป หรือเพื่อคล้อง
เหล็กปลอก หรือเพื่อความต้องการที่จะควบคุมการแอ่นตัวเท่านั้น

2.3 แรงยึดเหนี่ยว และรายละเอียดเหล็กเสริม


สมมุติฐานสําคัญของคอนกรีตเสริมเหล็ก คือ แรงยึดเหนี่ ยว (bond) ระหว่างคอนกรีตและ
เหล็ก จะต้องเกิดอย่างสมบูรณ์ มิเช่นนั้นโครงสร้างจะเสียสมดุลของแรง และเกิดการลื่นไถลของเหล็ก
เสริม (slip) ทําให้เกิดรอยแตกร้าวตามแนวการเสริมเหล็กได้ (รูปที่ 2.3-1)

PIMANMAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 24 ของบทที่ 2


คอนกรี
ค ตเสริมเหล็ก | หมวดดวิชาวิศวกรรมมโครงสร้าง
________________________________________________________________________

รูปที่ 2.3-1 รอยแตกร้าวตตามแนวเหล็ล็กเสริมเนื่ องจากการสู ง ญ ยแรงยึดเหนี่ ยว แสดดงในรูป


ญเสี
ด้านซ้าย ในขณะที่รูรปู ด้านขวาแสสดงการวิบตั ิเนื่ องจากแรงงยึดเหนี่ ยวระะหว่างเหล็กเเสริม หรือระยะทาบ
ไม่เพียงพอ

2.3.1 แรงยึดเหนีนี่ยว (Bond)


แรงยึดเหนีนี่ ยวเป็ นแรงทที่ ทําให้ไม่ให้
หเกิดการลื่นไถลระหว่
น างเหล็
ง กเสริ มกับคอนกรีต แรงยึด
เหนี่ ยวระหว่างคอนนกรีตและเหล็กเสริมจะททําให้ความเคครียดของวัสดุ ส ท้ังสองมีค่าใกล้เคียงกักันซึ่งเป็ น
ลักษณะะการทํางานขของวัสดุผสมมโดยแรงยึดเหหนี่ ยวของเหล็กเสริมกับคอนกรี ค ตเกิดดขึ้ นจาก 3 ปัั จจัย (1)
แรงยึ ดเกาะทางเค
ด คมี ข องปูน ซี เมนต์กับ เหหล็ ก (adhessive)(2) แรรงฝื ดระหว่ าางคอนกรี ต กัก บ เหล็ ก
(friction) และ (3 ) แรงยึ ด รั้ง ทางกล ผ่ า นบั น ้ ง (lug) ทั้ง นี้ ในเหล็ กข้อ อ้อ ยจะะเกิ ด หน่ ว ยแแบกทาน
(bearinng stress)ที่บริเวณบั้งหรืห อเหล็กข้ออ้อยจะมีคุณสมบั
ณ ติการยึยึดเหนี่ ยวที่ดีกว่าเหล็กกลลมนัน่ เอง
(รูปที่ 2.3-2)

T

On Components on
On bar concrete
e concrete

รูปที่ 2.3-2 แรงแบกททานที่เกิดขึ้ นบบริเวณบั้งของงเหล็กเสริม

2.3.2 หน่วยแรงยึยึดเหนี่ยว (Bond stresss)


หน่ วยแรงเฉฉือน (shearr stress) ที่ผิวสัมผัสขอองเหล็กเสริมกั
ม บคอนกรีต (รูปที่ 2.33-2 และ
2.3-3) เรียกว่า หนน่ วยแรงยึดเหหนี่ ยว (bondd stress, u) จากการทดสสอบ u ที่ภาววะประลัยของงเหล็กข้อ
อ้อย 1 เส้นหรือ un มีค่าระหว่าง 19.85(fc)0.5 ถึง 23.15(fc)0.5 ค่าดังกล่าวมีค่าาลดลงประมาาณ 20%
เมื่อทดสอบกับเหล็กหลายเส้
ก นวางเรียงกันในน 1 ชั้น (รูปที
ป ่ 2.3-3)
อ พิมานมาศศ และ ภาณุ วฒน์
อมร ฒ
ั จ้อยกลัด | หน้าที่ 25 ขอองบทที่ 2
แนวทางการเลื่อนระดับเป็ นสามัญวิศวกร | สภาวิศวกร
________________________________________________________________

A B C

L1 L2

L1 L2
T= d2bfy/4 T

A B B C

รูปที่ 2.3-3การพัฒนาแรงยึดเหนี่ ยวตามแนวเหล็กเสริม

2.3.3 ระยะฝังยึด (Development length)


ระยะที่ตอ้ งฝั งเหล็กเสริมเพื่อให้เกิดการถ่ายแรงจากคอนกรีตไปยังเหล็กเสริม ซึ่งทําให้เหล็ก
เสริมเกิดกําลังรับแรงจากศูนย์ถึงค่าสูงสุด เรียกว่า ระยะฝังยึด (developmentlength หรือ anchorage
length) ซึ่งโดยพื้ นฐานคํานวณจาก

fy
ld  db  (2.3-1)
4u

เมื่อ u คือ bond strength ซึ่งกําหนดโดยมาตรฐานออกแบบ

ทั้งนี้ ระยะฝังขึ้ นอยูก่ บั (1) กําลังรับแรงอัดของคอนกรีต (2) กําลังครากของเหล็กเสริม และ


(3) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของเหล็กเสริมเมื่อระยะฝังของเหล็กเสริมรับแรงดึงจะแตกต่างจากเหล็ก
เสริมรับแรงอัด โดยระยะฝังของเหล็กเสริมรับแรงดึงจะมีระยะฝังยึดมากกว่าระยะฝังของเหล็กเสริมรับ
แรงอัดจาก ACI สมการของระยะฝังสามารถหาได้จากสูตร

2.88 f y    d b
ld 
c k (2.3-2)
10 f c  b tr
db

Cb  kt
โดย <2.5
db
เมื่อ ld คือ ระยะฝังซึ่งต้องไม่ตาํ ่ กว่า 30 ซม.
PIMANMAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 26 ของบทที่ 2
คอนกรีตเสริมเหล็ก | หมวดวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
_____________________________________________________________________

db คือ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของเหล็กเสริม
 ,  ,  ,  คื อ ค่าสัมประสิทธิ์ตําแหน่ งของเหล็ กเสริมค่าสัมประสิทธิ์การเคลื อบผิ วเหล็ กค่า
สัมประสิทธิ์ขนาดของเหล็กเสริมและค่าสัมประสิทธิ์ชนิ ดของคอนกรีต

2.3.3.1 ค่าสัมประสิทธิ์ตาํ แหน่งของเหล็กเสริม (Reinforcement Location Factor,  )


โดย ACI กําหนดสัมประสิทธิ์ตาํ แหน่ งของเหล็กเสริมตามเหล็กเสริมบน และเหล็กเสริมอื่นๆ
โดยเหล็กเสริมบนคือเหล็กเสริมตามแนวนอนที่มีคอนกรีตเทอยูใ่ ต้เหล็กมากกว่า 30 ซม.เนื่ องจากโดย
ปกติการเทคอนกรีตและการจี้ คอนกรีตทําให้มีฟองอากาศและนํ้าอยูใ่ ต้ ทําให้เหล็กเสริมบนไม่เกิดแรง
ยึดเหนี่ ยวมากเท่าเหล็กเสริมอื่นๆ ซึ่งทําให้การสูญเสียแรงยึดเหนี่ ยวทําให้ตอ้ งมีระยะฝังมากขึ้ นโดย
α = 1.3 สําหรับเหล็กเสริมบน และ α = 1.0 สําหรับเหล็กอื่นๆ
2.3.3.2 ค่าสัมประสิทธิ์การเคลือบผิวเหล็ก (Coating Factor,  )
ในบางครั้งเหล็กเสริมที่ใช้มีการเคลือบอีพ็อกซีเพื่อป้องกันการกัดกร่อน การเคลือบอีพ็อกซี
อาจทําให้รอยต่อระหว่างเหล็กและคอนกรีตสูญเสียแรงยึดเหนี่ ยว เป็ นเหตุให้เหล็กเสริมต้องการระยะ
ฝั งเพิ่มมากขึ้ น โดย ACI กําหนดค่า b สําหรับกรณีต่างๆดังต่อไปนี้ (1) 1.3 สําหรับเหล็กเสริมที่
เคลือบอีพ็อกซีซึ่งที่มีคอนกรีตหุม้ ไม่เกิน 3db หรือระยะห่างต้องไม่เกิน 6db (2) 1.2 สําหรับเหล็กเสริม
ที่เคลือบอีพ็อกซีกรณีอื่นๆ และ (3) 1.0 สําหรับเหล็กเสริมที่ไม่เคลือบเมื่อ dbคือ เส้นผ่านศูนย์กลาง
ของเหล็กเสริม

2.3.3.3 ค่าสัมประสิทธิ์ขนาดของเหล็กเสริม (Reinforcement size factor,  )


โดย ACI กําหนดให้ใช้ 0.8 สําหรับเหล็กที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางเล็กกว่า 20 มม. และ 1.0
สําหรับเหล็กที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 25 มม. ขึ้ นไป

2.3.3.4 ค่าสัมประสิทธิ์ชนิดของคอนกรีต (Lightweight aggregate concrete factor,  )


คอนกรีตมวลเบามีค่ากําลังรับแรงดึ งตํา่ กว่าคอนกรีตธรรมดาจึงจําเป็ นต้องมีระยะฝั งเพิ่ม
มากขึ้ น จากสมการ 2.3-2 ด้ ว ยค่ า  ซึ่ ง มี ค่ า เท่ า กั บ (1) 1.3 สํ า หรั บ คอนกรี ต มวลเบา
(2) 1.76(fc)0.5/fct>1.0 เมื่อทราบหน่ วยแรงดึง (fct) ของคอนกรีตและ (3) 1.0 สําหรับคอนกรีต
ปรกติ

อมร พิมานมาศ และ ภาณุวฒ


ั น์ จ้อยกลัด | หน้าที่ 27 ของบทที่ 2
แนวทางการเลื่อนระดับเป็ นสามัญวิศวกร | สภาวิศวกร
________________________________________________________________

2.3.3.5 ค่าสัมประสิทธิ์ระยะเรียงและระยะหุม้ คอนกรีต (spacing or cover dimension, cb )


มาตรฐาน ACI กําหนด cb เป็ นค่าสัมประสิทธิ์ของระยะหุม้ คอนกรีตโดยใช้ค่าน้อยระหว่าง
ระยะจากศูนย์กลางเหล็ กเสริ มถึ งผิ วด้านนอกของคอนกรีต (X1) และหรื อ 1/2 เท่ าของระยะห่าง
ระหว่างเหล็กเสริม (X2)

2.3.3.6 ดัชนีเหล็กเสริมตามขวาง (Transverse reinforcement index, ktr )


เหล็กปลอกจะทําให้มีการโอบรัดช่วยต้านทานการแยกตัวของคอนกรีต ซึ่งพิจารณาเป็ นตัว
คูณ ktr ดัง(2.3-3) โดย ACI แนะนําให้ใช้ค่า ktr = 0 เพื่อความสะดวกในการคํานวณ

Atr f yt
K tr  (2.3-3)
100  s  n

เมื่อ s คือ ระยะเรียงของเหล็กปลอก (ซม.)


n คือ จํานวนเหล็กเสริมตามแนวยาวของรอยปริแตก
Atr คือ พื้ นที่หน้าตัดรวมของเหล็กปลอก (ซม.2)
f yt คือ ค่ากําลังครากของเหล็กปลอก (กก./ซม.2)

2.3.4 ระยะฝังสําหรับเหล็กเสริมรับแรงอัด
ระยะฝังของเหล็กรับแรงอัดจะน้อยกว่าเหล็กรับแรงดึง เนื่ องจากการโอบรัดของเหล็กปลอกจะ
ช่วยต้านทานการเกิดรอยแตกและมีโอกาสน้อยในการลื่นหลุด ทั้งนี้ ACI กําหนด ความยาวระยะฝังของ
เหล็กที่รบั แรงอัดจาก (2.3-4)ดังนี้

0.08 f y d b
ldc  (2.3-4)
f
c

อย่างไรก็ตามความยาวระยะฝังดังกล่าวต้องไม่น้อยกว่า ld = 0.044fydb>20 ซม. ทั้งนี้ สามารถ


ลดความยาวของระยะฝั งได้เช่นเดี ยวกับระยะฝั งของเหล็ กรับแรงดึ ง ด้วยตัวคูณ Rd ซึ่ งมีค่ าเท่ ากับ
As,req/As,pro เมื่อ As,req และ As,pro คือ ปริมาณเหล็กเสริมที่ตอ้ งการตามทฤษฎี และปริมาณเหล็ก
เสริมที่เสริมจริงในหน้าตัด ตามลําดับ

PIMANMAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 28 ของบทที่ 2


คอนกรี
ค ตเสริมเหล็ก | หมวดดวิชาวิศวกรรมมโครงสร้าง
________________________________________________________________________

2.3.5 ระยะฝังสําหรั า บเหล็กซึ่งมัดเป็ นกํา


เมื่อจํานวนนเหล็กเสริมมีปริมาณมากก มาตรฐาน ACI แนะนําให้จดั เหล็ล็กเสริมรวมเเป็ นกําได้
(bundleed bars) โดดยเหล็กเสริมมั ม ดรวมเป็ นกําสามารถคํคํานวณเปรียบเที บ ยบกับเหหล็กเสริมแบบบเดี่ยวได้
ทั้งนี้ ระยะฝั งสําหรับเหล็
บ กที่มดั เป็
เ นกําจะมีค่ค่ามากกว่าเมืมื่อเปรียบเทียบกั
ย บระยะฝัฝั งของเหล็กเสริ
เ มเส้น
เดี่ยว การคํ
ก านวณระยะฝังของเหหล็กเสริมมัดเป็ ด นกําจะคํานวณจากระ
า ยะฝังแบบเหหล็กเสริมเดี่ยวได้
ย ตาม
ACI อย่างไรก็ดีระยยะฝังสําหรับการมัดของเหล็ก 3 และ 4 เส้นจะต้ต้องคูณด้วย 1.20 และ 1.33 ของ
ระยะฝังที ง ่คาํ นวณตาามแบบเหล็กเสริ
ก มเดี่ยว โดยการคํ
โ านววณ db ดูได้จากรู
า ปที่ 2.3-4

รู ่ 2.3-4 การคํานวณพพื้ นที่เสมือนขของเหล็กเสริริมที่มดั เป็ นกํกํา


รปที

2.3.6 ของอมาตรรฐาน (Standdard hook)


การทําของงอมีความจําเป็ นเมื่อที่ ว่างของโครงส
า สร้างไม่สามาารถให้ระยะฝั งได้เพียงพพอ (รูปที่
2.3-5) กรณีการขของอแบบ 900 องศา, 1335 องศาและ 180 องศา จะต้องมีระยยะฝังขั้นตํา่ ตามที่ ACI
กําหนดด

Ldh Ld

รูปที่ 2.3--5ระยะงอขออมาตรฐาน

อ พิมานมาศศ และ ภาณุ วฒน์


อมร ฒ
ั จ้อยกลัด | หน้าที่ 29 ขอองบทที่ 2
แนวทางงการเลื่อนระดับั เป็ นสามัญวิศวกร
ศ | สภาวิวิศวกร
_____________________________________________________________________

ตาม ACI การงอขอต้องมีอ ขนาดตาามข้อกําหนดดและมีความยาวพอเพียง โดยข้อควรระวัง คือ


1. การเลื่อนหลุดขอองคอนกรีตบริ
บ เวณที่ของออ 2. การแตกกของคอนกรีตในบริเวณทีที่ของอระยะฝัฝังสําหรับ
การข้องอ
ง 90 และ 180 องศา สามารถคํ
ส านวณได้
น จาก(22.3-5)

0.08 f y d b
ldh  (22.3-5)
f c

การคํานวณณระยะฝัง ldh สามารถลดดค่าได้ตามเงื่อนไขที่กาํ หนนดใน ACI ในนทุกกรณีระยยะฝังต้อง


มีค่าไม่น้อยกว่า 155 ซม. หรือ 8 เท่าของขนาาดเส้นผ่าศูนย์
น กลางเหล็กเสริม

2.3.6.1 รายละเอีอียดการงอขอ
รายละเอียดของการงอขอประเภทต่างๆ เป็ นไปปตามรูปที่ 2.3-6
2

180˚ Hook, Primary Reinfforcement 90˚ Hook, Primary Reinforcement

90˚ Hook, Ties and Stirrups 135˚ Hook,


H Ties and Stirrups
รูปที่ 2.3-6 รายละะเอียดในการรของอประเภภทต่างๆ

MAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 30 ของบทที่ 2


PIMANM
คอนกรีตเสริมเหล็ก | หมวดวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
_____________________________________________________________________

2.3.7 การต่อทาบเหล็กเสริม (Lap Splice)


การต่อทาบจะทําให้ที่รอยต่อทาบของเหล็กเสริมจะเกิดการถ่ายแรงจากเหล็กเสริมไปยังเหล็ก
เสริมอีกเส้น โดยเหตุผลที่ ตอ้ งมีการต่อทาบ (1) ความยาวของเหล็ กเสริมมีจาํ กัด (2) การเปลี่ยน
ขนาดเหล็กเสริม และ (3) จุดต่อเพื่อความสะดวกในการก่อสร้าง

2.3.7.1 การต่อทาบเพื่อรับแรงดึง
การต่อทาบเหล็กเพื่อรับแรงควรหลีกเลี่ยงปริมาณเหล็กที่มากเกินไปบริเวณจุดต่อตาม ACI
การต่อทาบรับแรงดึงจะมี 1 แบบ 1. การต่อแบบ A Type จะใช้ความยาวระยะต่อทาบเท่ากับ
ความยาวระยะฝังรับแรงดึง และ 2. การต่อแบบ B Type จะใช้ความยาวระยะต่อทาบเพิ่มอีกร้อยละ 30
ของระยะฝั งรับแรงดึง ทั้งนี้ ต้องไม่น้อยกว่า 30 ซม. โดยการจําแนกชั้นคุณภาพของการต่อทาบ ดูได้
จากตารางที่ 2.3-1

ตารางที่ 2.3-1 เกณฑ์การจําแนกการต่อทาบแบบ A และ B


As,pro/As,req ปริมาณสูงสุดของเหล็กเสริมที่ต่อทาบกันภายในความยาวระยะ
ทาบ
>2 Type A Type B
<2 Type B Type B

2.3.7.2 การต่อทาบเพื่อรับแรงอัด
ACI กําหนดให้การต่อทาบแบบรับแรงอัดให้ขึ้นอยู่กบั ขนาดของเหล็กเสริมและชนิ ดของ
เหล็กเสริมดังนี้ (1) 20 เท่าของขนาดเหล็กเสริมและ fy = 2,400ksc (2) 30 เท่าของขนาดเหล็ก
เสริมและ fy = 4,000ksc (3) 44 เท่าของขนาดเหล็กเสริมและ fy = 5,000kscและในทุกกรณีระยะ
ต่อทาบจะต้องไม่นอ้ ยกว่า 30 ซม.

2.3.8 การหยุดเหล็กเสริม
การหยุดเหล็กสามารถทําได้โดยเป็ นไปตามเงื่อนไขของ ACI code นัน่ คือ ตําแหน่ งที่ตดั เหล็ก
ทางทฤษฎีตอ้ งทําการยื่นเหล็กให้เลยไปอีก 12db หรือ d โดยใช้ค่ามากเป็ นตัวกําหนด อย่างไรก็ตาม
ไม่ควรลดเหล็กบริเวณคานยืน่ ตําแหน่ งหยุดเหล็กตาม ACI แสดงไว้ดงั รูปที่ 2.3-8

อมร พิมานมาศ และ ภาณุวฒ


ั น์ จ้อยกลัด | หน้าที่ 31 ของบทที่ 2
แนวทางการเลื่อนระดับเป็ นสามัญวิศวกร | สภาวิศวกร
________________________________________________________________

2.3.8.1 เหล็กรับโมเมนต์ลบหรือเหล็กเสริมลบ
บริเวณจุดรองรับ จะเสริมเหล็ก K และ J เพื่อรับโมเมนต์ลบ โดยการหยุดเหล็ก K ต้องให้มี
ระยะยื่นออกมาจากจุดรองรับเป็ นระยะเท่ากับระยะฝัง ldโดยระยะจากปลายการหยุดเหล็ก K จะต้อง
เลยตําแหน่ งกําลังต้านทานโมเมนต์ J ออกไปไม่น้อยกว่าความลึกประสิทธิผลหรือ 12db และเหล็ก
เสริม J จะต้องปล่อยเหล็กให้ยาวเลยตําแหน่ งกําลังต้านทานโมเมนต์ J ไปเท่ากับระยะฝั ง ld โดยมี
ปริมาณที่ยื่นเหล็กออกไปอย่างน้อยต้อง 1 ใน 3 ของเหล็กรับโมเมนต์ลบ ที่ระยะจากจุดดัดกลับ PI
ออกไปไม่นอ้ ยกว่าความลึกประสิทธิผลหรือ 12db หรือ ln/16, โดยใช้ค่ามากเป็ นตัวกําหนด

PIMANMAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 32 ของบทที่ 2


คอนกรีตเสริมเหล็ก | หมวดวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
_____________________________________________________________________

C
L

Face of Moment Strength of


Support steel bar G

P.I P.I

Moment Strength of
steel bar J
Moment Curve

≥(d,I2db or ln/16 )

≥Ld
≥(d or I2db)
Steel bar J

≥Ld Embedment of bar a≥Id


P.I

Steel bar G Steel bar H


Diameter of steel bar G
≥(d or I2db)
is limited by Section
Section 12.2.1 12.11.3 at Point of
≥Ld
Section 12.11.2 or Ld Inflection
For Compression C
L
When bottom bars are used as
compression reinforcement

รูปที่ 2.3-7ทฤษฎีในการหยุดเหล็กเสริม

อมร พิมานมาศ และ ภาณุวฒ


ั น์ จ้อยกลัด | หน้าที่ 33 ของบทที่ 2
แนวทางงการเลื่อนระดับั เป็ นสามัญวิศวกร
ศ | สภาวิวิศวกร
_____________________________________________________________________

2.3.8.2 เหล็กเสริริมรับโมเมนนต์บวกหรือเหล็ เ กเสริมล่าง


เหล็กเสริม H จะต้องมี
ง ระยะฝังห่างจากตํ
า าแหนน่ งที่เกิดโมเมมนต์บวกสูงสุดอย่างน้อยเท่ากับ ld
โดยที่เหล็
ห กเสริม H จะต้องมีระยะยื ร ่นจากกตําแหน่ งการหยุดเหล็กเสริ เ มทางทฤษฎีออกไปออย่างน้อย
เท่ากับ d หรือ 122db ทั้งนี้ เหล็ล็กเสริม G จะต้องมีควาามยาวของระะยะฝังที่เลยจจากจุดหยุดเหล็กทาง
ทฤษฎีอย่
อ างน้อยเท่ากั
า บระยะฝัง ldและจะต้องยื ง น่ เข้าไปในนที่รองรับอย่างน้
า อย 15 ซซม.

2.3.8.3 การหยุยุดเหล็กอย่างง่าย

ยุดเหล็กตามม ACI (conseervative)


รูปที่ 2.3-8การหย
2

2.4 ภาวะใช้งานของโครงสสร้าง
ผลลัพธ์ที่ได้ดจากการคํานวณออกแบบบโครงสร้างด้ ง วยวิธีกาํ ลังซึ
ง ่งเป็ นภาวะะที่พิจารณากกําลังของ
วัสดุถึงจุจดขีดสุด เป็ นผลให้
น ทวั ่ ไปปเหล็กเสริมในนหน้าตัดมีปริมาณน้อย รวมถึร งหน้าตัดอาจมีขนาดดเล็กกว่า
เมื่อเทียบกั
ย บการอออกแบบด้วยหหน่ วยแรงใช้งาน ง เป็ นผลใให้ที่ภาวะใช้ง้ านจริงหน้าาตัดอาจเสียรูปได้ง่าย
เนื่ องจาากโครงสร้างมีสติฟเนสน้อยหรื อ อคานออาจเกิดการแแอ่นตัวมากร่วมไปถึงอาจเกิดรอยร้าวทีที่เกินกว่า
ค่ า ที่ รับได้
บ เป็ นต้นดั
น ง นั้ น การอออกแบบหนน้ า ตัด ด้ว ยวิ ธีธี กํา ลัง ต้อ งมี
ง ก ารตรวจจสอบการใช้ช้ง านของ
โครงสร้ร้างที่ภาวะใช้ช้งานด้วยเสมมอ โดย วสท. แนะนําให้วศวกรต้ ิ องตรวจสอบภาวะะใช้งานของโครงสร้าง
อยู่ 2 ส่สวน คือ (1) การแอ่นตัวที ว ่เกิดขึ้ นต้องไม่
ง มากเกินไป ไ (Limit off deflection)) และ (2) รอยร้
ร าวที่
เกิดขึ้ นต้องไม่มีมากกเกินไป (Lim mit of crack width)
w
MAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 34 ของบทที่ 2
PIMANM
คอนกรีตเสริมเหล็ก | หมวดวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
_____________________________________________________________________

2.4.1 การแอ่นตัวที่ยอมให้
การโก่งตัวที่ภาวะใดๆที่เกิดขึ้ นต้องมีค่าไม่เกินกว่าค่าที่มาตรฐานกําหนด (ตาราง 4205 (ข),
วสท1008-38) ดังตารางที่ 2.4-1

ตารางที่ 2.4-1 พิกดั การแอ่นตัวของคานและแผ่นพื้ นที่ยอมให้


ชนิ ดขององค์อาคาร ระยะแอ่นที่พจิ ารณา พิกดั การ
แอ่นตัว
หลังคาราบซึ่งไม่รองรับหรือไม่ติดกับชิ้ นส่วนที่ ระยะแอ่ น ตั ว ที่ เ กิ ด ขึ้ นทั น ที เ นื่ อ งจาก L*/180
ไม่ใช่โครงสร้าง ซึ่งคาดว่าจะเกิดความเสียหาย นํ้าหนักบรรทุกจร
เนื่ องจากการแอ่นตัวมาก
พื้ นซึ่ ง ไม่ร องรับ หรื อ ไม่ติ ด กับ ชิ้ นส่ ว นที่ ไ ม่ใ ช่ ระยะแอ่ น ตั ว ที่ เ กิ ด ขึ้ นทั น ที เ นื่ อ งจาก L/360
โครงสร้า งซึ่ ง คาดว่ า จะเกิ ด ความเสี ย หาย นํ้าหนักบรรทุกจร
เนื่ องจากการแอ่นตัวมาก
หลังคาหรื อพื้ นซึ่งรองรับหรื อติ ดกับชิ้ นส่วนที่ ส่วนของระยะแอ่นตัวทั้งหมดที่ เกิ ดขึ้ น L$/480
ไม่ใช่โครงสร้าง ซึ่งคาดว่าจะเกิดความเสียหาย หลั ง จากการยึ ด กั บ ชิ้ นส่ ว นที่ ไ ม่ ใ ช่
เนื่ องจากการแอ่นตัวมาก โครงสร้า ง (ผลรวมของระยะแอ่ น ที่
หลังคาหรื อพื้ นซึ่งรองรับหรื อติ ดกับชิ้ นส่วนที่ เพิ่ ม ขึ้ นตามเวลา เนื่ องจากนํ้ าหนั ก L%/240
ไม่ ใ ช่ โ ครงสร้า ง ซึ่ ง คาดว่ า จะไม่ เ กิ ด ความ บรรทุ กทั้งหมดและระยะแอ่นที่ เกิดขึ้ น
เสียหายเนื่ องจากการแอ่นตัวมาก ทั น ที เ นื่ องจากนํ้ าหนั ก บรรทุ ก จรที่
เพิ่มขึ้ น) #
L คือ ความยาวช่วง
* พิกดั นี้ ไม่ได้ใช้เพื่อป้องกันการเกิดแอ่งนํ้ าเนื่ องจากการแอ่นตัว ควรตรวจสอบการเกิดแอ่งนํ้ า
เนื่ องจากการแอ่นตัวด้วย วิธีการคํานวณหาระยะแอ่นที่เหมาะสม โดยให้รวมถึงระยะแอ่นที่
เพิ่มขึ้ นเนื่ องจากนํ้าในแอ่ง และผลของนํ้าหนักบรรทุกค้างทั้งหมดที่กระทําเป็ นเวลานาน ความ
โค้งหลังเต่า ความคลาดเคลื่อนในการก่อสร้าง และความเชื่อถือได้ของข้อกําหนดสําหรับการ
ระบายนํ้า
$ พิกดั นี้ อาจยอมให้เกินได้ ถ้ามีมาตรการป้องกันความเสียหายที่เกิดขึ้ นต่อชิ้ นส่วนที่รองรับหรือ
ยึดติดกันอย่างพอเพียง
# ระยะแอ่นตัวที่เกิดขึ้ นตามเวลา ต้องคํานวณให้สอดคล้องกับ 4205 (ข) 5 แต่อาจจะลดได้ดว้ ย
ค่าระยะแอ่นที่ คํานวณได้ก่อนการยึดติ ดของชิ้ นส่วนที่ ไม่ใช่โครงสร้าง ค่านี้ ต้องคํานวณบน

อมร พิมานมาศ และ ภาณุวฒ


ั น์ จ้อยกลัด | หน้าที่ 35 ของบทที่ 2
แนวทางการเลื่อนระดับเป็ นสามัญวิศวกร | สภาวิศวกร
________________________________________________________________

พื้ นฐานของข้อมูลทางวิศวกรรมที่ยอมรับ ซึ่งสัมพันธ์กบั คุณลักษณะของการแอ่นตัวตามเวลา


ขององค์อาคารที่คล้ายคลึงกับองค์อาคารที่พิจารณา
% แต่ตอ้ งไม่มากกว่าความคลาดเคลื่อนที่ให้ไว้สาํ หรับชิ้ นส่วนที่ไม่ใช่โครงสร้าง พิกดั นี้ อาจยอมให้
เกินได้ถา้ มีการเผื่อความโค้งหลังเต่า โดยที่ระยะแอ่นทั้งหมดลบด้วยความโค้งหลังเต่าแล้วต้อง
ไม่เกินค่าพิกดั ในตาราง

2.4.2 การคํานวณการแอ่นตัว
การแอ่นตัวที่เกิดขึ้ นในช่วงใช้งาน สามารถคํานวณได้ตามหลักการ วิเคราะห์โครงสร้างทัว่ ไป
ทั้งนี้ ใช้สมมุติฐานของโครงสร้างยืดหยุน่ โดยตัวแปรที่ตอ้ งปรับแก้คือ ค่าโมเมนต์ความเฉื่อย (moment
of inertia, I) ซึ่งเป็ นตัวหารคู่กบั โมดูลสั ยืดหยุน่ ในสมการที่คาํ นวณการแอ่นตัว

2.4.2.1 โมเมนต์ความเฉื่อย
เมื่อคานเกิดการแอ่นตัวเนื่ องจากนํ้ าหนั กบรรทุ ก บริเวณที่หน่ วยแรงดึงในหน้าตัดเกินว่า
โมดูลสั แตกร้าว (modulus of rupture, fcr) จะเกิดรอยร้าวขึ้ น ในบริเวณนี้ ต้องใช้ค่า โมเมนต์ความเฉื่อย
แตกร้าว (cracked moment of inertia, Icr) ในการคํานวณการแอ่นตัว อย่างไรก็ดีในส่วนที่หน่ วยแรงดึง
มีค่าไม่เกินกําลังต้านของคอนกรีต หน้าตัดจะยังไม่รา้ ว การวิเคราะห์การแอ่นตัวจะใช้หน้าตัดเต็ม (ที่
ไม่รวมเหล็กเสริม) หรือ gross section ในการวิเคราะห์ โมเมนต์ความเฉื่อยรวม (gross moment of
inertia, Ig)

2.4.2.2 โมเมนต์ความเฉื่อยรวม
สามารถคํานวณโมเมนต์อนั ดับที่ 2 ของหน้าตัดสี่เหลี่ยมกว้าง b และลึก h ซึ่งแสดงได้ตาม
สมการดังต่อไปนี้

1 3
lg  bh (2.4-1)
12

2.4.2.3 โมเมนต์ความเฉื่อยแตกร้าว
กรณีที่หน้าตัดเกิดรอยร้าวจะใช้สมมุติฐานว่า คอนกรีตใต้แนวแกนสะเทิน (N.A) หรือเหนื อ
ขอบของรอยร้าว ไม่สามารถรับแรงดึงได้ การคํานวณตําแหน่ งของแกนหมุนซึ่งวัดจากผิวรับแรงอัดที่
เรียกว่า kd และ Icr จะใช้ วิธีหน้าตัดแปลง (transformed section method)

PIMANMAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 36 ของบทที่ 2


คอนกรีตเสริมเหล็ก | หมวดวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
_____________________________________________________________________

2.4.2.4 โมเมนต์ความเฉื่อยประสิทธิผล
ตามที่ อ ธิ บ ายไปแล้ว ข้า งต้น ว่ า ในคานชิ้ นเมื่ อ รับ นํ้ า หนั ก บรรทุ ก ใช้ง านจะมี ท้ัง ส่ ว นที่ มี
คุณสมบัติของ l g และ lcr ดังนั้น ACI จึงเสนอค่าโมเมนต์ความเฉื่อยประสิทธิผล (effective moment of
inertia, Ieff) เพื่อใช้ในการคํานวณการแอ่นตัว โดยค่า Ieff มีค่าระหว่าง l g  leff  lcr และคํานวณได้ดงั
สมการต่อไปนี้

 M 3  M 
3
 
 
leff   cr   l g  1   cr  l   l (2.4-2)
 Ma    Ma   cr  g
   

เมื่อ M cr คือ โมเมนต์แตกร้าว (cracking moment)คํานวณจาก fcrIg/c


และ Ma คือ โมเมนต์ ณ ตําแหน่ งที่ตอ้ งการคํานวณการแอ่นตัว

2.4.2.5 การแอ่นตัวระยะยาว
ตาม 4205 (ข) 5 ของมาตรฐานวสท. 1008-38 ระบุว่าหากไม่ได้ทําการวิเคราะห์อย่าง
ละเอียด การแอ่นตัวระยะยาว (Long term deflection) ซึ่งเป็ นผลเกิดจาก creep & shrinkage สามารถ
คํานวณจากการคูณสัมประสิทธิ์ กับการแอ่นตัวซึ่งเกิดจากนํ้าหนักบรรทุกคงค้าง


 (2.4-3)
1  50 

เมื่อ  คํานวณจาก As/(bd) ที่กึ่งกลางช่วงคาน


 ขึ้ นอยู่กับ ระยะเวลาที่ พิ จ ารณา มี ค่ า ดัง ต่ อ ไปนี้ (1) 5 ปี หรื อ มากกว่า ใช้ 2.0(2)
12 เดือนใช้ 1.4(3) 6 เดือนใช้ 1.2(4) 3 เดือนใช้ 1.0

2.4.3 ความลึกตําสุ ่ ด
อย่างไรก็ดีการแอ่นตัวอาจไม่ตอ้ งคํานวณและแสดงในรายการคํานวณหาก องค์อาคารตัวนั้ น
ใช้ความหนาตํา่ สุดตามที่มาตรฐานกําหนด ดังตารางที่ 2.4-2

อมร พิมานมาศ และ ภาณุวฒ


ั น์ จ้อยกลัด | หน้าที่ 37 ของบทที่ 2
แนวทางการเลื่อนระดับเป็ นสามัญวิศวกร | สภาวิศวกร
________________________________________________________________

ตารางที่ 2.4-2ความลึกตํา่ สุดขององค์อาคารรับแรงดัด


ความหนาตํา่ สุด (hmin)หน่ วย ซม. เมื่อความยาวช่วง (L) มีหน่ วยเป็ นซม.
องค์อาคาร ช่วงเดี่ยว ต่อเนื่ องด้านเดียว ต่อเนื่ อง 2 ด้าน ปลายยืน่
ธรรมดา
แผ่นพื้ นตันทางเดียว L/20 L/24 L/28 L/10
คานหรือแผ่นพื้ นตงถี่ทางเดียว L/16 L/18.5 L/21 L/8

2.4.4 ดัชนีความกว้างของรอยร้าว
การออกแบบที่ดีตอ้ งจํากัดรอยร้าวให้มีขนาดเล็กและกระจายทัว่ ดี มากกว่าที่จะให้เกิดรอยร้าว
ขนาดใหญ่แต่ กระจุกตัวอยู่ที่เดียว การควบคุ มดังกล่าวกระทําผ่ านค่า ดัชนี ความกว้างของรอยร้าว
(Index of crack width, Z) สําหรับคาน ต้องไม่เกินค่าต่อไปนี้ (1) 26,000 กก./ซม. (ความกว้างไม่
เกิน 0.34 มม.) กรณีคานช่วงใน และ (2) 31,000 กก./ซม. (ความกว้างไม่เกิน 0.41 มม.) กรณี
คานตัวนอก

2.4.5 พิกดั แตกร้าว


มาตรฐาน ACI กําหนดพิกดั แตกร้าวด้วยสมการต่อไปนี้

1
Z  f s (d c A) 3 (2.4-4)

เมื่อ fs คือ หน่ วยแรงในเหล็กเสริมที่ภาวะใช้งาน (อาจจะประมาณเท่ากับ 0.6fy)


dc คือ ความหนาของ covering ที่ผิวรับแรงดึงถึง C.G. ของเหล็กเสริมเส้นนอกสุด
A คือ พื้ นที่หุม้ เหล็กเสริมรับแรงดึง ที่มี C.G. เดียวกับเหล็กเสริมหารด้วยจํานวนเหล็ก
เสริมรับแรง ดึง

ข้อกําหนดเพิ่มเติม
1. กรณีเหล็กเสริมมัดเป็ นกําและใช้เหล็กหลายขนาดให้หาค่า A จากอัตราส่วนของเนื้ อที่หน้า
ตัดทั้งหมดต่อเนื้ อที่เนื้ อที่ของเหล็กเสริมขนาดใหญ่สุด
2. ในกรณีอาคารอยูภ่ ายใต้สภาพสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงค่า Z จะไม่ครอบคลุมและต้องพิจารณา
เป็ นพิเศษ

PIMANMAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 38 ของบทที่ 2


คอนกรี
ค ตเสริมเหล็ก | หมวดดวิชาวิศวกรรมมโครงสร้าง
________________________________________________________________________

2.5 องค์อาคาารรับแรงเฉืฉือน
ณ ภาวะที่คานยั
ค งมีคุณสมบั
ส ติยดื หยุน่ โดยใช้สมมุมุติฐานในการรวิเคราะห์วาาเนื้
่ อคานเป็ นวัน สดุเนื้ อ
เดียว (homogeneo
( ous material) คานชะะลูด (slendeer beam) เมื่อรับนํ้ าหหนั กบรรทุกตามขวาง ต
(transvverse load) จะเกิดหน่ วยแรงย 2 ประเภท ในเนื้ อคคานเมื่อคานน นัน่ คือ หน่ ววยแรงดัด แลละ หน่ วย
แรงเฉื อน ซึ่ ง เมื่ อ รวมหน่
ร ว ยแ รงดัง กล่ า ว เข้า ด้ว ยกัน จะสามารถ
จ แสดงหน่ ว ยยแรงหลัก ( principal
stressees)ซึ่งในบริเวณปลายคา
เ นที่มีแรงเฉือนสู
อ ง และแรรงดัดตํา่ นั้น หน่
ห วยแรงดึงงหลักจะมีแนวโน้
น มฉีก
คานในนมุมประมาณ ณ 45 องศาา ที่บริเวณกลางคาน หนน่ วยแรงดึงกลล่าวเรียกกว่า “หน่ วยแรงงดึงทแยง
(diagonnal tensilee stress)”” ซึ่งเมื่อหน่ วยแรงดั
ว งกล่าวมี
า ค่ามากกกว่า “กําลังรับบแรงดึงของคอนกรีต
(concretetensilesttrength)” ค านจะแตกร้ร้า วในรู ป แบบบที่ เ รี ย กว่ า “การวิ บั ตติิ แ บบเฉื อ น (shear
failure))” ซึ่งในทางวิศิ วกรรมโครงสร้างนับว่าเป็ นการวิบตั ิแบบเปราะะ รูปที่ 2.5--1 แสดงแนนวคิดดังที่
ได้อธิบายข้างต้น

รูปที่ 2.5-1 การเกิดหน่ วยแรงดึงทแยง

2.5.1 รอยแตกร้า้ วเนื่องจากแแรงเฉือนเนืนองจาก ่ diaggonal tensionn


การแตกร้าวเนื่ องจากการเฉือน มีหลายแบบ เช่น 1. การแตกร้าวแบบ FFlexural-sheear crack
มักเกิดขึ้ นเหนื อรอยร้าวดัดที่เกิดขึ้ นก่อนหนน้า รอยร้าวเเอียงที่เกิดขึ้ นในคาน
น ค.สส.ล. ส่วนมากจัดเป็ น
รอยร้าวเอียงชนิ ดนี้ (รูปที่ 2.55-2) 2.การแตกร้าวแบบบ Web-sheaar Crack เกิดขึ้ นที่บริเวณแกน
สะเทินของคาน เกิดก่ ด อนรอยร้าวดัด มักเกิดขึ้ด นในคานคอนกรีตอัดแรรงหน้าตัดตัว I ที่มีความมหนาของ
ส่วนอกกน้อย (ทําให้ห้มีหน่ วยแรงเเฉือนสูงมาก)) ดังรูปที่ 2..5-33. คานนสั้นรับนํ้าหนันักบรรทุกโดยยตรงโดย
ใช้ com
mpression strut ดังรูปที่ 2.5-4โดยการวิบติตั ิในแบบสุดท้ทายเกิดจากพฤติกรรมแแบบ arch

อ พิมานมาศศ และ ภาณุ วฒน์


อมร ฒ
ั จ้อยกลัด | หน้าที่ 39 ขอองบทที่ 2
แนวทางงการเลื่อนระดับั เป็ นสามัญวิศวกร
ศ | สภาวิวิศวกร
_____________________________________________________________________

action โดย comprression struut ดังกล่าวจจะสมดุลอยูกัก่ บั แรงดึงในเเหล็กและแรงงปฏิกิริยาในนแนวดิ่งที่


ฐานรองรับ ทั้งนี้ เกณ
ณฑ์ในการจําแนกสามาร
า ถใช้อตั ราส่วน a/d บอกกได้วา่ คานนั้ันเป็ นคานปรระเภทใด
(ก) a//d< 2.0-2.55 คือคานประะเภท คานสั้นั หรือ คานลึก และ (ข)) a/d> 2.0--2.5 คือคานนประเภท
คานยาว (รูปที่ 2.55-5)

ตกร้าวแบบ Flexural-she
รูปที่ 2.5-2การแต
2 F ear crack

รูปที่ 2.5-3การแ
2 ตกร้าวแบบ Web-shear Crack

รูปที่ 2.5-4กการเกิด com


mpression sttrut
MAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 40 ของบทที่ 2
PIMANM
คอนกรี
ค ตเสริมเหล็ก | หมวดดวิชาวิศวกรรมมโครงสร้าง
________________________________________________________________________

Flexural moment
Shear-comprression strength

Failure moment = Va
strength

Inclin
ned cracking
strength, Vc

ension
Diagonal te
She ear-tension an
nd
failures
shea ar-compressioon
Dee
ep failu
ures
bea
ams
Flexural failures

0 1 2 3 4 5 6 7
a/d
d

รูปที่ 2.5-5 อิทธิพลของ


พ a/d ต่ตอรูปแบบการวิบตั ิของคาานคอนกรีตเสสริมเหล็ก

2.5.2 กลไกการต้ ต้านทานแรงงเฉือนในคานนที่ไม่ใส่เหล็ล็กปลอก


โดยทัว่ ไปทุทุกมาตรฐานนทัว่ โลก นิ ยมอธิ
ม บายกลไกในการต้านทานแรงเฉื
น อนของคานคคอนกรีต
เสริมเหหล็กแยกเป็ น 2 ส่วน คือ ส่วนที่รบั โดยยคอนกรีตล้วน
ว (Vc) และส่วนที่รบั โดยยเหล็กเสริมตามขวาง

(Vs) เนืนื่ องจากกลไกกของการรับแรงโดยเหล็
แ ก มตามขววางเป็ นมาตรรฐานและอธิบบายได้โดยหลักสมดุล
กเสริ
ดังนั้นจึงมีค่าในแต่ละมาตรฐานนเท่ากัน ดังนั้นสิ่งที่แตกตต่างกันคือกําลั
า งรับแรงเฉืฉอนโดยคอนนกรีตล้วน
ซึ่งส่วนดั
น งกล่าวเกิดจากการต้
ด านทานแรงร่
น ว นของ 3 ส่วนในหน้าตั
วมกั า ดบริเวณเกิดรอยร้าวเเฉือน คือ
(1) VcZZ การรับแรงเฉือนโดยตรรงในบริเวณคคอนกรีตที่ยงไม่ งั รา้ ว (2) Viy การรับแรงเฉือนตามมแนวรอย
ร้าวเนื่ องจากการเก
อ กาะยึดของมววลรวม และ (3) Vd การรับแรงเฉือนเนืน ่ องจากเหล็กเสริมตามมแนวยาว
ของคานน โดยรูปที่ 2.5-6 2 แสดงงส่วนประกอบดังกล่าว

รูปที่ 2.5-6 องค์ค์ประกอบในกการต้านทานนแรงเฉือนขอองคานคอนกรีีตล้วน

อ พิมานมาศศ และ ภาณุ วฒน์


อมร ฒ
ั จ้อยกลัด | หน้าที่ 41 ขอองบทที่ 2
แนวทางการเลื่อนระดับเป็ นสามัญวิศวกร | สภาวิศวกร
________________________________________________________________

คานที่ มี a/d ระหว่าง 2.5-6.0 จะวิบตั ิทันทีที่รอยร้าวเอียงเกิดขึ้ น ACI/วสท. จึงถือเอาแรง


เฉือนที่ทาํ ให้คานแตกร้าว (Vcr) เป็ นกําลังรับแรงเฉือนของคาน ค.ส.ล. ไม่ใส่เหล็กลูกตั้ง (Vc) คํานวณ
ได้จากสมการ 2.5-1 ซึ่งถือเป็ นสมการอย่างละเอียดทั้งนี้ ค่า (fc)0.5ต้องมีค่าไม่เกิน 27 ksc

  Vu d 
Vc  0.5  f c  176  w    bw d (2.5-1)
  u 
M

โดย (3.5-1) ต้องไม่เกิน 0.93(fc)0.5bwd โดย Vu d / M u  1

ทั้งนี้ วสท. แนะนําให้ละการคํานวณจาก (2.5-1) โดยใช้สมการอย่างง่าย ดังต่อไปนี้

Vc  0.53 f c bw d
(2.5-2)

2.5.3 ปั จจัยที่มีผลต่อกําลังรับแรงเฉือนของคานที่ไม่ใส่เหล็กปลอก
1. กําลังรับแรงดึงของคอนกรีต (Concrete Tensile Strength)คอนกรีตที่มีกาํ ลังรับแรงดึง
มากจะสามารถต้านทานแรงเฉือนได้มากกว่าคอนกรีตที่มีกาํ ลังรับแรงดึงน้อยกว่า
2. อัตราส่วนเหล็กเสริมหลัก (Main Reinforcement Ratio) คานที่มีอตั ราส่วนเหล็กเสริม
หลัก (w) มาก จะมีกาํ ลังต้านทานแรงเฉือนมากกว่าคานที่มีอตั ราส่วนเหล็กเสริมหลักน้อย
3. อัตราส่วนช่วงการเฉือนต่อความลึกประสิทธิผล a/d เนื่ องจาก Mu/(Vud) = (Mu/Vu)/d =
a/d
4. ผลกระทบเนื่ องจากขนาดของคาน (Size effect)คานที่มีความลึกประสิทธิผลมากจะมี
กําลังรับแรงเฉือนน้อยกว่าคานที่มีความลึกประสิทธิผลน้อยกว่า
5. ผลของแรงตามแนวแกน
กรณีแรงอัด
- เกิดรอยร้าวเอียงได้ชา้ ลง
- ช่วยชะลอการแพร่ของรอยร้าวเอียง
- เพิ่มกําลังรับแรงเฉือนของคาน
กรณีแรงดึง
- เร่งการเกิดรอยร้าวเอียง
- เร่งการแพร่ของรอยร้าวเอียง
- ลดกําลังรับแรงเฉือนของคาน
PIMANMAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 42 ของบทที่ 2
คอนกรี
ค ตเสริมเหล็ก | หมวดดวิชาวิศวกรรมมโครงสร้าง
________________________________________________________________________

2.5.4 พฤติกรรมการรับแรงเเฉือนของคาานที่ใส่เหล็กปลอก
เหล็กลูกตั้งไม่
ง สามารถปป้องกันการเเกิดรอยร้าวเเอียงได้แต่สามารถยั
า บยั้งการแพร่ของงรอยร้าว
เอียงโดดยเหล็กลูกตั้งั จะเริ่มทํางานเมื่อเกิดรอยร้าวเอียงแล้วกรณีเหล็ล็กลูกตั้งเอียง(ดังรูปที่ 2.5-7)
2 :
กําลังรับั แรงเฉือนคํานวณจากสมมการต่อไปนี้น

d
Vc  Av f y (sin   cos
c  )  (22.5-3)
s

รูปที่ 2.5-7
2 กลไกกการรับแรงขของเหล็กปลออก รูปที่ 2.5-8 กรณี
ณีเหล็กปลอกตั้งฉากกับแนนวคาน

สําหรับเหล็็กลูกตั้งในแนนวดิ่ง (ดังรูปที
ป ่ 2.5-8) : กําลังรับแรรงเฉือนคํานววณจาก(2.5--4)

Av f y d
Vs  (22.5-4)
s

โดย d/s คือ จํานวนเหล็ล็กลูกตั้งตัดผ่ผานโดยรอยรร้าว

2.5.5 การออกแบบบคานรับแรงเฉื
แ อนของง ACI
หลักการพื้ นฐานการออ
น กแบบการรับแรงเฉื
บ อนขออง ACI แสดงงในตามสมกาารที่ 2.5-5

Vn  Vu (2.5-5)
(

เมื่อ Vn คือ กําลัลงรับแรงเฉือนระบุ


อ (Nom
minal shear)ซึ่งเป็ นผลรวมของ Vcและะ Vs
Vu คือ แรงงเฉือนประลัย (Ultimate shear force))
อ พิมานมาศศ และ ภาณุ วฒน์
อมร ฒ
ั จ้อยกลัด | หน้าที่ 43 ขอองบทที่ 2
แนวทางการเลื่อนระดับเป็ นสามัญวิศวกร | สภาวิศวกร
________________________________________________________________


คือ ตัวคูณลดกําลังเท่ากับ 0.85 (กรณีแรงเฉือน)
กรณีมี แรงอัด (Nu ใช้เครือ่ งหมายบวก) ร่วมด้วย จะใช้(2.5-6)

  N 
Vc  0.531  0.0071 u  f c  bwd (2.5-6)
A 
  g 

กรณีมี แรงดึง (Nu ใช้เครือ่ งหมายลบ) ร่วมด้วย จะใช้(2.5-7)

  N u  
Vc  0.531  0.0023  f  bw d
 A  c (2.5-7)
  g 

ทั้งนี้ ค่า Vsคํานวณจาก (2.5-3) หรือ (2.5-4) แล้วแต่การจัดวางเหล็กเสริม

2.5.6 การคํานวณปริมาณเหล็กลูกตั้ง
กรณีที่ 1ไม่ตอ้ งเสริมเหล็กรับแรงเฉือน เมื่อ Vu< 0.5Vc
กรณีที่ 2เสริมเหล็กปลอกขั้นตํา่ (Av,min) เมื่อ Vc> Vu> 0.5Vc

3.5bw s
เมื่อ Av,min  (2.5-8)
f vy

โดยระยะเรียงของเหล็กปลอกมากสุดต้องไม่เกิน (smax)
Av f vy (2.5-9)
นัน่ คือ Smax  Min{ ,0.5d ,60}
3.5bw

กรณีที่ 3ต้องเสริมเหล็กรับแรงเฉือน เมื่อ Vu>Vc


หรือ Vs = Vu/ – Vc(มีค่าเป็ นบวก)
กรณีที่ 3.1 กรณี Vs< 1.1(fc)0.5bwd
ระยะเหล็กลูกตั้งคํานวณจาก s = Avfvyd/Vs
โดย smax2 = Min{Avfvyd/Vs, Avfvy/(3.5bw), 0.5d, 60}
กรณีที่ 3.2 กรณี 1.1(fc)0.5bwd < Vs< 2.1(fc)0.5bwd

PIMANMAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 44 ของบทที่ 2


คอนกรีตเสริมเหล็ก | หมวดวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
_____________________________________________________________________

ระยะเหล็กลูกตั้งคํานวณจาก s = Avfvyd/Vs
โดย smax3 = Min{Avfvyd/Vs, Avfvy/(3.5bw), 0.25d, 30}
กรณีที่ 4ขยายหน้าตัด เมื่อ Vs> 2.1(fc)0.5bwd
ทั้งนี้ ค่า (fc)0.5 ต้องไม่เกิน 27ksc และกําลังครากของเหล็กรับแรงเฉือน (fvy) ต้องมีค่าไม่เกิน
4,200 ksc

2.6 องค์อาคารรับแรงบิด
โมเมนต์บิดแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ 1. โมเมนต์บิดสมดุล (equilibrium torsion) เป็ นโมเมนต์
บิดที่เกิดขึ้ นในองค์อาคารซึ่งคํานวณได้ดว้ ยหลักสมดุลของแรงเพียงอย่างเดียวได้ (ดังรูปที่ 2.6-1)2.
โมเมนต์บิดสอดคล้อง (compatibility torsion) เป็ นโมเมนต์บิดที่เกิดในองค์อาคารซึ่งต้องอาศัยทั้งหลัก
สมดุลของแรงและหลักความสอดคล้องของการเปลี่ยนรูป ซึ่งเกิดขึ้ นในโครงสร้างแบบอินดีเทอร์มิเนท
ดังแสดงในรูปที่ 2.6-2

P1 P2

(a) (b)

(a)

(b)

(c) (c)

รูปที่ 2.6-1โมเมนต์บิดสมดุล รูปที่ 2.6-2โมเมนต์บิดสอดคล้อง

2.6.1 หน่วยแรงเฉือนเนื่องจากแรงบิดในชิ้ นส่วนยืดหยุน่ เชิงเส้นไม่รา้ ว


หน่ วยแรงเฉือนเนื่ องจากโมเมนต์บิด () ในชิ้ นส่วนยืดหยุน่ แสดงได้ดงั รูปที่ 2.6-3และรูปที่
2.6-4 โดยอาศัยทฤษฎียดื หยุน่ (elastic theory)

อมร พิมานมาศ และ ภาณุวฒ


ั น์ จ้อยกลัด | หน้าที่ 45 ของบทที่ 2
แนวทางงการเลื่อนระดับั เป็ นสามัญวิศวกร
ศ | สภาวิวิศวกร
_____________________________________________________________________

รูปที่ 2.6-33 หน่ วยแรงเเฉือนในหน้าตัดสําหรับวัสดุ


ส ยดื หยุน่ เชิงเส้นเนื้ อเดียยวไอโซโทรปิ ก

รูปที่ 2.6-4รอยร้าวเฉือนเนื่ องจจากการบิดรอบองค์อาคาารคอนกรีตเสสริมเหล็ก

2.6.2 การเลือกหหน้าตัดองค์อาคารเพื
อ ่อต้า้ นทานโมเมมนต์บิด
หน้าตัดปิ ดมี ด ดลักษณะของหน้าตััดปิ ดและ
ด ความสามมารถต้านโมเเมนต์บิดได้ดีดีกว่าหน้าตัดเปิ
า งหน้าตัตดวิกฤติของโมเมนต์บิดที่ใช้ในการอออกแบบที่
เปิ ดดังรูปที่ 2.6-55และรูปที่ 2..6-6 ทั้งนี้ ตําแหน่
ระยะ h/2
h จากหน้าที า ่รองรับ

รูปที่ 2.6-55การไหลของงหน่ วยแรงบิดในหน้าตัดประเภทต่


ป าง ๆ
MAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 46 ของบทที่ 2
PIMANM
คอนกรี
ค ตเสริมเหล็ก | หมวดดวิชาวิศวกรรมมโครงสร้าง
________________________________________________________________________

ป ่ 2.6-6 การไหลของห
รูปที ก หน่ วยแรงบิดในหน้
ใ าตัดปิ ดแบบไม่
ด ต่อเนื่ อง

2.6.3 การออกแบบบต้านโมเมมนต์บิด
ก ดเบ้ (SSkew bending theory) จาาก ACI318 ปี ค.ศ.19711 – ค.ศ.19889
1. ทฤษฎีการดั
2. ทฤษฎีท่ทอเปลือกบาาง/โครงข้อหมุนพลาสติก 3 มิติ (Thinn-wall tubeeand plasticc space
truss) คล้ายกับ Truuss model 2 มิติ สําหรับั องค์อาคารรรับแรงเฉือน นํามาจาก CEB code และใช้
แ ใน
ACI3188-1995 เป็ นต้นมา

2.6.4 โมเมนต์บิดแตกร้ ด าว (CCracking Toorque)


โ ม เ ม น ต์ บิบ ด แ ต ก ร้ า ว จ ะ ส า ม า ร ถ คํ า น ว ณ ไ ด้ ดั ง (22.6-1) ทั้ ง นีนี้ ห า ก Tu/<0.25Tcr
ไม่จาํ เป็ป็ นต้องคิดผลลของโมเมนต์ต์บิด

2
 Acp (2.6-1)
(
Tcr  1.06 f c
pcpp

เมื่อ Pcp คือ ความยาวเสส้นรอบรูปของหน้าตัดคอนนกรีต และ


Acp คือ พื้ นที่ภายในนเส้นรอบรูปของหน้
ป าตัด (รวมส่วนทีที่เป็ นช่องว่างด้วยหากเป็ นหน้
น าตัด
กลวง)

2.6.5 การลดค่ากรณี ก โมเมนตต์ดดั สอดคล้อ้ ง


หากเป็ นโมมเมนต์บิด ส อดคล้อง (ดัดังรู ป ที่ 2.6-7) สามารรถลดค่ า ให้เ หลื อ ได้ดัง (2.6-2)
(
ได้ดงั นี้

อ พิมานมาศศ และ ภาณุ วฒน์


อมร ฒ
ั จ้อยกลัด | หน้าที่ 47 ขอองบทที่ 2
แนวทางงการเลื่อนระดับั เป็ นสามัญวิศวกร
ศ | สภาวิวิศวกร
_____________________________________________________________________

รูปทีท่ 2.6-7 กรรณีของโมเมนนต์บิดสอดคล้อง

2
 Ac
Tu  1.08 f c cp (22.6-2)
pcp

2.6.6 การออกแบบบรับโมเมนนต์บิด
 Vu   Tu Ph   V 
 
 2.1 f c 
       c

: Hollow seection ; t >AAohPh (2.6-3)
 bwd   1.7 A oh 
2
b d
 w 

 Vu   Tu   Vc 
        2.1 f c  : Hollow seection ; t <AohPh (2.6-4)
 bw d   1.7 Aoht   bwd 

0.5
 V  2  T P  2  V 
 u    u h      c  2.1 f c  : Solid section (2.6-5)
 bw d   1.7 Aoh
o t 
  bw d 

เมื่อ Acp = xoyoแลละ Aoh = x1y1 (ดูรูปที่ 2..6-8 ประกออบ)

รูปที่ 2.6-8 นิ ยามของ Acpและ Aoh


MAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 48 ของบทที่ 2
PIMANM
คอนกรี
ค ตเสริมเหล็ก | หมวดดวิชาวิศวกรรมมโครงสร้าง
________________________________________________________________________

2.6.7 ชิ้ นส่วนหน้


น้าตัดกลวง (Hollow
( Secttion) และทฤษฎีทอ่ เปลืลือกบาง (Thin-wall tubee theory)
หน้าตัดกลววงมีประสิทธิภาพสูงในกาารต้านทานโโมเมนต์บิดโดดยค่าหน่ วยแแรงบิดที่ไหลรอบหน้า
ตัดมีค่ากั
า บ q = T/22A0 (ดังรูปที่ 2.6-9 ถึงรูปที่ 2.6-122)

รูปที่ 2.66-9 การไหลลของหน่ วยแรงบิดรอบหนน้าตัดกลวง

รูปที่ 2.6--10หน่ วยแรรงหลักเนื่ องจจากการบิดในนหน้าตัดตัน

รูปที่ 2.6-11 การถ่


ก ายแรงบิบิดเข้าสู่เหล็กเสริ
ก มและคออนกรีตส่วนรับั แรง

อ พิมานมาศศ และ ภาณุ วฒน์


อมร ฒ
ั จ้อยกลัด | หน้าที่ 49 ขอองบทที่ 2
แนวทางงการเลื่อนระดับั เป็ นสามัญวิศวกร
ศ | สภาวิวิศวกร
_____________________________________________________________________

รูปที่ 2.6-12
2 การไหลของแรงงบิดในส่วนคคอนกรีต

จากรูปที่ 2.6-12จจะได้

T  v1 y0  v2 x0 (22.6-6)
Txx0
v1  v3  qx0  (22.6-7)
2A
A0
Tyy0
v2  v4  qy0  (22.6-8)
2AA0

2.6.8 การหาปริมาณเหล็
ม ก ้ง(สมการรที่ใช้หาปริมาณเหล็
กลูกตั ม กปลลอกที่ตอ้ งกาาร)
จํานวนเหล็กปลอก (At) ที่ตอ้ งใช้เพื่อต้านแรงบิดคํ
ด านวณจากก (2.6-9) ((รูปที่ 2.6-13) โดย
 = 37
7.5o สําหรับคานคอนกรีตอัดแรงที่มีแรงดึ
แ งประสิทธิ
ท ผลมากกวว่า 40% ของงแรงดึงประลัลัย และ
= 45o สําหรับคานนคอนกรีตไมม่อดั แรง หรือคานคอนกรี
อ รีตอัดแรงที่มีแรงดึงประสิสทธิผลน้อยกกว่า 40%
ของแรงงดึงประลัย

At Tn (22.6-9)

s 2 A0 f f cot 

เมื่อ A0 คือ 0.885A0h

MAS AND JOYKLAD | หน้าที่ 50 ของบทที่ 2


PIMANM
คอนกรี
ค ตเสริมเหล็ก | หมวดดวิชาวิศวกรรมมโครงสร้าง
________________________________________________________________________

รูปที่ 2.6-13
2 กลไกของเหล็กปลอกในการรั
ป รับแรงบิด

2.6.9 การคํานวณ
ณหาปริมาณ
ณเหล็กนอนเนนื่องจากผลขของโมเมนต์
ต์บิด

รูปที่ 2.66-14 กลไกกของเหล็กตาามยาวในการรรับแรงบิด

จากรูปที่ 2.6-14
2 เมื่อ N คือ แรงดึึงที่กระทําต่อหน้
อ าตัด (Alfyl) นัน่ คือต้อองออกแบบเหหล็กนอน
ให้รบั แรงดึงดังกล่าว โดยคํานวณ ณจาก(2.6-10) ดังนี้

A   f  (2.6-10)
Al   t  ph  vy  cot 2 
 s   f ly 

เมื่อ Al คือ พื้ นที่หน้าตัดั เหล็กนอน


ph คํานวณจาก 2 (x0 + y0) คือ เส้นรอบรูปของหน้
ป าตัด

สมการ ACI ที่ใช้ในกการออกแบบบปริมาณเหล็็กนอน

A   f 
Al ,min  1.33 f c
Acp
  t  ph  vy  (22.6-11)
f ly  s   f ly 

 At 
โดย   ในสมกาารต้องไม่นอ
้ ยกว่
ย า 1.75bbw/fvy
 s 
อ พิมานมาศศ และ ภาณุ วฒน์
อมร ฒ
ั จ้อยกลัด | หน้าที่ 51 ขอองบทที่ 2

You might also like