You are on page 1of 4

สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา) | สม.ม.

(มานุษยวิทยา)
Master of Arts (Anthropology) | M.A. (Anthropology)
มานุษยวิทยาเป็นแขนงหนึ่ง
ของสังคมศาสตร์ ที่ปรารถนา
จะทำความเข้าใจมนุษย์ ทั้งใน
แง่ที่มนุษย์เป็นผลิตผลของ
ระบบสังคมวัฒนธรรมที่เขามี
ชีวิตอยู่และในแง่ที่มนุษย์เป็น
ศูนย์กลางในการสร้างสรรค์
ควบคุม และเปลี่ยนแปลง
สภาพชีวิตรอบๆ ตัวของเขา

คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ดังนั้น เนื้อหาของมานุษยวิทยา
จึงมีขอบเขตที่กว้างขวาง
ครอบคลุมความรู้เกี่ยวกับ
มนุษย์ ทั้งทางด้านกายภาพ

หลักสูตรปริญญาโท สาขาวิชามานุษยวิทยา
วิถีชีวิต พฤติกรรม ความคิด
ความเข้าใจ การให้ความหมาย
ตลอดไปจนถึงอารมณ์ความ
รู้สึก มานุษยวิทยาเน้นการ
พิจารณาปัญหาอย่างรอบด้าน
แต่ในขณะเดียวกัน ก็มีวิธี
การศึกษาที่เจาะลึกเฉพาะเรื่อง ติดต่อสอบถาม
เฉพาะกลุ่ม ในระดับชุมชน คุณวิชัย แสงดาวฉาย
และปัจเจกบุคคล มีแนวทาง โครงการบัณฑิตศึกษา
การค้นคว้าข้อเท็จจริง ใน คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
ระดับที่เป็นประสบการณ์ ตึกอเนกประสงค์ 3 ชั้น 3
ของบุคคลและเชื่อมโยง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
ประสบการณ์นั้นเข้ากับ โทรศัพท์: 0-2613-2809 หรือ 081-255-8607
http://socio.tu.ac.th หรือ http://bit.ly/tusocant
โครงสร้างหรือระบบที่ใหญ่
และกว้างกว่าบุคคล
ภาพ: รูปหล่อหน้าคนเชื้อชาติต่างๆที่ musée de l’homme ปารีส
คุณสมบัติของผู้สมัคร โครงสร้างหลักสูตร ระยะเวลาการศึกษา งบประมาณ

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษาต้อง จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 39 หน่วยกิต หลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรแบบศึกษา ค่าหน่วยกิต ค่าบำรุงการศึกษา


เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัย โครงสร้างหลักสูตร ประกอบด้วย เต็มเวลาต้องใช้ระยะเวลาการศึกษา ค่าห้องสมุด และค่าธรรมเนียม
ธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการศึกษา ตลอดหลักสูตรอย่างน้อย 5 ภาค ต่างๆ ตลอดหลักสูตร
วิชาบังคับ 15 หน่วยกิต
ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 การศึกษาปกติ (2 ปีครึ่ง) และอย่างมาก ประมาณ 70,000 บาทต่อคน
วิชาเลือกไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
และเป็นผู้สำเร็จการศึกษา ไม่ ไม่เกิน 8 ภาคการศึกษาปกติ (4 ปี)
วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
ต่ำกว่าระดับปริญญาตรี โดย
ไม่จำกัดสาขา จากสถาบันการ
ศึกษาในหรือต่างประเทศ ซึ่งสภา มี 5 วิชา วิชาละ 3 หน่วยกิต คิดเป็น 15 หน่วยกิต ดังนี้ วิชาเลือกทุกวิชามีค่า 3 หน่วยกิต
มหาวิทยาลัยรับรองวิทยฐานะ ม.601 ทฤษฎีมานุษยวิทยาพื้นฐาน นักศึกษาจะต้องศึกษาวิชาเลือกไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต วิทยานิพนธ์
โดยเลือกศึกษาจากรายวิชาในสาขากลุ่มใดก็ได้
วิชาบังคับ
ม.602 ทฤษฎีมานุษยวิทยาร่วมสมัย ม. 800 วิทยานิพนธ์
ม.603 ชาติพันธุ์ศึกษา อย่างน้อย 9 หน่วยกิต ส่วนอีก 3 หน่วยกิต 12 หน่วยกิต
การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา ม.604 การวิจัยทางมานุษยวิทยา เลือกศึกษาจากวิชาเลือกในสาขาหรือนอกสาขา
ม.605 สัมมนาหัวข้อวิทยานิพนธ์ (ทั้งในและนอกคณะ)
ผู้เข้าศึกษาต้องผ่านการสอบ
ข้อเขียนและการสอบสัมภาษณ์ วิชาเลือก
ผู้เข้าศึกษาต้องส่งผลทดสอบ 1. กลุ่มมานุษยวิทยาเฉพาะทาง 2. กลุ่มภาษา สัญลักษณ์ และจักรวาลวิทยา 5. กลุ่มวัฒนธรรมร่วมสมัย
ภาษาอังกฤษ TU-GET หรือ ม.611 มานุษยวิทยากายภาพ ม.621 มานุษยวิทยาภาษา ม.651 วัฒนธรรมข้ามพรมแดนและโลกาภิวัตน์
TOEFL หรือ IELTS (ผลสอบ ม.612 ครอบครัวและเครือญาติ ม.622 มานุษยวิทยาศาสนาและความเชื่อ ม.652 หลังชาวนาศึกษาในโลกสมัยใหม่
ต้องไม่เกิน 2 ปีนับถึงวันสมัคร) ม.613 มานุษยวิทยาเพศสภาพ ม.623 พิธีกรรมวิเคราะห์ ม.653 วัฒนธรรมการท่องเที่ยว
ม.614 มานุษยวิทยาการเมือง ม.654 วัฒนธรรมศึกษา
เงื่อนไขอื่นๆ ให้เป็นไปตามประกาศ ม.615 มานุษยวิทยาเศรษฐกิจ 3. กลุ่มชาติพันธุ์ศึกษาและอาณาบริเวณศึกษา
รับสมัครบุคคลเข้าศึกษาในระดับ ม.616 มานุษยวิทยาการแพทย์ ม.631 ประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ของกลุ่ม 6. กลุ่มการศึกษาเฉพาะเรื่องและการศึกษาเอกเทศ
บัณฑิตศึกษาของคณะสังคมวิทยา ม.617 มานุษยวิทยานิเวศน์ คนพูดภาษาตระกูลไต ม.691 สัมมนาปัญหาเฉพาะทางมานุษยวิทยา 1
และมานุษยวิทยา ม.618 วัฒนธรรมเมือง ม.632 ฉานศึกษา ม.692 สัมมนาปัญหาเฉพาะทางมานุษยวิทยา 2
ม.619 โบราณคดีเชิงมานุษยวิทยา ม.633 มานุษยวิทยาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ม.693 สัมมนาปัญหาเฉพาะทางมานุษยวิทยา 3
จำนวนรับเข้าศึกษา ม.634 มานุษยวิทยาเอเชียตะวันออก ม.700 การศึกษาเอกเทศ

4. กลุ่มการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม
ประมาณปีละ 15 คน ม.641 การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม
ม.642 พิพิธภัณฑ์ศึกษา
สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา) | สม.ม. (มานุษยวิทยา)
Master of Arts (Anthropology) | M.A. (Anthropology)
มานุษยวิทยาเป็นแขนงหนึ่ง
ของสังคมศาสตร์ ที่ปรารถนา
จะทำความเข้าใจมนุษย์ ทั้งใน
แง่ที่มนุษย์เป็นผลิตผลของ
ระบบสังคมวัฒนธรรมที่เขามี
ชีวิตอยู่และในแง่ที่มนุษย์เป็น
ศูนย์กลางในการสร้างสรรค์
ควบคุม และเปลี่ยนแปลง
สภาพชีวิตรอบๆ ตัวของเขา

คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ดังนั้น เนื้อหาของมานุษยวิทยา
จึงมีขอบเขตที่กว้างขวาง
ครอบคลุมความรู้เกี่ยวกับ
มนุษย์ ทั้งทางด้านกายภาพ

หลักสูตรปริญญาโท สาขาวิชามานุษยวิทยา
วิถีชีวิต พฤติกรรม ความคิด
ความเข้าใจ การให้ความหมาย
ตลอดไปจนถึงอารมณ์ความ
รู้สึก มานุษยวิทยาเน้นการ
พิจารณาปัญหาอย่างรอบด้าน
แต่ในขณะเดียวกัน ก็มีวิธี
การศึกษาที่เจาะลึกเฉพาะเรื่อง ติดต่อสอบถาม
เฉพาะกลุ่ม ในระดับชุมชน คุณวิชัย แสงดาวฉาย
และปัจเจกบุคคล มีแนวทาง โครงการบัณฑิตศึกษา
การค้นคว้าข้อเท็จจริง ใน คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
ระดับที่เป็นประสบการณ์ ตึกอเนกประสงค์ 3 ชั้น 3
ของบุคคลและเชื่อมโยง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
ประสบการณ์นั้นเข้ากับ โทรศัพท์: 0-2613-2809 หรือ 081-255-8607
http://socio.tu.ac.th หรือ http://bit.ly/tusocant
โครงสร้างหรือระบบที่ใหญ่
และกว้างกว่าบุคคล
ภาพ: รูปหล่อหน้าคนเชื้อชาติต่างๆที่ musée de l’homme ปารีส
คุณสมบัติของผู้สมัคร โครงสร้างหลักสูตร ระยะเวลาการศึกษา งบประมาณ

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษาต้อง จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 39 หน่วยกิต หลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรแบบศึกษา ค่าหน่วยกิต ค่าบำรุงการศึกษา


เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัย โครงสร้างหลักสูตร ประกอบด้วย เต็มเวลาต้องใช้ระยะเวลาการศึกษา ค่าห้องสมุด และค่าธรรมเนียม
ธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการศึกษา ตลอดหลักสูตรอย่างน้อย 5 ภาค ต่างๆ ตลอดหลักสูตร
วิชาบังคับ 15 หน่วยกิต
ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 การศึกษาปกติ (2 ปีครึ่ง) และอย่างมาก ประมาณ 70,000 บาทต่อคน
วิชาเลือกไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
และเป็นผู้สำเร็จการศึกษา ไม่ ไม่เกิน 8 ภาคการศึกษาปกติ (4 ปี)
วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
ต่ำกว่าระดับปริญญาตรี โดย
ไม่จำกัดสาขา จากสถาบันการ
ศึกษาในหรือต่างประเทศ ซึ่งสภา มี 5 วิชา วิชาละ 3 หน่วยกิต คิดเป็น 15 หน่วยกิต ดังนี้ วิชาเลือกทุกวิชามีค่า 3 หน่วยกิต
มหาวิทยาลัยรับรองวิทยฐานะ ม.601 ทฤษฎีมานุษยวิทยาพื้นฐาน นักศึกษาจะต้องศึกษาวิชาเลือกไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต วิทยานิพนธ์
โดยเลือกศึกษาจากรายวิชาในสาขากลุ่มใดก็ได้
วิชาบังคับ
ม.602 ทฤษฎีมานุษยวิทยาร่วมสมัย ม. 800 วิทยานิพนธ์
ม.603 ชาติพันธุ์ศึกษา อย่างน้อย 9 หน่วยกิต ส่วนอีก 3 หน่วยกิต 12 หน่วยกิต
การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา ม.604 การวิจัยทางมานุษยวิทยา เลือกศึกษาจากวิชาเลือกในสาขาหรือนอกสาขา
ม.605 สัมมนาหัวข้อวิทยานิพนธ์ (ทั้งในและนอกคณะ)
ผู้เข้าศึกษาต้องผ่านการสอบ
ข้อเขียนและการสอบสัมภาษณ์ วิชาเลือก
ผู้เข้าศึกษาต้องส่งผลทดสอบ 1. กลุ่มมานุษยวิทยาเฉพาะทาง 2. กลุ่มภาษา สัญลักษณ์ และจักรวาลวิทยา 5. กลุ่มวัฒนธรรมร่วมสมัย
ภาษาอังกฤษ TU-GET หรือ ม.611 มานุษยวิทยากายภาพ ม.621 มานุษยวิทยาภาษา ม.651 วัฒนธรรมข้ามพรมแดนและโลกาภิวัตน์
TOEFL หรือ IELTS (ผลสอบ ม.612 ครอบครัวและเครือญาติ ม.622 มานุษยวิทยาศาสนาและความเชื่อ ม.652 หลังชาวนาศึกษาในโลกสมัยใหม่
ต้องไม่เกิน 2 ปีนับถึงวันสมัคร) ม.613 มานุษยวิทยาเพศสภาพ ม.623 พิธีกรรมวิเคราะห์ ม.653 วัฒนธรรมการท่องเที่ยว
ม.614 มานุษยวิทยาการเมือง ม.654 วัฒนธรรมศึกษา
เงื่อนไขอื่นๆ ให้เป็นไปตามประกาศ ม.615 มานุษยวิทยาเศรษฐกิจ 3. กลุ่มชาติพันธุ์ศึกษาและอาณาบริเวณศึกษา
รับสมัครบุคคลเข้าศึกษาในระดับ ม.616 มานุษยวิทยาการแพทย์ ม.631 ประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ของกลุ่ม 6. กลุ่มการศึกษาเฉพาะเรื่องและการศึกษาเอกเทศ
บัณฑิตศึกษาของคณะสังคมวิทยา ม.617 มานุษยวิทยานิเวศน์ คนพูดภาษาตระกูลไต ม.691 สัมมนาปัญหาเฉพาะทางมานุษยวิทยา 1
และมานุษยวิทยา ม.618 วัฒนธรรมเมือง ม.632 ฉานศึกษา ม.692 สัมมนาปัญหาเฉพาะทางมานุษยวิทยา 2
ม.619 โบราณคดีเชิงมานุษยวิทยา ม.633 มานุษยวิทยาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ม.693 สัมมนาปัญหาเฉพาะทางมานุษยวิทยา 3
จำนวนรับเข้าศึกษา ม.634 มานุษยวิทยาเอเชียตะวันออก ม.700 การศึกษาเอกเทศ

4. กลุ่มการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม
ประมาณปีละ 15 คน ม.641 การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม
ม.642 พิพิธภัณฑ์ศึกษา

You might also like