You are on page 1of 17

วันอังคารที่ 14 พฤศจิกายน 2560 เวลา 10:00-12:00

ณ โรงแรมดิเอ็มเมอรัลด์ กทม.


มาตรการทางกฎหมายและทาง

วก
วิ ศ วกรรมเพื ่อ ป้ องกัน รถยนต์ต กอาคาร
ในอาคารจอดรถ
าวศิ ศ.ดร.อมร พิมานมาศ
สภ
- เลขาธิการสภาวิศวกร -
บทนํา


 ภ า พ อุ บั ติ เ ห ตุ ที่

วก
เกิดจากรถพุง่ ชนที่
กั้นกันรถยนต์ตก
(Vehicle barrier)
ในอาคารจอดรถ
าวศิ
ต่างๆทัว่ โลก
สภ
บทนํา – ความเสียหายจาก BARRIER ที่ไม่ได้มาตรฐาน


คนขับผูห้ ญิงเสียชีวิต หลังจากขับรถตกอาคารจอดรถ

วก
สูง 6 ชั้น ที่ (Abu Dhabi, 2015)
คนขับผูห้ ญิงปลอดภัย หลังจากขับรถชนแผงกั้น
เหล็กแบบ cable ของอาคารจอดรถใน LA (2014)
าวศิ
สภ
คนขับเสียชีวิต หลังจากตกจากชั้นจอด
รถสูง 18 เมตร (New Orleans, 2015)
บทนํา – ความเสียหายจาก BARRIER ที่ไม่ได้มาตรฐาน


1

วก
รถยนต์พุ่งชนแผงกั้นสําเร็จรูป (facade) ซึ่งมี
อุปกรณ์ยึดเป็ นเหล็กฉาก จนเกือบตกจากอาคาร โดย

2
าวศิ ไม่มีรายงานผูเ้ สียชีวิต (Portland, 2014)
3

ผู ้ห ญิ ง 2 คน ในรถที ่
สภ
ขั บ ชนแผงกั น เหล็ ก
(ธรรมดา) บาดเจ็ บ
สาหัส (USA, 2015)
บทนํา – ความเสียหายจาก BARRIER ที่ไม่ได้มาตรฐาน


6
รถยนต์พุ่งชน façade Barrier จนตกจากอาคาร

วก
โดยคนขับผูห้ ญิงไม่ถึงแก่ชีวิต (Alabama, 2015)
รถยนต์พุ่งชน Unsafely Designed Barrier จน barrier
ตกจากอาคาร กระแทกกับรถที่จอดด้านล่าง (USA, 2014) 4
าวศิ 5
สภ
บทนํา – ความเสียหายจาก BARRIER ที่ไม่ได้มาตรฐาน


วก
าวศิ
สถานที่เกิดเหตุรถยนต์พุง่ ชน barrier ที่ช้นั 3
ของอาคารจอดรถของห้างสรรพสินค้าแห่งหนึ่ ง
สภ
ย่านบางกะปิ (2558) โดยรถพุง่ ออกนอกอาคาร
ตกกระแทกพื้ นชั้นล่างและทําให้ผขู ้ บั ขี่เสียชีวิต
ประเภทของ VEHICLE IMPACT BARRIERS


ที่กนั้ กันรถยนต์ตกในอาคารจอดรถ สามารถจําแนกได้เป็ น 2 ประเภทหลักคือ

วก
7 8

าวศิ
สภ
(ก) ที่ก้นั ชนิดยืดหยุน่ (Flexible barrier) (ข) ที่ก้นั ชนิดแข็งเกร็ง (Rigid barrier)
ประเภทของ VEHICLE IMPACT BARRIERS


วก
9 10

าวศิ
สภ
กั้นชนิดแข็งเกร็ง : เป็ นที่ก้นั แบบที่ไม่เสียรูปมาก จึงต้องออกแบบรับแรง
กระแทกขนาดใหญ่ได้ มักทําด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก
หลักการออกแบบ VEHICLE IMPACT BARRIER


เมื่อรถวิง่ ด้วยความเร็วมาปะทะกับ Barrier จะเกิด Impact Force ดังนั้นหาก

วก
barrier ไม่สามารถต้านแรงกระแทกดังกล่าวได้ ก็จะพังทลายและทําให้รถที่วงิ่ มา
ปะทะนั้น หลุดร่วงออกมานอกอาคารได้ 12

าวศิ 11
สภ
รถพุง่ ชน Barrier และค้างบน
อาคารจอดรถ (Chicago)
การทดสอบให้รถพุง่ ชน Barrier ด้วยความเร็ว กม./ชม.
มาตรฐานการออกแบบ VEHICLE IMPACT BARRIER


ในปั จ จุ บั น ในต่ า งประเทศได้มี ข ้อ กํา หนดหรื อ มาตรฐานการใน

วก
ออกแบบที่ก้นั รถยนต์ โดยในที่นี้จะแนะนําไว้ 2 มาตรฐาน คือ
1) มาตรฐาน IBC2006 (International building code,
าวศิ 2006) ระบุวา่ ที่ก้นั รถยนต์จะต้องต้านแรงสถิตขนาด
6000 ปอนด์ (2,721.55 กก.) กระทําที่ระดับความ
สูง 18 นิ้ ว (45.72 ซม.) เหนื อพื้ นอาคารที่จอดรถ
สภ
ขอให้สงั เกตว่าแรงดังกล่าวมีค่าคงที่ (ยึดแนวปฏิบตั ิในอเมริกา) โดยไม่ข้ นึ อยูก่ บั
ความเร็วยานพาหนะ และค่าดังกล่าวอาจมีค่าน้อยเกิ นไปสําหรับกรณีที่รถยนต์ที่มี
นํา้ หนักมากและหรือที่ มีความเร็วมากๆ
มาตรฐานการออกแบบ VEHICLE IMPACT BARRIER


2) มาตรฐาน AS/NZS 2890.1 (ออสเตรเลีย+นิวซีแลนด์) : ระบุวา่

วก
จําเป็ นต้องจัดให้เครื่องกั้นในอาคารจอดรถเมื่อไรก็ตามที่พื้นมีความสูง
จากพื้ นดินเกิน 60 ซม. ขึ้ นไป และเครื่องกั้นดังกล่าวจะต้องเป็ นไปตาม
ข้อกําหนดดังนี้
าวศิ
(ก) การออกแบบเครื่ องกั้ น ให้พิ จ ารณานํ้ า หนั ก บรรทุ ก ตามข้อ กํา หนด
AS/NZS 1170.1
สภ
(ข) เครื่ องกั้น ที่ ปลายของอาคารจอดรถควรมี ค วามสู ง อย่า งน้อ ย 1.3 ม.
เพื่ อให้คนขับรถสามารถมองเห็นได้จากทางด้านหลัง
(ค) เครื่ องกัน้ ต้องไม่ก่อสร้างจากผนังอิฐ หรือคอนกรีตที่ ไม่ได้เสริมเหล็ก หรือ
วัสดุอื่นใดที่ อาจแตกได้งา่ ย
มาตรฐานการออกแบบ VEHICLE IMPACT BARRIER
AS/NZS 1170.1


วก
ข้อกําหนด AS/NZS 1170.1 ได้ระบุค่า แรงแนวนอน (F) ที่จะ
กระทําต่อเครื่องกั้น ดังนี้
(ก) สําหรับบริเวณที่มีการจราจรเบา (Light traffic area) : พื้ นที่
าวศิ
จอดรถที่น้ําหนักของยานพาหนะมีขนาดไม่เกิน 2500 กก.
• F = 3 ตัน สําหรับเครื่องกั้นทัว่ ไป และ
สภ
• F = 24 ตัน กรณีเครื่องกั้นที่ปลายของทางวิง่ ที่มีความ
ยาวเกิน 20 ม. และมีไว้สาํ หรับการเคลื่อนที่ลงอาคาร
มาตรฐานการออกแบบ VEHICLE IMPACT BARRIER
AS/NZS 1170.1


(ข) สําหรับบริเวณที่มีการจราจรปานกลาง (Medium traffic area

วก
ให้ใช้ F = 4 ตัน 13

าวศิ
สภ
ทั้งนี้ แรง F ให้กระทําทุกๆระยะ 1.5 ม. ตลอดแนวยาวของ barrier และ
ให้กระทําสูงกว่าระดับพื้ น (a) เท่ากับ 50 ซม. และ 100 ซม. สําหรับ
Light และ Medium traffic area ตามลําดับ
แผงกั้นรถยนต์ที่มี่ความเสี่ยง


 1. แผงกั้นรถยนต์คอนกรีตเสริมเหล็กที่ออกแบบและก่อสร้าง

วก
ไม่ได้มาตรฐาน
 2. แผงกั้นรถยนต์ที่ทาํ จากผนังอิฐมอญ หรือ อิฐบล็อก หรืออิฐ
มวลเบาที่ไม่ได้เสริมเหล็ก
าวศิ
 3. แผงกั้นรถยนต์ที่ทาํ จากผนังคอนกรีตสําเร็จรูป ที่ใช้จุดยึด
เชื่อมต่อเพียงแค่ 2-3 ตําแหน่ ง
สภ
 4. แผงกั้นรถยนต์ชนิ ดเส้นหรือตาข่ายโลหะที่ไม่ได้มาตรฐาน
ผูผ้ ลิตหรือไม่ผ่านการทดสอบ
มาตรการทางกฎหมาย


 1. กรมโยธาธิการและผังเมือง ออกกฎกระทรวงหรือกฎหมาย

วก
อื่นภายใต้ พรบ. ควบคุมอาคาร ระบุให้อาคารต้องออกแบบ
แผงกั้นรถยนต์รบั แรงกระแทกจากรถยนต์ (โดยระบุค่าแรง
กระแทกที่ใช้ออกแบบ)
 2. สภาวิชาชีพ/สมาคมวิชาชีพ/หน่ วยงานรัฐ เร่งออก
าวศิ
มาตรฐานการออกแบบและก่อสร้างแผงกั้นรถยนต์ตกตาม
มาตรฐานในต่างประเทศ
สภ
 3. หน่ วยงานท้องถิ่น สุ่มตรวจความแข็งแรงของแผงกั้นรถยนต์
ในอาคารต่างๆที่อยูภ่ ายในท้องที่ของตัวเอง
ข้อแนะนําอื่นๆสําหรับการออกแบบที่ก้นั ทําจากคอนกรีตเสริมเหล็ก


สําหรับแนวทางการออกแบบและก่อสร้างที่ก้นั ในอาคารจอดรถนั้ น มี

วก
ข้อแนะนําเพื่อเป็ นแนวทาง ดังนี้
1. การออกแบบกําแพงที่ก้นั ควรมีความสูงไม่นอ้ ยกว่า 1.3 ม.
2. การก่ อ สร้า งควรเป็ นคอนกรี ต เทในที ่ พร้อ มทั้ ง ฝั ง เหล็ ก เดื อ ย
าวศิ
(dowel) ยึดกับพื้ นอย่างเพียงพอ
3. การก่อสร้างกําแพงไม่ควรใช้กําแพงทําจากอิ ฐก่อ หรื อคอนกรี ต
สภ
บล็อก เพราะไม่แข็งแรง ไม่สามารถต้านแรงกระแทกได้
4. ควรคํานวณแรงกระแทกตามมาตรฐานการออกแบบหรือโดยอาศัย
หลักการพลังงาน แล้วออกแบบเป็ นกําแพงยืน่ (Cantilever wall)
ข้อแนะนําอื่นๆสําหรับการออกแบบที่ก้นั ทําจากคอนกรีตเสริมเหล็ก


สําหรับแนวทางการออกแบบและก่อสร้างที่ก้นั ในอาคารจอดรถนั้ น มี

วก
ข้อแนะนําเพื่อเป็ นแนวทาง ดังนี้
5. สําหรับกําแพงที่ทําจากคอนกรีตหล่อในที่ ควรเสริมเหล็กยึดที่ฝัง
ยึดเข้า กับพื้ นโครงสร้างเป็ น 2 ชั้น ทั้งผิ วด้านนอกและผิ วด้านใน
าวศิ
ห้ามเสริมเหล็กยืนชั้นเดียวตรงกลางผนัง
6. ควรใช้คอนกรีตที่มีกาํ ลังรับแรงอัดสูงเกิน 280 กก./ซม.2 ขึ้ นไป ซึ่ง
สภ
คอนกรี ตที่มีกําลังรับแรงอัดสูงสามารถต้านทานแรงกระแทกได้
ดีกว่า

You might also like