You are on page 1of 16

1

โรคติดต่อ ทีค
่ วรรูจ้ กั
โรคติดต่อ คือ โรคทีส่ ามารถถ่ายทอดติดต่อถึงกันได้ระหว่างบุคคล
โดยมีเชื้อจุลน ิ ทรีย์ตา่ ง ๆ เป็ นสาเหตุของโรค และถึงแม้วา่ เชื้อโรคจะเป็ นตัวก่อเหตุ
แต่พฤติกรรมทีไ่ ม่เหมาะสมของมนุษย์
ก็เป็ นปัจจัยร่วมทีส่ าคัญทีจ่ ะทาให้เกิดโรคติดต่อนัน ้
้ ๆ ขึน
สาหรับในประเทศไทยเป็ นบริเวณร้อนชื้น
จึงทาให้เชื้อโรคและแมลงทีเ่ ป็ นพาหะนาโรคเจริญเติบโตและแพร่พน ั ธุ์ได้งา่ ย
ประเทศเขตร้อนจึงพบโรคติดต่อชนิดต่าง ๆ มากกว่าประเทศทีม ่ อ
ี ากาศหนาว
โดยโรคทีพ ่ บบ่อยในแถบเขตร้อน จะเรียกรวมว่า "โรคเขตร้อน" (Tropical Diseases)
ซึง่ อาจเกิดจากเชื้อได้มากมายหลายชนิด
นับตัง้ แต่เชื้อไวรัสซึง่ มีขนาดเล็กมากลงไปจนถึงสัตว์เซลล์เดียว และหนอนพยาธิตา่ ง ๆ

โรคติดต่อ ในประเทศไทย

ในปี พ.ศ.2523 ประเทศไทยได้ประกาศใช้พระราชบัญญัตโิ รคติดต่อ พ.ศ.2523


โดยได้มป ี ระกาศรัฐมนตรี เรือ ่ งโรคติดต่ออันตราย
โรคติดต่อตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข และโรคติดต่อทีต ่ อ้ งแจ้งความ
เรียงตามลาดับดังนี้
1. โรคติดต่อ อันตราย มีอยู่ 4 โรค ได้แก่ อหิวาตกโรค ไข้ทรพิษ ไข้เหลือง
และกาฬโรค
2. โรคติดต่อ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขลงวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ.2524 มีอยู่ 44
โรค คือ อหิวาตกโรค กาฬโรค ไข้ทรพิษ ไข้เหลือง ไข้กาฬหลังแอ่น คอตีบ ไอกรน
โรคบาดทะยัก โปลิโอ ไข้หดั ไข้ห ัดเยอรมัน โรคคางทูม ไข้อส ี กุ อีใส ไข้หวัดใหญ่
ไข้สมองอักเสบ ไข้เลือดออก โรคพิษ สุนข ั บ้า โรคตับอักเสบ โรคตาแดงจากไวรัส
อาหารเป็ นพิษ โรคบิดบะซิลลารี (bacillary dysentery) โรคบิดอะมีบา (amoebic dysentery)
ไข้รากสาดน้อย ไข้รากสาดเทียม ไข้รากสาดใหญ่ สครับไทฟัส (scrub typhus) มูรีนไทฟัส
(murine typhus) วัณโรค โรคเรื้อน ไข้จบั สัน ่ แอนแทร็กซ์ (antrax) โรคทริคโิ นซิส
(trichinosis) โรคคุดทะราด โรคเล็พโทสไปโรซิส (โรคฉี่หนู) ซิฟิลิส หนองใน
หนองในเทียม กามโรคของต่อมและท่อน้าเหลือง แผลริมอ่อน
แผลกามโรคเรื้อรังทีข ่ าหนีบ โรคไข้กลับซา้ โรคอุจจาระร่วง โรคแผลเรื้อรัง
และโรคเท้าช้าง
3. โรคติดต่อทีต
่ อ
้ งแจ้งความ มีอยู่ 15 โรค ได้แก่ อหิวาตกโรค กาฬโรค ไข้ทรพิษ
ไข้เหลือง คอตีบ บาดทะยักในเด็กเกิดใหม่ โปลิโอ ไข้สมองอักเสบ ไข้พษ ิ สุนข
ั บ้า
ไข้รากสาดใหญ่ แอนแทร็กซ์ โรคทริคโิ นซิส ไข้กาฬหลังแอ่น โรคคุดทะราดระยะติดต่อ
โรคเอดส์ (AIDS) หรือกลุม ่ อาการภูมค ิ ม
ุ้ กันโรคเสือ่ ม
ปัจจุบน ั โรคติดต่อ ทีเ่ ป็ นอันตรายหลายชนิดถูกควบคุมและกาจัดไปหมดแล้ว เช่น
กาฬโรค ไข้ทรพิษ ส่วน โรคติดต่อ
บางชนิดยังคงพบอยูบ ่ า้ งแต่ลดความรุนแรงของโรคลง เช่น อหิวาตกโรค แต่ก็ยงั คงมี
2

โรคติดต่อ หลายชนิดปรากฎอยู่ และยังพบ โรคติดต่อ ชนิดใหม่เกิดขึน ้ อยู่


โรคติดต่อ ทีค ่ วรรูจ้ กั
โรคติดต่อ ทีย่ งั พบในปัจจุบน ั มีอยูห ่ ลายโรค แต่ โรคติดต่อ อะไรบ้างทีเ่ ราพบได้บอ่ ย
และควรรูจ้ กั ไว้ มาดูกน ั
1. อหิวาตกโรค (Cholera)
อหิวาตกโรค แบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ อหิวาตกโรคชนิดแท้ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
วิบริโอ คอเลอเร ส่วน อหิวาตกโรค ชนิดเทียม เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เอลเทอร์ วิบริโอ
ซึง่ อยูใ่ นอุจจาระหรืออาเจียนของผูป ้ ่ วย และแพร่กระจายอยูใ่ นอาหารและน้าดืม ่ ได้
โดยมีแมลงวันเป็ นตัวพาหะ
ผูป ้ ่ วย อหิวาตกโรค อาจไม่มอ ี าการ มีอาการอย่างอ่อน เช่น ปวดท้อง
ท้องเสียท้องร่วงวันละหลายครัง้ แต่ 1-2 วันก็หายเป็ นปกติ
หรือผูป ้ ่ วยบางคนอาจมีอาการรุนแรงมาก คือ ถ่ายอุจจาระเหลวคล้ายน้าซาวข้าว
มีกลิน ่ คาว อาเจียน ซึง่ การถ่ายบ่อยทาให้รา่ งกายสูญเสียน้าและเกลือแร่
จนเกิดอาการอ่อนเพลีย ชีพจรเต้นเบาลง และเสียชีวต ิ ในทีส่ ดุ
การป้ องกัน อหิวาตกโรค ทาได้โดยการรับประทานอาหารทีป ่ รุงสุกใหม่ ๆ ร้อน ๆ
ใช้ชอ ้ นกลาง และหมั่นล้างมือบ่อย ๆ ดืม ่ และใช้น้าทีส่ ะอาด ทาลายขยะแหล่งแพร่เชื้อโรค
และใช้สว้ มทีถ ่ ก
ู สุขลักษณะ จะช่วยลดความเสีย่ งจากการป่ วยด้วยโรคดังกล่าวได้
2. ไข้หวัด และ ไข้หวัดใหญ่ (Influenza)
ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ เป็ นโรคทีเ่ กิดจากเชื้อไวรัส สามารถเกิดได้กบั ทุกคน ทุกเพศ
ทุกวัย และติดต่อกันง่ายมาก ระบาดตลอดทัง้ ปี แต่มกั เกิดในช่วงทีอ่ ากาศเปลีย่ นแปลง
เช่น ฤดูฝนต่อกับฤดูหนาว
3. โรคตาแดง (Conjunctiva)
เป็ น โรคติดต่อ ทีแ ่ พร่ระบาดได้เร็ว
ผ่านการสัมผัสสิง่ ของเครือ ่ งใช้ของผูป ้ ่ วยตาแดง และมักระบาดในช่วงหน้าฝน กับเด็ก ๆ
ทัง้ นี้โรคตาแดง ไม่เป็ นอันตรายถึงชีวต ิ แต่ตอ ้ งรีบรักษา
4. โรคไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal Meningitis)
เป็ นโรคติดเชื้อแบคทีเรียเฉี ยบพลัน พืน ้ ทีท ่ ม
ี่ อ
ี บ
ุ ตั ก
ิ ารณ์ ของโรคสูงติดต่อกันหลายปี
ได้แก่ แอฟริกากลางแถบทะเลทรายซาฮารา สามารถแพร่จากคนสูค ่ นผ่านละอองน้ามูก
น้าลาย จากปาก จมูกของผูท ้ เี่ ป็ นพาหะ (ผูต ้ ดิ เชื้อแต่ยงั ไม่มอ ี าการป่ วยแสดงออกมา)
อาการของผูเ้ ป็ น ไข้กาฬหลังแอ่น จะปวดศีรษะมาก อ่อนเพลีย คลืน ่ ไส้ อาเจียน
เจ็บคอ คอแข็ง ปวดเมือ่ ยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ
มักมีผืน ่ เลือดออกใต้ผวิ หนังร่วมกับจา้ เลือดขึน ้ ตามตัว แขนขา
อาจมีอาการของเยือ ่ หุม
้ สมองอักเสบร่วมด้วย ในรายทีเ่ ป็ นรุนแรงผูป ้ ่ วยจะซึม ชัก
และช็อก เสียชีวต ิ ได้ภายใน 24 ชั่วโมง หลังเริม ่ มีอาการ การยืนยันการวินิจฉัยโรค
ทาได้โดยการเจาะน้าไขสันหลังส่งตรวจหาเชื้อ miningococci
5. ไข้สมองอักเสบ (Encephalitis)
โรคไข้สมองอักเสบ เกิดจากได้เชื้อไวรัสหลายชนิด
3

แต่ในประเทศไทยมักพบจากเชื้อไวรัส Japanese encephalitis หรือเรียกว่า เจอี (JE)


ทาให้เกิดอันตรายถึงชีวต ิ ได้ อัตราการป่ วยตาย อยูร่ ะหว่างร้อยละ 20-30
ผูป้ ่ วยส่วนใหญ่คอ ื เด็ก อายุตง้ ั แต่ 5-10 ปี และพบโรคนี้ได้ชุกชุมในฤดูฝน
ในประเทศไทยพบโรคนี้ในภาคเหนือมากกว่าภาคอืน ่ ๆ
ผูต ้ ด ิ เชื้อไข้สมองอักเสบ จะไม่แสดงอาการ โดยมีเพียง 1 ใน 300-500
คนเท่านัน ้ ทีจ่ ะมีอาการ คือ เป็ นไข้ ปวดเมือ่ ย อ่อนเพลีย ต่อไปอาการปวดศีรษะจะมากขึน ้
อาเจียน ง่วงซึมจนไม่รส ู้ กึ ตัว บางรายอาจมีอาการเกร็งชักกระตุกด้วย
อาจมีอาการหายใจไม่สมา่ เสมอ ในรายทีเ่ ป็ นรุนแรงมากจะถึงแก่กรรมประมาณวันที่ 7-9
ของโรค ถ้าพ้นระยะนี้แล้วจะผ่านเข้าระยะฟื้ นตัว ระยะเวลาของโรคทัง้ หมดประมาณ 4-7
สัปดาห์ เมือ่ หายแล้วประมาณร้อยละ 60 ของผูป ้ ่ วยจะมีความพิการเหลืออยู่ เช่น
อัมพาตแบบแข็งเกร็ง (spastic) ของแขนขา มีพฤติกรรมเปลีย่ นแปลง มีสติปญ ั ญาเสือ่ ม
ปัจจุบน ั โรคไข้สมองอักเสบ ยังรักษาไม่ได้ แต่ป้องกันได้ดว้ ยการฉี ดวัคซีน 2 ครัง้ ห่างกัน
1 เดือน แล้วฉี ดเพิม ่ อีก 1 ครัง้ หลังจากฉี ดเข็มที่ 2 ได้ 1 ปี ควรจะเริม ่ ให้วคั ซีนนี้เมือ่ อายุ 1
ปี ครึง่ พร้อมกับการให้ booster dose DTP และ OPV รวมทัง้ หลีกเลีย่ งไม่ให้ถูกยุงกัด
อันเป็ นพาหะของโรค
6. ไข้เหลือง (Yellow fever)
ไข้เหลือง เป็ นโรคติดเชื้อไวรัสทีท ่ าให้เกิดการระบาดใหญ่ในทวีปแอฟริกา
และอเมริกา มาตัง้ แต่ 400 ปี ก่อน คาว่า "เหลือง" มาจากอาการตัวเหลืองหรือดีซา่ น
(Jaundice) ทีม ่ กั พบในผูป ้ ่ วย และยังมีอาการไข้สงู ร่วมกับชีพจรเต้นช้าผิดปกติ
ปวดกล้ามเนื้อร่วมกับปวดหลัง ปวดศีรษะ หนาวสั่น เบือ่ อาหาร
ระยะต่อมาจะมีเลือดออกจากปาก จมูก ตา กระเพาะอาหาร
ทาให้อาเจียนและถ่ายเป็ นเลือด จนถึงไตวาย มีโปรตีนปัสสาวะ (albuminuria)
และปัสสาวะไม่ออก (anuria) ครึง่ หนึ่งของผูป ้ ่ วยระยะโลหิตเป็ นพิษจะเสียชีวต ิ ภายใน 10-14
วัน ทีเ่ หลือจะหายเป็ นปกติโดยอวัยวะต่าง ๆ ไม่ถูกทาลาย
ไข้เหลือง มียุงลายเป็ นพาหะของโรค และไม่มก ี ารรักษาจาเพาะ
เน้นการรักษาตามอาการ และฉี ดวัคซีนเพือ ่ ป้ องกันโรค
7. ไข้รากสาดใหญ่ (Typhus)
หรือไข้ไทฟัส (Typhus) เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย กลุม ่ ริคเกตเซีย
โดยมีแมลงปรสิตเป็ นพาหะ โรคไข้รากสาดใหญ่ มี 3 ชนิดคือ
1.ไข้รากสาดใหญ่ชนิดระบาด มักระบาดหลังสงครามหรือภัยพิบต ั ิ
จะมีอาการปวดศีรษะรุนแรง มีผืน ่ ตามลาตัว แขนขา ปวดกล้ามเนื้อ ความดันโลหิตตก
ซึม ไวต่อแสงและเพ้อ ไข้สงู สามารถรักษาได้โดยให้ยาปฏิชีวนะ
2.ไข้รากสาดใหญ่ประจาถิน ่ ติดต่อผ่านทางหมัดทีก ่ ดั หนู อาการปวดศีรษะ เป็ นไข้
หนาวสัน ่ คลืน ่ ไส้อาเจียน รักษาให้หายได้ แต่ในผูส ้ งู อายุ
หรือผูม ้ ภ ี มู ค
ิ มุ้ กันอาจเสียชีวต ิ ได้
3.ไข้รากสาดใหญ่จากป่ าละเมาะ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
มีไรอ่อนซึง่ พบมากตามป่ าละเมาะเป็ นพาหะ ภาษาญีป ่ นเรี
ุ่ ยก โรคสึสกึ ามูชิ
8. ไข้เลือดออก
4

ไข้เลือดออก เป็ นโรคทีเ่ กิดจากยุงลายเป็ นพาหะ จึงมักระบาดในประเทศเขตร้อนชื้น


โดยผูป ้ ่ วยจะมีไข้สงู ถึง 39-40 องศาเซลเซียส หน้าแดง มีเลือดออกเป็ นจุดตามตัว ตับโต
อาจมีอาการปวดท้องและช็อกได้ จึงต้องรีบรักษาโดยเร็ว โดยการเฝ้ าระวังภาวะช็อค
และเลือดออก
การป้ องกันไข้เลือดออกทีด ่ ีทส ุ คือ การกาจัดยุงลาย ซึง่ เป็ นพาหะไม่ให้ขยายพันธุ์
ี่ ด
โดยหมัน ่ ตรวจสอบแหล่งน้าต่าง ๆ ทีย่ ุงจะเพาะพันธุ์อยู่
9. คอตีบ (Diphtheria)
โรคคอตีบ หรือ ดิพทีเรีย เป็ นโรคติดเชื้อเฉี ยบพลันของระบบทางเดินหายใจ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ซึง่ ทาให้เกิดการอักเสบมีแผ่นเยือ ่ เกิดขึน ้ ในลาคอ
ในรายทีร่ น ุ แรงจะมีการตีบตันของทางเดินหายใจ จึงได้ชือ ่ ว่าโรคคอตีบ
และอาจทาให้ถงึ ตายได้ นอกจากนี้่จากพิษ (exotoxin)
ของเชื้อจะทาให้มอ ี น
ั ตรายต่อกล้ามเนื้อหัวใจ และเส้นประสาทส่วนปลาย
อาการโรคคอตีบ คือจะเริม ่ จากมีไข้ต่า ๆ คล้ายหวัด มีอาการไอเสียงก้อง เจ็บคอ
เบือ่ อาหาร ในเด็กโตอาจจะบ่นเจ็บคอคล้ายกับคออักเสบ
บางรายอาจจะพบต่อมน้าเหลืองทีค ่ อโตด้วย
เมือ่ ตรวจดูในคอพบแผ่นเยือ ่ สีขาวปนเทาติดแน่ นอยูบ ่ ริเวณทอนซิล และบริเวณลิน ้ ไก่
แผ่นเยือ ่ นี้เกิดจากพิษทีอ่ อกมาทาให้มก ี ารทาลายเนื้อเยือ ่
และทาให้มก ี ารตายของเนื้อเยือ ่ ทับซ้อนกันเกิดเป็ นแผ่นเยือ ่ (membrane)
คอตีบ สามารถติดต่อกันง่ายผ่านการไอ จามรดกัน หรือพูดคุยระยะใกล้ชด ิ
รวมทัง้ การใช้ภาชนะร่วมกัน ส่วนใหญ่มกั พบผูป ้ ่ วยโรคคอตีบในชุมชนแออัด
หรือในชนบททีไ่ ม่ได้รบั วัคซีน ในประเทศไทยมักพบผูต ้ ด
ิ เชื้อคอตีบเป็ นเด็ก อายุ 1-6 ปี
10. ทริคโิ นซิส (Trichinosis)
โรคทริคโิ นซิส หรือ โรคทริคเิ นลโลซิส
เป็ นโรคพยาธิทต ี่ ดิ ต่อถึงคนโดยการบริโภคเนื้อสัตว์ดบ ิ หรือสุก ๆ ดิบ ๆ
ในประเทศไทยพบการระบาดในผูใ้ หญ่มากกว่าเด็ก โดยการบริโภคเนื้อสุกร
และสัตว์ป่าอืน ่ ๆ เข้าไป อาการทีส่ าคัญของผูป ้ ่ วย คือ ปวดกล้ามเนื้ อ หนังตาบนบวม
ตาแดงอักเสบ มีไข้ หนาวสั่น อ่อนเพลียมาก
ผูป
้ ่ วยมักป่ วยอยูน ่ านหลายเดือนหรืออาจเป็ นรุนแรงจนถึงชีวต ิ ได้ การป้ องกันคือ
รับประทานอาหารทีป ่ รุงให้สก ุ แล้ว
11. บาดทะยัก (Tetanus)
เป็ นโรคติดเชื้อทีจ่ ดั อยูใ่ นกลุม ่ ของโรคทางประสาทและกล้ามเนื้อ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Clostidium tetani ซึง่ ผลิต exotoxin
ทีม่ พี ษ
ิ ต่อเส้นประสาททีค ่ วบคุมการทางานของกล้ามเนื้อ เมือ่ เชื้อเข้าไปทางบาดแผล
จะทาให้มก ี ารหดเกร็งตัวอยูต ่ ลอดเวลา ผูท ้ เี่ ป็ น บาดทะยัก กล้ามเนื้อขากรรไกรจะเกร็ง
ทาให้อา้ ปากไม่ได้ โรคนี้จงึ มีชือ ่ เรียกอีกชือ ่ หนึ่งว่า โรคขากรรไกรแข็ง (lockjaw)
จากนัน ้ ผูป้ ่ วยจะคอแข็ง หลังแข็ง ต่อไปจะมีอาการเกร็งของกล้ามเนื้อทั่วตัว ทาให้ชกั ได้
การป้ องกันคือ ให้วคั ซีนป้ องกันบาดทะยักตัง้ แต่เด็ก
และเมือ่ มีบาดแผลต้องทาแผลให้สะอาดทันที โดยการฟอกด้วยสบูล่ า้ งด้วยน้าสะอาด
5

เช็ดด้วยยาฆ่าเชื้อ เช่น แอลกอฮอล์ 70% หรือทิงเจอร์ใส่แผลสด


พร้อมทัง้ ให้ยารักษาการติดเชื้อทันที
12. โปลิโอ (Poliomyelitis)
เป็ นโรคทีเ่ กิดจากเชื้อไวรัส ทาให้เกิดการอักเสบของไขสันหลัง
ส่งผลให้เป็ นอัมพาตช่วงกล้ามเนื้อแขนและขา
ในรายทีอ่ าการรุนแรงจะส่งผลให้พก ิ ารตลอดชีวต ิ และอาจถึงขัน ้ เสียชีวต
ิ ได้
อาการทีเ่ กิดจากการติดเชื้อไวรัสโปลิโอแตกต่างกันได้มาก ประมาณร้อยละ 90
จะไม่มอ ี าการแสดงใด ๆ ประมาณร้อยละ 4-8 จะมีอาการไม่รน ุ แรงไม่มอ ี มั พาต
และประมาณร้อยละ 1 จะมีอาการแบบเยือ ่ หุม
้ สมองอักเสบไม่มอ ี มั พาต ประมาณร้อยละ 1-
2 เท่านัน ้ ทีจ่ ะมีอาการอัมพาตเกิดขึน ้
การป้ องกัน โปลิโอ ง่ายทีส่ ด ุ คือการให้วคั ซีน OPV ตัง้ แต่เด็ก
รวมทัง้ ป้ องกันการติดเชื้อและการแพร่กระจายของเชื้อโปลิโอ
ด้วยการรับประทานอาหารและดืม ่ น้าสะอาดถูกสุขลักษณะ
รวมทัง้ การถ่ายอุจจาระลงส้วมทีถ ่ ูกสุขลักษณะทุกครัง้
13. โรคพิษสุนขั บ้า (Rabies)
โรคพิษสุนขั บ้า เป็ น โรคติดต่อ จากสัตว์มาสูค ่ นทีม่ ค
ี วามรุนแรงมาก
โดยผูป ้ ่ วยทีร่ บั พิษสุนขั บ้า จากทางบาดแผลทีส่ ัตว์กดั หรือข่วน ไม่วา่ จะมาจาก สุนขั แมว
สุนข ั จิง้ จอก สกัง้ ค์ แรคคูน พังพอน และสัตว์เลีย้ งลูกด้วยนมอืน ่ ๆ จะมีไข้
ปวดเมือ่ ยตามเนื้อตัว คันหรือปวดบริเวณรอยแผลทีถ ่ ูกสัตว์กดั ต่อมาจะหงุดหงิด
ตืน
่ เต้นไวต่อสิง่ เร้า (แสง เสียง ลมฯ) ม่านตาขยาย น้าลายไหลมาก
กล้ามเนื้อคอกระตุกเกร็งขณะทีผ ่ ูป ้ ่ วยพยายามกลืนอาหารหรือน้า ทาให้เกิดอาการ
"กลัวน้า" เพ้อคลั่ง สลับกับอาการสงบ ชัก ผูป ้ ่ วยบางรายอาจแสดงอาการแบบอัมพาต
โดยมีอาการแขนขาอ่อนแรง กรณี ไม่ได้รบั การรักษาประคับประคอง มักป่ วยอยูป ่ ระมาณ
2 - 6 วัน และเสียชีวต ิ เนื่องจากอัมพาตของกล้ามเนื้อ ระบบทางเดินหายใจ
หากใครถูกสุนขั กัดหรือข่วน ต้องล้างบาดแผลด้วยสบูแ ่ ละน้าสะอาดให้ลก ึ ถึงก้นแผล
และใส่ยารักษาแผลสดเพือ ่ กาจัดเชื้อไวรัสทีแ ่ ผลโดยเร็ว แล้วไปพบแพทย์
พร้อมทัง้ ติดตามดูอาการสัตว์ทก ี่ ดั เพือ ่ เฝ้ าระวังโรคพิษสุนขั บ้า
14. โรคมือ ปาก เท้า (Hand foot mouth disease)
โรคมือ ปาก เท้า หรือ โรคมือ เท้า ปาก เกิดจากเชื้อไวรัสลาไส้
หรือเอนเทอโรไวรัสหลายชนิด พบได้บอ่ ยในกลุม ่ เด็กทารกและเด็กเล็กอายุต่ากว่า 5 ปี
เป็ นโรคเกิดประปรายตลอดปี แต่จะเพิม ่ มากขึน ้ ในหน้าฝน ซึง่ อากาศมักเย็นและชื้น
โดยทัว่ ไปโรคนี้มอ ี าการไม่รน ุ แรง แต่ตด ิ ต่อกันได้ผา่ นเข้าสูป ่ ากโดยตรง
ซึง่ มาจากการสัมผัสสิง่ ของทีม ่ เี ชื้อไวรัสติด และไอจามรดกัน
ผูป ้ ่ วยจะมีไข้ต่า ๆ อ่อนเพลีย ต่อมาอีก 1-2 วัน มีเจ็บปากและไม่ยอมทานอาหาร
เนื่องจากมีตุม ่ แดงทีล่ นิ้ เหงือก
และกระพุง้ แก้ม ตุม ่ นี้จะกลายเป็ นตุม ่ พองใส ซึง่ บริเวณรอบ ๆ
จะอักเสบและแดง ต่อมาตุม ่ จะแตกออกเป็ นแผลหลุมตื้น ๆ จะพบตุม ่ หรือผืน ่ (มักไม่คน ั )
ทีฝ่ ่ ามือ นิ้วมือ ฝ่ าเท้า และอาจพบทีก ่ น้ ด้วย อาการจะทุเลาและหายเป็ นปกติภายใน 7-10
6

วัน
การรักษาทาได้ตามอาการ เพราะไม่มวี คั ซีนป้ องกันโดยตรง
และควรรักษาความสะอาด ล้างมือบ่อย ๆ หลีกเลีย่ งการใช้สงิ่ ของร่วมกัน
15. เลปโตสไปโรซิส (Leptos) หรือ โรคฉี่ หนู
พบได้ท่วั โลก ยกเว้นขัว้ โลก ผูป ้ ่ วยมักเป็ นคนทีป ่ ระกอบอาชีพเกษตรกร คนเลี้ยงสัตว์
รวมทัง้ ผูท ้ ช
ี่ อบเดินป่ า ท่องเทีย่ วแม่น้า น้าตก และผูท ้ มี่ ป
ี ระวัตแ ิ ช่ในน้าท่วมขัง โดย
โรคฉี่หนู เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชือ ่ เลปโตสไปร่า (Leptospira) มีสตั ว์เป็ นพาหะ เช่น หนู
สุกร โค กระบือ สุนข ั แรคคูน
เชื้อโรค สามารถเข้าสูร่ า่ งกายทางผิวหนังทีม ่ แี ผล หรือรอยขีดข่วน
รวมทัง้ ผิวหนังทีเ่ ปื่ อยเนื่องจากแช่อยูใ่ นน้านาน ๆ และเยือ ่ บุทอ
ี่ อ่ นนุ่ม เช่น ตา จมูก ปาก
โดยมักพบเชื้อในน้า ดินทรายเปี ยกชื้น หรือผักทีป ่ นเปื้ อนปัสสาวะของสัตว์ทต ี่ ด
ิ เชื้อ
ผูป
้ ่ วยจะมีอาการไข้สงู ปวดศีรษะ กล้ามเนื้อมาก อาจพบอาการคอแข็ง ความดันโลหิตต่า
ผืน่ แดง ต่อมน้าเหลืองโต ตับ ม้ามโต
การป้ องกัน โรคฉี่หนู ทาได้โดยหลีกเลีย่ งการแช่น้าหรือลุยน้า
ถ้าจาเป็ นควรสวมรองเท้าบูต ๊ ถุงมือยาง นอกจากนี้ยงั ควรกาจัดหนูในทีอ่ ยูอ ่ าศัยของคน
ฉี ดวัคซีนป้ องกันโรคแก่ปศุสตั ว์ (เช่น โค กระบือ) และสัตว์เลี้ยง (เช่น สุนข ั )
จะช่วยป้ องกันโรคได้
16.วัณโรค (TB)
วัณโรคเป็ นโรคติดต่อเรื้อรัง ทาให้เกิดการอักเสบในปอด
แต่ถา้ พบในเด็กอาจเป็ นทีอ่ วัยวะอืน ่ ร่วมด้วย เช่น ต่อมน้าเหลือง เยือ ่ หุม
้ สมอง กระดูก
สาเหตุมาจากเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis รับเชื้อผ่านทางการไอ จาม
ทาให้เชื้อกระจายในอากาศ อาการของ วัณโรคปอด จะพบได้เร็วทีส่ ด ุ หลังติดเชื้อ 1-6
เดือน โดยจะเริม ่ ต้นเป็ นจุดทีป ่ อดก่อน เด็กจะมีไข้ต่า ๆ เบือ่ อาหาร น้าหนักตัวลดลง
บางคนมีอาการไอเรื้อรัง บางคนมีไอซ้อน ๆ กันคล้ายไอกรน
เด็กโตบางคนอาจบ่นเจ็บหน้าอก และเหนื่อยหอบ ถ้าเป็ นมากจะมีน้าในช่องเยือ ่ หุม
้ ปอด
ในสมัยก่อนเรียก วัณโรค ว่า "ฝี ในท้อง" ผูป ้ ่ วยจะเสียชีวต
ิ ทุกราย
และคนยังรังเกียจอีกด้วย แต่ปจั จุบน ั วัณโรค สามารถรักษาให้หายได้
โดยการรักษาจะให้ยาร่วมกันอย่างน้อย 3 ชนิด เพือ ่ ลดอัตราการดื้อยา
และเพิม ่ ประสิทธิภาพของยา การป้ องกัน
ทาได้โดยหลีกเลีย่ งการสัมผัสใกล้ชด ิ กับผูป
้ ่ วยทีก
่ าลังมีอาการไอ รวมทัง้ ให้วคั ซีน BCG
ป้ องกันวัณโรค
17. โรคหัด (Measles)
โรคหัดเป็ นโรคไข้ออกผืน ่ (Exanthematous fever) ทีพ ่ บบ่อยในเด็กเล็ก
นับว่าเป็ นโรคทีม ี วามสาคัญมากโรคหนึ่ง เพราะอาจมีโรคแทรกซ้อนทาให้ถงึ เสียชีวต
่ ค ิ ได้
โดยสาเหตุของ โรคหัด เกิดจากเชื้อไวรัส และติดต่อผ่านกันโดยการไอ จาม
การหายใจเอาละอองทีป ่ นเปื้ อนเชื้อไวรัสเข้าไป
ผูป
้ ่ วย จะเป็ นไข้ น้ามูกไหล ไอ ตาแดง ตาแฉะ กลัวแสง และจะมีผน ้ ในวันที่ 4
ื่ ขึน
7

ของไข้ ลักษณะนูนแดงติดกันเป็ นปื้ น ๆ มักขึน ้ ทีห


่ น้า ขอบผม
ก่อนกระจายไปตามแขนขา ทัว่ ตัว ใช้เวลา 2-3 วัน จากนัน ้ ไข้จะลดลง
ผืน ่ จากทีเ่ ป็ นสีแดงจะออกเข้มขึน ้ และอาจมีโรคแทรกซ้อนเกิดขึน ้ ได้
การรักษาโรคหัด เป็ นการรักษาตามอาการ
การป้ องกันทีด ่ ีทส ี่ ด ุ คือการให้วคั ซีนป้ องกันตัง้ แต่เด็ก และหลีกเลีย่ งการสัมผัสผูป ้ ่ วย
18. หัดเยอรมัน (Rubella)
เป็ นโรคติดต่อชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อไวรัส ทาให้มอ ี าการไข้และผืน ่ ทั่วตัว
อาจมีอาการปวดข้อ
หรือข้ออักเสบร่วมด้วย สามารถติดต่อผ่านการจากการสัมผัสโดยตรง ผ่านการไอจาม
หายใจ โรคหัดเยอรมัน ส่วนใหญ่จะเป็ นกับเด็ก
ผูใ้ หญ่ทไี่ ม่มภ ี ม ู ค ิ ม ุ้ กันจะเป็ นได้และรุนแรงมากกว่าเด็ก
และทีส่ าคัญคือถ้าเป็ นในหญิงมีครรภ์ จะทาให้ลูกคลอดออกมามีความพิการทางหู ตา
หัวใจ และสมอง ได้ตง้ ั แต่รอ้ ยละ 25-40 ทัง้ นี้แล้วแต่ระยะของการตัง้ ครรภ์
การรักษา หัดเยอรมัน รักษาโดยตามอาการทีเ่ ป็ น และป้ องกันได้ดว้ ยการฉี ดวัคซีน
19. ไอกรน (Pertussis)
โรคไอกรน เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เป็ นโรคติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ
ทาให้มก ี ารอักเสบของเยือ ่ บุทางเดินหายใจ และเกิดอาการไอ ทีม ่ ลี กั ษณะพิเศษคือ
ไอซ้อน ๆ ติด ๆ กัน 5-10 ครัง้ หรือมากกว่านัน ้ จนเด็กหายใจไม่ทน ั จึงหยุดไอ
และมีอาการหายใจเข้าลึก ๆ เป็ นเสียง วูป ๊ (Whooping cough) สลับกันไปกับการไอเป็ นชุด ๆ
จึงมีชือ่ เรียกว่า "โรคไอกรน" บางครัง้ อาการอาจจะเรื้อรังนานเป็ นเวลา 2-3 เดือน
โรคนี้พบบ่อยในเด็ก แต่เป็ นได้ทก ุ อายุ ถ้าไม่มภ ี ม ู ค ิ มุ้ กัน แต่ในวัยหนุ่มสาว
หรือผูใ้ หญ่อาจไม่มอ ี าการ หรือไม่มอ ี าการแบบไอกรน
ส่วนใหญ่จงึ ไม่ได้รบั การวินิจฉัยว่าเป็ นโรคไอกรน การป้ องกัน ไอกรน
ทาได้ดว้ ยการฉี ดวัคซีน 4-5 ครัง้ และจะไม่ให้วคั ซีนแก่เด็กทีม ่ อ ี ายุเกิน 7 ปี แล้ว
เพราะจะพบปฏิกริ ยิ าข้างเคียงได้สงู
20. โรคแอนแทรกซ์ (Anthrax)
เป็ นโรคทีเ่ กิดจากเชื้อแบคทีเรีย ระบาดในหมูส่ ตั ว์เลือดอุน ่ คือ โค กระบือ ม้า แพะ
แกะ ในประเทศไทยพบการระบาดในกระบือมากทีส่ ด ุ และพบทุกภาค
โดยมากมักระบาดซา้ ในท้องทีเ่ ดิม
โรคแอนแทรกซ์ สามารถติดต่อมายังคนได้ทางผิวหนัง จากาการสัมผัสซาก
ทางปากจากการรับประทาน รวมทัง้ ทางเดินหายใจทีห ่ ายใจเอาสปอร์ของเชื้อเข้าไป
ทัง้ จากขนสัตว์ หนังสัตว์ อาหารสัตว์ (กระดูกป่ น) ทีม ่ ส ี ปอร์ฟงกระจาย
ุ้
อาการผูป ้ ่ วยโรคแอนแทรกซ์ จะมีอาการคัน มีตุม ่ บวมมีน้าใส ต่อมาจะหายใจขัด
มีไข้ ช็อก ซึง่ อาจทาให้เสียชีวต ิ ได้อย่างรวดเร็วภายใน 3-5 วัน ส่วนอาการในสัตว์
หากเป็ นแบบฉับพลัน ก็อาจตายได้ภายใน 1-2 ชั่วโมงหลังแสดงอาการป่ วย
การป้ องกันทาได้โดยการฉี ดวัคซีนให้ส ัตว์ทก ุ ๆ 6 เดือน
ไม่นาเนื้อสัตว์ทต ี่ ายโดยไม่ทราบสาเหตุ หรือสัตว์ทอ ี่ าจป่ วยเป็ นโรคนี้มากิน
และไม่นาซากสัตว์เหล่านัน ้ ไปใช้ประโยชน์ ตอ ่ ไป รวมทัง้ ทานอาหารทีป ่ รุงสุกเท่านัน ้
8

21. โรคเอดส์ (AIDS)


หรือโรคภูมค ิ ม
ุ้ กันบกพร่อง เกิดจากการติดเชื้อไวรัส
ฮิวแมนอิมมิวโนเดฟี เซียนซีไวรัส (Human Immunodeficiency Virus : HIV) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า
เชื้อเอชไอวี จะเข้าไปทาลายเซลล์เม็ดเลือดขาว ทีม ่ ห
ี น้าทีส่ ร้างภูมค
ิ มุ้ กันโรค
ทาให้ผูป้ ่ วยทีต ่ ด
ิ เชื้อมีภม ู ค
ิ ม
ุ้ กันต่าลง จนร่างกายไม่สามารถต้านทานเชื้อโรคได้อก ี
โรคต่างๆ (หรือเรียกอีกนัยหนึ่งว่า โรคฉวยโอกาส) จึงเข้ามาซา้ เติมได้งา่ ย เช่น วัณโรค
ปอดบวม ติดเชื้อในระบบโลหิต เชื้อรา ฯลฯ และทาให้ผูป ้ ่ วยเสียชีวติ ในทีส่ ด ุ
และปัจจุบ ันยังไม่มยี ารักษา
โรคเอดส์ สามารถติดต่อกันได้ ผ่านทางการมีเพศสัมพันธ์กบั ผูต ้ ด
ิ เชื้อ ,
รับเชื้อทางเลือด เช่น การใช้เข็มฉี ดยาร่วมกัน รวมทัง้ การติดต่อจากมารดา
โดยแม่ทม ี่ เี ชื้อเอดส์จะถ่ายทอดให้ลูกในครรภ์ได้ แต่เราสามารถป้ องกัน โรคเอดส์
ได้โดยการ ใช้ถุงยางอนามัยทุกครัง้ ทีม ่ เี พศสัมพันธ์ รวมทัง้ รักเดียว ใจเดียว นอกจากนี้
ก่อนแต่งงาน หรือมีบต ุ ร ควรตรวจร่างกาย ตรวจเลือด และขอรับคาปรึกษาเรือ ่ ง
โรคเอดส์ จากแพทย์กอ ่ น
22. กาฬโรค (Plague)
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียเป็ นโรคติดต่อชนิดร้ายแรง เมือ่ พบผูเ้ ป็ นกาฬโรค
ต้องรีบแจ้งความ โดยพาหะของกาฬโรคมาจากสัตว์ฟน ั แทะจาพวกหนู เช่น หนู กระรอก
กระแต กระต่าย โดยหากหมัดของสัตว์เหล่านี้มากัดคน จะปล่อยเชื้อเข้าทางรอยแผล
จนเกิดโรคได้ โดยในอดีตเคยมีการระบาดใหญ่ของกาฬโรคมาแล้ว 3 ครัง้ ในทั่วโลก
และคร่าชีวต ิ คนไปแล้วหลายล้านคน
เมือ่ เชื้อกาฬโรคเข้าสูร่ า่ งกายจะทาให้เกิดการอักเสบบวม โดยเฉพาะทีข ่ าหนีบ
และรักแร้ และจะมีไข้สงู หนาวสั่น ปวดศีรษะ ต่อมน้าเหลืองโตบวม
ระยะต่อมาเชื้อจะแพร่กระจายไปตามกระแสโลหิต เข้าสูป ่ อด ตับ ม้าม
และบางรายไปยังเยือ ่ หุม้ สมอง เกิดภาวะเชื้อเข้ากระแสโลหิตรุนแรง (Septicaemic plague)
จะเกิดอาการหัวใจวายและตายในทีส่ ด ุ หากไม่ได้รบั การรักษาอย่างถูกต้องและรวดเร็ว

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ Sexual tranmitted disease

1. โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สามารถเป็ นได้ทก ุ เพศทุกวัย ทุกชนชัน ้ แต่พบมากในหมูว่ ยั รุน



2. อัตราการติดเชื้อของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์พบมากขึน ้
เนื่องจากวัยรุน
่ มีคา่ นิยมทีจ่ ะอยูก
่ อ
่ นแต่งงาน หรือนิยมมีเพศสัมพันธ์ตง้ ั แต่อายุยงั ไม่มาก
และทีส่ าคัญมีการหย่าล้างสูงทาให้คนมีสามีหรือภรรยาหลายคน
ทาให้โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เพิม ้
่ มากขึน
3. โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยมากมักจะไม่เกิดอาการ
ดังนัน
้ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สามารถติดต่อโดยทีไ่ ม่รต ู ้ วั
แพทย์บางประเทศจึงแนะนาให้มก ี ารตรวจค้นหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สาหรับคนทีส่ าส่อน
4. โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ยงั ก่อให้เกิดปัญหาทางสาธารณสุขอย่างมาก
9

 โรคอาจจะลุกลามไปยังมดลูกหรือท่อรังไข่ทาให้เกิดการอักเสบในช่องท้อง Pelvic
inflammatory disease ซึง่ อาจจะก่อให้เกิดการเป็ นหมัน หรือตัง้ ครรภ์นอกมดลูก
 โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อาจจะทาให้เกิดโรคมะเร็ง เช่นการติดเชื้อ human
papillomavirus infection (HPV) ทาให้เกิดมะเร็งปากมดลู
 โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สามารถติดต่อไปยังทารกในครรภ์

กลุม
่ ทีเ่ สีย่ งต่อการติดโรค

 การมีเพศสัมพันธ์กบั ชายหรือหญิงบริการใน 3 เดือนทีผ ่ า่ นมา


 การมีคน ู่ อนมากกว่า 1 คนใน 3 เดือนทีผ ่ า่ นมา
 การมีเพศสัมพันธ์กบั คูค ่ นใหม่ใน 3 เดือนทีผ ่ า่ นมา
 การทีม ่ ป ี ระวัตป
ิ ่ วยเป็ นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ใน 1 ปี ทีผ ่ า่ นมา
 การทีส่ ามีหรือภรรยามีคน ู่ อนมากกว่า 1 คนใน 3 เดือนทีผ ่ า่ นมา
 การทีค ่ ค
ู่ รองอยูก ่ นั คนละที่

อาการของผูป
้ ่ วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

 ปัสสาวะขัด
 มีผืน
่ แผลหรือตุม
่ น้าทีอ่ วัยวะเพศหรือทวารหนัก
 มีหนองหรือน้าหลั่งจากช่องคลอดหรือท่อปัสสาวะ
 มีอาการคันหรือปวดบริเวณทวาร
 มีอาการแดงและปวดบริเวณอวัยวะเพศ
 ปวดท้องหรือปวดช่องเชิงกราน
 ปวดเวลามีเพศสัมพันธ์
 ตกขาวบ่อย

1. การรักษาตัง้ แต่เริม
่ ต้นจะทาให้รกั ษาหายขาด
การติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์จะทาให้ตด ้
ิ โรคเดอส์งา่ ยขึน

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

>>>>>>โรคเอดส์<<<<<<<<

เป็ นโรคทีเ่ ริม


่ มีรายงานเมือ่ ปี 1981 เกิดจากเชื้อ human immunodeficiency virus
(HIV), ซึง่ เป็ นเชื้อทีท
่ าลายระบบภูมค ิ ม
ุ้ กันของร่างกาย
ทาให้ผูป
้ ่ วยติดเชื้อพวกฉวยโอกาสและมะเร็ง

>>>>>การติดเชื้อ clamydia<<<<<<

เป็ นโรคติดเชื้อแบคทีเรียทีพ ่ บบ่อยทีส่ ด



ทาให้เกิดอาการมีหนองไหลและมีอาการระคายเคืองบริเวณอวัยวะเพศ
สาหรับผูห ้ ญิงทีไ่ ม่ได้รกั ษาอาจจะทาให้เกิดการอักเสบในช่องเชิงกรานเป็ นหมัน
หรือตัง้ ครรภ์นอกมดลูก

>>>>>การติดเชื้อ HPV<<<<<<<<<<
10

้ อ่านทีน
เป็ นเชื้อไวรัสชนิดหนึ่งเมือ่ ติดเชื้อจะทาให้เกิดหูดขึน ่ ี่

>>>>>>>>> หูดทีอ่ วัยวะเพศ condloma<<<<<<<<<<<<<<

้ ได้ทง้ ั แคมใหญ่ ช่องคลอด และปากมดลูก


เป็ นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์ หูดขึน
เชื้อบางชนิดทาให้เกิดมะเร็ง

>>>>>เริมทีอ่ วัยวะเพศ<<<<<

เป็ นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ทเี่ กิดเชื้อไวรัส herpes simplex virus


ทาให้เกิดอาการปวดแสบบริเวณขา ก้นหรืออวัยวะเพศ และตามด้วยผืน ่ เป็ นตุม
่ น้าใส
แผลหายได้เองใน 2-3 สัปดาห์แต่เชื้อยังอยูใ่ นร่างกาย เมือ่ ร่างกายอ่อนแอ
เชื้อก็จะกลับเป็ นใหม่

>>>>>หนองในแท้ <<<<<

เป็ นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ทเี่ กิดจากเชื้อแบคทีเรียทีเ่ รียกว่า


ทาให้เกิดอาการระคายเคืองในท่อปัสสาวะ แสบขัดเวลาปัสสาวะ
มีหนองไหลออกจากท่อปัสสาวะ อาจจะทาให้เกิดการอักเสบในช่องท้อง
หรือเป็ นหมันหากไม่ได้รบั การรักษา

>>>>> หูด<<<<<

เกิดจากเชื้อไวรัส human papillomavirus


ทาให้เกิดหูดทีอ่ วัยวะเพศลักษณะเป็ นผืน
่ นูน ไม่เจ็บ ผืน ึ้
่ จะมีขนาดใหญ่ขน
หากไม่รกั ษาผืน ่ จะโตเป็ นลักษณะหงอนไก่ Molluscum

>>>>>ซิฟิลิส <<<<<

เป็ นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ทีพ ่ บได้ไม่บอ่ ย


การติดเชื้อเริม
่ แรกจะเป็ นก้อนแข็งไม่เจ็บทีอ่ วัยวะเพศ
ไม่ไม่รกั ษาจะกลายเป็ นระยะทีส่ องทีเ่ รียกว่าเข้าข้อหรือออกดอก
หากทิง้ ไว้นานจะติดเชื้อทีร่ ะบบประสาท และหัวใจ

>>>>>แผลริมอ่อน <<<<<<Chancroid

เป็ นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เกิดจากเชื้อ Haemophilus Ducreyi


ลักษณะของโรคจะมีแผลทีอ่ วัยวะเพศ บวมและเจ็บ
บางคนมีตอ ่ มน้าเหลืองทีข
่ าหนีบหรือทีช
่ าวบ้านเรียกไข่ดน
ั บวม
หากไม่รกั ษาหนองจะแตกออกจากต่อมน้าเหลือง

>>>>>ตัวโลน <<<<<

เกิดจากแมลงตัวเล็กทีเ่ รียกว่า pediculosis pubis อาศัยอยูท ่ ข


ี่ นหัวเหน่ า
ดูดเลือดคนเราเป็ นอาหาร ผูท ้ เี่ ป็ นโรคจะมีอาการคันเป็ นหลัก
11

เมือ่ เกาจะทาให้เจ้าตัวเชื้อแพร่ไปยังบริเวณอืน
่ การวินิจฉัยสามารถทาได้ดว้ ยตาเปล่า
จะพบไข่สข ี าวเกาะตรงโคนขน ไข่จะมีลกั ษณะวงรี
ส่วนตัวแมลงเมือ่ กินเลือดเต็มทีจ่ ะออกสีน้าตาล

>>>>>หิด<<<<<Scabies

หิดเป็ นโรคทีเ่ กิดจากปาราสิตไชเข้าผิวหนังทาให้เกิดตุม


่ คัน
หิดเป็ นโรคติดต่อโดยการสัมผัสกันโดยตรง สามารถเกิดทีผ ่ วิ หนังได้ท่วั ร่างกายหิด
Scabies

เป็ นการติดเชื้อปาราสิตทีม
่ ช
ี ือ
่ ว่า Sarcoptes scabiei ตัวเมียจะฝังตัวใต้ผวิ
และขึน้ มาวางไข่วน ั ละ 2-3 ฟอง ไข่จะใช้เวลาในการฟักตัวประมาณ 10
วันจึงจะเป็ นตัวอ่อน

การติดต่อ

โรคนี้จะติดต่อโดยการสัมผัส ระหว่างผิวหนังทีเ่ ป็ นโรคและผิวหนังปกติ


การติดต่อมักจะเกิดเมือ่ นอนร่วมกันเป็ นเวลานาน
การร่วมเพศอย่างเดียวมีโอกาศติดเชื้อนี้น้อย

อาการของผูท
้ เี่ ป็ นโรค

 คันมากโดยเฉพาะเวลากลางคืน
 มีรอยเคลือ
่ นทีข่ องตัวปาราสิตเป็ นรูป s
 ผิวหนังสีตุม
่ สีน้าตาล

ตาแหน่ งทีต
่ ด
ิ เชื้อบ่อยคือ ซอกนิ้วมือนิ้วเท้า หัวเหน่ า ขาหนีบ ข้อมือ เต้านม อัณฑะ ท้อง
ส่วนบริเวณทีพ ่ บน้อยได้แก่ฝ่ามือฝ่ าเท้า

>>>>>ตับอักเสบ <<<<<

สาเหตุของโรคตับอักเสบ

1. เชื้อไวรัส มีหลายชนิดได้แก่ ไวรัสตับอักเสบ เอ ,บ,ซี,ดี,อี


2. เครือ่ งดืม
่ ทีม
่ แ
ี อลกอฮอล์
3. ยาบางชนิด เช่น ยารักษาวัณโรค halothane, isoniazid, methyldopa, phenytoin,
valproic acid, sulfonamide drugs. ผูป ้ ่ วยหากได้ acetaminophen
(พาราเซ็ตตามอล)ในขนาดสูงมากก็สามารถทาให้ตบั ถูกทาลายได้
4. เชื้อโรคบางชนิด เช่น ไทฟอยด์,มาลาเรีย

การอักเสบของตับจะทาให้ตบั บวม มีการทาลายเซลล์ตบั


ทาให้มอ ี าการอ่อนเพลียจากการทางานผิดปกติของตับ
หากการอักเสบเกิดขึน ้ เป็ นเวลานานจะทาให้ตบั ถูกทาลายมาก และถูกแทนทีด ่ ว้ ยพังผืด
ทาให้ตบั มีแผลเป็ น และมีลกั ษณะแข็งเป็ นตุม
่ ๆ
แม้วา่ สาเหตุของตับอักเสบจะมีมากมายแต่สาเหตุทส ี่ าคัญคือไวรัสตับอักเสบ
12

ปัญหาโรคตับอักเสบ บี
และโรคตับอักเสบเรื้อรังเป็ นปัญหาสาคัญทางสาธารณสุขของประเทศไทยและทัว่ โลก
การดาเนินของโรคตับอักเสบ บี และโรคตับอักเสบ
ซีสามารถดาเนินเป็ นโรคตับอักเสบเรื้อรัง เป็ นตับแข็ง และเป็ นมะเร็งตับ
เป็ นภาวะทีก
่ อ
่ ให้เกิดการสูญเสียทางครอบครัว ทางเศรษฐกิจเป็ นอันมาก
้ การเข้าใจถึงโรคตับอักเสบ ซึง่ รวมถึงการติดต่อ การดาเนินของโรค การวินิจฉัย
ดังนัน
การรักษา
และการป้ องกันการติดต่อซึง่ จะเป็ นประโยชน์ ในการดูแลและช่วยลดจานวนผูป ้ ่ วยลง

ไวรัสตับอักเสบมีกช
ี่ นิด

 ไวรัสตับอักเสบ เอ
 ไวรัสตับอักเสบ บี
 ไวรัสตับอักเสบ ซี
 ไวรัสตับอักเสบ ดี
 ไวรัสตับอักเสบ อี

อาการของโรคไวรัสตับอักเสบ

 ตับอักเสบเฉี ยบพลัน ผูป ้ ่ วยจะมีอาการทีพ


่ บได้บอ่ ย คือ อ่อนเพลีย ปวดเมือ่ ยตามกล้ามเนื้อ
ปวดข้อ คลืน ่ ไส้อาเจียน เบือ่ อาหาร อาจจะพบผืน ่ ตามตัว หรืออาการท้องเสีย
บางรายปัสสาวะสีเข้ม ตัวเหลืองตาเหลือง ซึง่ อาการตัวเหลืองตาเหลืองจะหายไป 1-4
สัปดาห์ แต่บางรายอาจนาน 2-3 เดือน ส่วนใหญ่จะหายเป็ นปกติ โรคไวรัสตับอักเสบ บี
พบว่าร้อยละ 5-10 เป็ นตับอักเสบเรื้อรัง ส่วนไวรัสตับอักเสบ ซี ร้อยละ 85
เป็ นตับอักเสบเรื้อรัง
 ตับอักเสบเรื้อรัง ผูป
้ ่ วยมักไม่มอี าการ แต่จะมีการทาลายเซลล์ตบั ไปเรือ ่ ยๆจนเกิดตับแข็ง
และเป็ นมะเร็งตับในทีส่ ด ุ

จะทราบได้อย่างไรว่าเป็ นตับอักเสบ

หากสงสัยว่าจะเป็ นโรคตับอักเสบท่านควรไปรับการตรวจเลือดเพือ
่ หาว่ามีการติดเชื้อหรือ
ไม่โดย

1. ตรวจการทางานของตับ โดยการหาระดับ SGOT[AST],SGPT [ALT]ค่าปกติน้อยกว่า


40 IU/L ถ้าค่ามากกว่า 1.5-2 เท่าให้สงสัยว่าตับอักเสบ
หากพบว่าผิดปกติแพทย์จะขอตรวจเดือนละครัง้ ติดต่อกันอย่างน้อย 3 เดือน
การแปรผลเลือด
2. การตรวจหาตัวเชื้อ

 ไวรัสตับอักเสบ เอ ตรวจหา Ig M Anti HAV


 ไวรัสตับอักเสบ บี ตรวจหา HBsAg ถ้าบวกแสดงว่ามีเชื้ออยู่ Anti HBs
ถ้าบวกแสดงว่ามีภม ู ต
ิ อ
่ เชื้อ HBeAg ถ้าบวกแสดงว่าเชื้อมีการแบ่งตัว HBV-DNA
เป็ นการตรวจเพือ
่ หาปริมาณเชื้อ
13

 ไวรัสตับอักเสบ ซี Anti-HCV เป็ นการบอกว่ามีภม


ู ต
ิ อ
่ เชื้อ HCV-RNA
ดูปริมาณของเชื้อ

3. การตรวจดูโครงสร้างของตับ
เช่นการตรวจคลืน ่ เสียงเพือ
่ ดูวา่ มีตบั แข็งหรือมะเร็งตับหรือไม่
4. การตรวจชิน
้ เนื้อตับ แพทย์ผูเ้ ชีย่ วชาญจะนาชิน ้ เนื้อตับเพือ
่ วินิจฉัยความรุนแรงของโรค

การรักษา

การเลือกใช้ยาจะเป็ นหน้าทีข ่ องแพทย์ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะเนื่องจากยามีผลข้างเคียงทีพ


่ งึ ระ
วังหลายอย่าง ยาทีใ่ ช้อยูม
่ ี interfeon และ lamuvudin

การปฏิบตั ต
ิ วั

 หลีกเลีย่ งการออกกาลังกายอย่างหักโหมในช่วงทีม ่ ก
ี ารอักเสบของตับ
แต่การออกกาลังอย่างสมา่ เสมอในตับอักเสบเรื้อรังสามารถทาได้
 งดเครือ
่ งดืม่ ทีม
่ แ
ี อลกอฮอล์
 รับประทานอาหารทีม ่ ป
ี ระโยชน์ และพักผ่อนอย่างพอเพียง ไม่ตอ
้ งดืม
่ น้าหวานมากๆ
เพราะทาให้ไขมันสะสมทีต ่ บั เพิม ้
่ ขึน

>>>>>หนองในเทียม <<<<<Non Gonococcal Urethritis (NSU)

อาการสาหรับเพศชาย

 หนองไหลออกจากอวัยวะเพศ
 ปวดแสบร้อนเวลาปัสสาวะ
 คันหรือระคายเคืองท่อปัสสาวะ
 ปวดหน่ วงบริเวณอวัยวะเพศ
 อาจจะมีอ ัณฑะอักเสบ

อาการสาหรับเพศหญิง

เชื้อจะไปทีป่ ากมดลูก cervix และท่อปัสสาวะจะทาให้เกิดอาการตกขาว ปัสสาวะขัด


หากไม่รกั ษาเชื้ออาจจะลามไปทีท ่ อ่ รังไข่ Fallopian tube
เกิดช่องเชิงกรานอักเสบซึง่ จะมีอาการปวดท้องน้อย มีไข้ เจ็บท้องเมือ่ มีเพศสัมพันธ์

 ตกขาว
 ปัสสาวะขัด
 ปวดท้องน้อย มีเลือดออกขณะร่วมเพศ

>>>>>อุง้ เชิงกรานอักเสบ<<<<<

เกิดจากเพศสัมพันธ์

เชื้อทีเ่ ป็ นสาเหตุทพ
ี่ บได้บอ่ ยได้แก่ หนองใน และ chlamydia
14

ไม่ได้เกิดจากเพศสัมพันธ์์

 จากการใส่หว่ ง
 การสวนล้างช่องคลอด

อาการของผูป
้ ่ วยมีอะไรบ้าง

 ปวดแน่ นท้องน้อย
 แสบร้อนในท่อปัสสาวะหรือปัสสาวะแล้วปวด
 คลืน่ ไส้อาเจียน
 เลือดออกผิดปกติ
 ตกขาวมากขึน ้
 ปวดเมือ่ มีเพศสัมพันธ์
 ไข้สงู หนาวสั่น

>>>>> ช่องคลอดอักเสบ ติดเชื้อtrichomonase<<<<<

เชื้อ Trichomanase เป็ น Protozoa เซลล์เดียวชือ


่ ว่า Trichomanas vaginalis
จากชือ ่ ก็ทราบว่ามักจะติดเชื้อบริเวณช่องคลอด

ส่วนผูช
้ ายก็สามารถติดเชื้อทีท่ อ่ ปัสสาวะได้เหมือนกันเป็ นการติดเชื้อปรสิตเซลล์เดียว
เกิดจากการติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แต่อย่างไรก็ตามเชื้อสามารถอยูไ่ ด้ 24
ชั่วโมงในสภาพทีช่ ื้น ดังนัน
้ อาจจะติดจากผ้าเช็ดตัว

การติดต่อของการติดเชือ Trichomonase

ติดทางทางเพศสัมพันธ์จากชาย-หญิงหรือหญิง-หญิง

อาการของผูท
้ ป
ี่ ่ วยเป็ นโรคการติดเชื้อ Trichomonase นี้เป็ นอย่างไร

สาหรับผูช
้ ายอาจจะไม่มอ ี าการ
หรืออาจจะมีอาการระคายเคืองหลังปัสสาวะหรือมีหนองไหลเล็กน้อย
สาหรับผูห้ ญิงจะมีอาการตกขาวสีเหลืองกลิน
่ เหม็น
ปวดหลังปัสสาวะหรือปวดขณะมีเพศสัมพันธ์ คันบริเวณอวัยวะเพศ
แต่บางคนก็มอ ี าการเพียงเล็กน้อย

ผูช
้ ายและผูห
้ ญิงส่วนใหญ่จะไม่มอ
ี าการ อาการทีส่ าคัญคือ

 ตกขาวสีเหลืองเขียว
 ตกขาวมีกลิน

 ตกขาวมีปริมาณมากขึน้
 ปัสสาวะบ่อย
 คันช่องคลอด

>>>>> ฝี มะม่วง<<<<<Lymphogranuloma Venereum (LGV)


15

อาการของโรคฝี มะม่วงมีอาการ 4 แบบใหญ่ๆด้วยกันได้แก่

1. แผลทีอ่ วัยวะเพศ มีแผลทีอ่ วัยวะเพศชายหรือหญิง แผลนี้จะไม่ปวด


2. ต่อมน้าเหลืองทีข
่ าหนีบโต มีหนองไหลออกจากต่อมน้าเหลืองทีข ่ าหนีบ
3. ท่อปัสสาวะอักเสบ
4. การอักเสบของรูทวาร มีเลือดหรือหนองออกมาจากทวารหนัก มีอาการปวดเบ่งอุจาระ

>>>>> การติดเชื้อราในช่องคลอด <<<<<

ปัจจัยเสีย่ งทีท
่ าให้เกิดการติดเชื้อรา

 ความเครียด
 เบาหวาน
 การตัง้ ครรภ์
 การใช้ยาคุมกาเนิด
 การใช้ยาปฏิชีวนะ โดยเฉพาะยาในกลุม
่ tetracyclin

อาการและอาการแสดงของช่องคลอดอักเสบ

 ตกขาวมากขึน ้
 ตกขาวเป็ นเมือกขาว
 คันและแสบบริเวณช่องคลอด
 เจ็บเมือ่ มีเพศสัมพันธ์

การป้ องกันช่องคลอดอักเสบจากเชื้อรา

 สวมชุดทีไ่ ม่รดั และทาจากผ้าฝ้ ายหรือผ้าลินิน ไหม


 หลีกเลีย่ งชุดรัดรูป
 ห้ามสวนล้างช่องคลอดเพราะจะทาลายเชื้อแบคทีเรีย
 ลดการใช้ยาดับกลิน ่
 งดการใช้ผา้ อนามัยทีม ่ น
ี ้าหอม
 สวมเสือ้ ผ้าทีแ
่ ห้งอยูเ่ สมอ
 หลีกเลีย่ งการอาบหรือแช่น้าอุน ่
 ล้างชุดชัน้ ในในน้าอุน ่
 รับประทานอาหารเพือ ่ สุขภาพ
 รับประทานโยเกิตร์
 ควบคุมระดับน้าตาลให้คงที่

การรักษาตัวโลนสามารถซื้อยาทาได้ตามร้านขายยา
แต่คนท้องหรือเด็กควรจะปรึกษาแพทย์

การป้ องกัน สมาชิกในครอบครัว เพือ ่ นสนิท


คูน
่ อนควรจะได้รบั การดูแลพร้อมกันเพือ ่ ป้ องกันการกลับเป็ นซา้
เสือ
้ ผ้าหรือผ้าปูทน
ี่ อนควนจะนาไปต้มหรือซักแห้ง แล้วรีดด้วยเตารีด ตัวแมลงอยูไ่ ด้เพียง
24 ชั่วโมงเมือ่ ไม่ได้อยูก
่ บั คน ส่วนไข่อยูไ่ ด้นานถึง 6 วัน
16

การป้ องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

การป้ องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ทด
ี่ ีทส
ี่ ด
ุ คือการไม่มเี พศสัมพันธ์
หากยังมีเพศสัมพันธ์ตอ
้ งคานึงถึงความปลอดภัยเป็ นอันดับแรก

 ไม่เปลีย่ นคูน
่ อน ให้มสี ามีหรือภรรยาคนเดียว
 ใส่ถุงยางให้ถก ู ต้องหากจะมีเพศสัมพันธ์กบั คนทีไ่ ม่ทราบว่ามีการติดเชื้อหรือไม่
 อย่ามีเพศสัมพันธ์เมือ่ อายุน้อยเพราะจากสถิตห ิ ากมีเพศสัมพันธ์อายุน้อยจะมีโอกาสติดโร
คสูง
 ให้ตรวจประจาปี เพือ ่ หาเชื้อโรคแม้วา่ จะไม่มอ
ี าการ โดยเฉพาะผูท ้ ต
ี่ อ
้ งการแต่งงานใหม่
 เรียนรูอ้ าการของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 อย่าร่วมเพศขณะมีประจาเดือน เพราะจะทาให้เกิดโรคติดต่อได้งา่ ย
 อย่ามีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก หากจาเป็ นให้สวมถุงยางอนามัย
 อย่าสวนล้างช่องคลอดเพราะจะทาให้เกิดการติดเชื้อได้งา่ ย

สาหรับผูท
้ เี่ ป็ นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ตอ
้ งปฏิบตั ต
ิ วั อย่าง

 ให้รกั ษาอย่างรวดเร็วเพือ
่ ป้ องกันการแพร่เชื้อ
 แจ้งให้คนู่ อนทราบว่าคุณเป็ นโรคเพือ่ ทีจ่ ะป้ องกันโรคมิให้แพร่สค
ู่ นอืน

และให้ได้รบั การรักษา
 รักษาตามแพทย์สง่ ั
 งดร่วมเพศ

You might also like