You are on page 1of 52

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

เรือ่ ง

การใชงานพีแอลซี
PROGRAMMABLE LOGIC CONTROLLER

เรียบเรียงโดย

ผศ. ดร. ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล


ผศ. บุญเจริญ วงศกิตติศึกษา
อ. สาวิตร ตัณฑนุช

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
2544
2

บทที่ 1 บทนํา

พีแอลซี (PLC) ยอมาจาก Programmable Logic Controller ซึ่งหมายถึง ตัว


ควบคุ ม เชิ ง ตรรกะที่ โปรแกรมได ในยุ โรบมักเรียกวา “ซี เ ควนเซอร” (Sequencer
Controller) เรียกยอๆวา SC แตสมาคมผูผลิตอุปกรณไฟฟาญี่ปุน (JEMA) มักเรียก “พีซี”
(PC) หรือ “พีแอลซี” (PLC)
พีแอลซีเปนอุปกรณควบคุมการทํางานของเครือ่ งจักรหรือกระบวนการตาง ๆ โดย
ภายในจะมี ไ มโครโปรเซสเซอร ทํ าหนาที่ เปนตั วสั่ งการมี หนวยความจํ าสํ าหรั บเก็ บ
โปรแกรมสําหรับควบคุมเครือ่ งจักรหรือกระบวนการ มีอนิ พุตที่สามารถตอเขากับตัวตรวจ
รูหรือสวิตชตาง ๆ และมีสวนของเอาทพุตที่สามารถตอเขากับอุปกรณกระทําการของ
เครือ่ งจักร เชน วงจรแมเหล็ก(Magnetic), วาลวตาง ๆ เปนตน รูปแบบของการควบคุม
เครื่องจักรสามารถเปลี่ ยนแปลงไดโดยการเปลี่ ยนแปลงโปรแกรมสั่ งงานพีแอลซีจะมี
ฟงกชันตางๆสําหรับการควบคุมอยูภ ายใน เชนรีเลย, รีจสี เตอร, ตัวตัง้ เวลา, ตัวนับและตัว
เปรียบเทียบ เปนตน การเชือ่ มตอของอุปกรณเหลานีส้ ามารถทําไดโดยซอฟทแวร

1. ประวัติ พีแอลซี
ค.ศ. 1969
- พีแอลซี ไดถกู พัฒนาขึน้ มาครัง้ แรกโดย บริษทั Bedford Associates โดยใชชอ่ื
วา Modular Digital Controller (Modicon) “มอดิคอน” ใหกบั โรงงานผลิตรถยนตใน
อเมริกาชื่อ General Motors Hydramatic Division
- บริษัท Allen-Bradley ไดเสนอระบบควบคุมโดยใชชอ่ื วา พีแอลซี
ค.ศ. 1970-1979
- ไดมีการพัฒนาใหพีแอลซีมีการประมวลผลที่เร็วมากขึ้นตามกการเปลี่ยนแปลง
ของไมโครโปรเซสเซอร
- ความสามารถในการสือ่ สารขอมูลระหวาง พีแอลซี กับ พีแอลซี โดยระบบแรก
คือ มอดบัส(Modbus) ของมอดิคอน
- เริ่มมีการใชอินพุต/เอาทพตุ ที่เปนสัญญาณแอนาลอก
3

ค.ศ. 1980-1989
- มีความพยายามทีจ่ ะสรางมาตรฐานในการสือ่ สารขอมูลของ พีแอลซี โดยบริษทั
เจนเนอรัลมอเตอร (General Motor-GM) ไดสรางโปรโตคอลทีเ่ รียกวา manufacturing
altomation protocal (MAP)
- ผลิตซอฟแวรทส่ี ามารถโปรแกรมพีแอลซี ดวยภาษาสัญลักษณ โดยสามารถ
โปรแกรมผานทางคอมพิวเตอรแทนที่จะโปรแกรมผานทางเทอรมินอลอยาง handheld
หรือ programing terminal
ค.ศ. 1990-ปจจุบนั
- มีความพยายามในการที่จะทําใหภาษาทีใ่ ชในการโปรแกรม พีแอลซี มีมาตร
ฐานเดียวกันโดยใชมาตรฐาน IEC1131-3
- สามารถโปรแกรม พีแอลซี ไดดว ย แผนผังฟงกชันบล็อก (function block
diagrams) บัญชีคําสั่ง (instruction list) ภาษาซี และภาษาใกลเคียงธรรมชาติอน่ื ๆ

2. โครงสรางและสวนประกอบของ PLC
PLC จะมีโครงสรางและสวนประกอบดังรูปตอไปนี้

รูปแสดงโครงสรางของพีแอลซี
4

ซึ่งจะมีสวนประกอบที่สาคั
ํ ญ แบงออกเปน 4 สวน คือ
1. หนวยประมวลผลกลาง (CPU)
2. หนวยความจํา (Memory)
3. หนวยอินพุต/เอาทพุต (Input/Output Unit)
4. หนวยอุปกรณเชือ่ มตอภายนอก (Peripheral Device)

2.1 หนวยประมวลผลกลาง (CPU)


หนวยประมวลผลกลางจะทําหนาทีค่ วบคุมการทํางานของพีแอลซีโดยทั่วไปจะใช
ไมโครโปรเซสเซอรขนาด 8 บิท เปนตัวประมวลผล โดยจะทําการรับขอมูลจากอินพุตแลว
ทําการประมวลผล หลังจากนั้นจะสงผลที่ไดไปยังเอาทพตุ ตอจากนัน้ จะทําการรับอินพุต
เขามาใหมแลวทําซํ้า กิจกรรมดังกลาวขางตนไปเรือ่ ย ๆ การทํางานและประมวลผลของ
หนวยประมวลผลกลางจะอยูภายใตโปรแกรมที่ผูใชปอนเขาไป นอกจากนีห้ นวยประมวล
ผลกลางยังทําหนาที่ควบคุมการ ติดตออุปกรณเชือ่ มตออืน่ ๆ เชน เครือ่ งโปรแกรม
เปนตน

2.2 หนวยความจํา (Memory)


หนวยความจําจะทําหนาที่เก็บโปรแกรมและขอมูลของพีแอลซีหนวยความจําจะเปน
ตัวกํ าหนดความสามารถของพีแอลซีโดยทั่วไปจะบอกเปนจํ านวนบรรทัดของโปรแกรม
หนวยความจําของพีแอลซีจะแบงเปน 2 สวน คือ
- หนวยความจําระบบ (ROM) ใชสําหรับเก็บโปรแกรมบริหารระบบและขอมูลของ
ระบบทั้งโปรแกรมบริหารระบบและขอมูลของระบบ ผูใชไมสามารถเปลี่ยนแปลงได แต
อาจสามารถตรวจดูขอ มูลได
- หนวยความจําผูใช (User memory) ใชสําหรับเก็บโปรแกรมผูใ ช ขอมูลของหนวย
อินพุต/เอาทพุตและอุปกรณภายใน (เชน Timer, Counter เปนตน) หนวยความจําผูใชนี้
ยังสามารถจําแนกตามชนิดของวัสดุอเิ ล็กทรอนิกสทน่ี ามาสร
ํ างไดแก แรม (RAM) อีพรอม
(EPROM) และอีอพี รอม (EEPROM)
5

โปรแกรมผูใชคือโปรแกรมที่ผูใชเขียนขึ้นเพื่อควบคุมเครื่องจักรหรือกระบวนการให
ทํางานตามตองการ

2.3 หนวยอินพุต/เอาทพุต
หนวยอินพุตทํ าหนาที่ เชื่อมตอระหวางหนวยประมวลผลกลางกับอุปกรณภาย
นอก เมื่อรับคาสภาวะจากอุปกรณตรวจรูต า ง ๆ ของเครือ่ งจักร เชน ลิมิตสวิตช (Limit
Switch), สวิตชแสง, พร็อกซิมติ สี วิตช (Proximity Switch) และสวิตชอุณหภูมิ เปนตน
แลวสงคาดังกลาวไปใหหนวยประมวลผลกลางทําการประมวลผลตามโปรแกรมคําสัง่ ของ
ผูใช นอกจากนีห้ นวยอินพุตยังทําหนาที่ แยกวงจรไฟฟาของสัญญาณขาเขากับอุปกรณ
ภายในพีแอลซีเพือ่ ปองกันไมใหหนวยประมวลผลไดรบั อันตราย
หนวยเอาทพุต จะทําหนาทีส่ ง คาสัญญาณทีไ่ ดจากการประมวลผลไปขับอุปกรณ
ภายนอก เชน มอเตอร วาลว ปม และหลอดไฟ เปนตน เชนเดียวกับหนวยอินพุต หนวย
เอาทพุต สามารถทําหนาที่แยกกราวดของสัญญาณภายในกับอุปกรณภายนอกเพื่อปอง
กันความเสียหายทีจ่ ะเกิดขึน้
จากทีก่ ลาวมาขางตนจะเห็นวา PLC จะมีหนวยอินพุตและเอาทพุตทํางานแบบ
ON/OFF อยางไรก็ตามในปจจุบนั ไดมกี ารพัฒนา Programmable Controller ใหมหี นวย
อินพุต/เอาทพุตที่สามารถรับสงสัญญาณอนาลอกได
6

รูปแสดงอุปกรณตวั อยางทีส่ ามารถใชหนวยอินพุตและเอาตพตุ ใหพแี อลซี

3. การประมวลผลคําสั่ง

รูปแสดงขั้นตอนการประมวลผลในพีแอลซี

หนวยประมวลผลกลางในพีแอลซีจะทํางานโดยการสแกน (SCAN) โปรแกรม


อยางตอเนื่อง การ SCAN 1 รอบจะประกอบดวยขัน้ ตอนทีส่ ําคัญ 3 ขัน้ ตอน (อาจจะมี
มากกวา 3 ขัน้ ตอนก็ได) ดังแสดงในรูป ขัน้ ตอนตางๆสามารถอธิบายไดดงั นี้
7

ขั้นตอนที่ 1 ตรวจสอบสภาวะของอินพุต (Check input status)


ในขั้นตอนนี้พีแอลซีจะตรวจสอบอินพุตแตละอินพุตวามีสภาวะเปดหรือ
ปด (ON หรือ OFF) โดยจะทําการตรวจสอบดูวา อุปกรณตรวจรูท ต่ี อ อยูก บั อินพุต
ตัวแรกวามีสภาวะเปนอยางไรแลวจึงตรวจสอบทีอ่ นิ พุตตัวที่ 2 และ 3 ไปเรือ่ ย ๆ
จากนั้นจะทําการบันทึกขอมูลทีไ่ ดลงในหนวยความจํา(memory) เพื่อจะใชในขั้น
ตอนตอไป
ขั้นตอนที่ 2 การประมวลผลของโปรแกรม (Execute program)
ขั้นตอนนี้พีแอลซีจะทําการประมวลผลตามโปรแกรมที่ไดเขียนขึ้นโดยจะ
ทําเพียงคําสั่งละครั้ง จากนัน้ ก็จะเก็บผลทีไ่ ดจากการประมวลผลไวในหนวยความ
จําเพือ่ ใชในขัน้ ตอนตอไป
ขั้นตอนที่ 3 การปรับปรุงสภาวะของเอาทพตุ (Update output status)
ขั้นตอนสุดทายพีแอลซีจะทําการปรับปรุงสภาวะของเอาทพตุ ซึง่ จะขึน้ อยู
กั บสภาวะของอิ นพุ ตที่ ไ ด ม าจากขั้ นตอนแรกและผลจากการประมวลผลตาม
โปรแกรมในชวงขั้นตอนที่สองหลังจากเสร็จขั้นตอนที่สามแลวพีแอลซีจะกลับไปที่
ขั้นตอนที่ 1 และทําซํ้าไปเรือ่ ย ๆอยางตอเนือ่ ง

ดังนั้น หนึ่งชวงเวลาสแกน (scan time) จะหมายถึงเวลาที่ใชไปในการทํางาน


ตามขั้นตอนทั้ง 3 ทีไ่ ดกลาวมา สัญญาณเขาที่จะปอนเขาพีแอลซีจะตองมีชวงการสงคา
นานกวา 1 รอบระยะเวลาของวงรอบการทํางาน เพือ่ ใหเกิดการอานสัญญาณไดถกู ตอง
และสั ญ ญาณออกที่ จ ะควบคุ ม ก็ ต  อ งนานพอที่ จ ะทํ าใหอุปกรณตอพวงปลายทางรับรู
สถานะที่จะสั่งงานดวย

รูปแสดงความสัมพันธของอินพุต/เอาตพุต และชวงเวลาสแกน
8

4. การจําแนกประเภทและขนาดของพีแอลซี
4.1 Micro PC (ขนาดเล็กมาก)
• 0-32 I/O Points
• 8 Bits Processor
• Memory Up to 1 K
• Digital I/O (Built in)
• Timer/Counter/Mcr (Master control relay)
• Programmed With Handheld

4.2 Small PC (ขนาดเล็ก)


ขอมูลทั่วไป
• 32-128 I/O Points
• 8 Bits Processor
• Memory Up to 2 K
• Digital I/O (Local Only)
• Timer/Counter/Mcr/Tcs (shift register)
• Ladder or Boolean Language Only
• มี Analog control
• ทํา Math operation ได
• เชื่อมโยงเปนเครือขายได
• มี Remote I/O

4.3 Medium PC (ขนาดกลาง)


ขอมูลทั่วไป
• 64-1024 I/O
9

• Memory 4K Up to 8K
• DI/DO, AI/AO , Local & Remote I/O
• Ladder, Boolean & High Level Language
• Network link
• 512-1024 I/O
• มี Memory มากกวา
• ทํา PID Control ได
• ทํา Subroutine ได
• ทํา Math ได
• ทํา Data Handling ไดมากขึน้

4.4 Large PC (ขนาดใหญ)


ขอมูลทั่วไป
• 512-4096 I/O ,8-16 Bit Processor
• Memory Up to 12K
• DI/DO, AI/AO , Local & Remote I/O
• Ladder, Boolean & High Level Language
• Function Block, Pid Module ,Math (Square Root)
• มี Application Memory มากกวา
• ทํา Special Function I/O Module ได
• ทํา Math ได

4.5 Very large PC (ขนาดใหญมาก)


ขอมูลทั่วไป
• 2048-8192 I/O , 16 / 32 Bit
10

• Memory Up to 64K
• DI/DO AI/AOLocal & Remote I/O
• Ladder, Boolean & High Level Language
• Function Block, Pid Module ,Math (Cosine)
• Host Computer , machine diagnostic

4.6 Supervisory Control and Data Acquisition - SCADA


• Man/Human Machine Interface
• Communicate with various PC protocols
• Graphic & Animation tools
• Data logging & Events logging
11

บทที่ 2 การโปรแกรมพีแอลซี

การที่จะใหพีแอลซีควบคุมเครือ่ งจักรหรือกระบวนการใหทํางานตามทีเ่ ราตองการ


นั้น เราตองเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งใหเครื่องทํ างานตามที่เราตองการ คํ าสั่งที่ใชเขียน
โปรแกรมของพีแอลซีมี 3 ภาษาดวยกัน คือ สเตทเมนทลสิ ต (Statement list – STL)
คอนโทรลซิสเต็มโฟลว (Control system flow – CSF) และแลดเดอร LADDER (LAD)
ผูใชสามารถเลือกเขียนเอกสารแบบตางๆในโปรแกรม S5W จากเมนูบารในหัวขอพรีเซน-
เตชัน (Presentation)

ON Q 32.1
O I 32.0
S Q 32.0
A Q 32.0
L KT
100.0
SD T 1
A T 1
= Q 32.1

ตัวอยางการเขียนภาษา LAD CSF และ STL

ภาษาแลดเดอรเปนภาษาที่ประกอบดวยสัญลักษณของหนาสัมผัส และขดลวด
เพื่อแสดงเงื่อนไขการควบคุมระหวางอุปกรณอินพุตและเอาทพุต การเขียนโปรแกรมตอง
ระบุหมายเลขของอุปกรณใหถกู ตอง ภาษาแลดเดอรจะเปนภาษาพืน้ ฐานสําหรับพีแอลซี
ขนาดเล็ ก ขึ้ น ไป ส ว นภาษาสเตทเมนท ลิ ส ต จ ะใช ตัว ดํ าเนิ น การของฟ ง ก ชนั ตรรกะมี
ลักษณะคลายกับสัญลักษณของพีชคณิตบูลลีน เชน แอนดเกต หรือออรเกต เปนตน
สํ าหรับภาษาคอนโทรลซิสเต็มโฟลว จะมีรูปรางเปนบล็อกสัญลักษณคลายกับ
ภาษาแลดเดอรเหมาะสําหรับการควบคุมทีซ่ บั ซอน
การสรางเอกสารในโปรแกรม S5W จะมีโครงสรางได 2 รูปแบบ คือ แบบเชิงเสน
และแบบโครงสราง โดยที่การโปรแกรมแบบเชิงเสนจะเปนการทํางานอยูบนบล็อกเดียว
ซึ่งจะเหมาะสมกับงานควบคุมที่ไมยุงยาก สํ าหรับบล็อกที่ใชในการสรางเอกสารของ
โปรแกรมคือออรแกนไนเซชันบล็อกหมายเลข 1 (Organization Block 1 - OB1)
12

สํ าหรั บการโปรแกรมแบบโครงสรางนี้เหมาะกับงานควบคุมที่ซับซอนโดยการ
เขี ยนโปรแกรมจะเขียนในลักษณะเปนบล็อกซึ่งทํ าสามารถเขาใจงายและแกไขขอผิด
พลาดไดงาย
การสรางเอกสารสําหรับพีแอลซีของซีเมนต สามารถเขียนเปนบล็อกได 5 ระดับ
ซึ่งแตละบล็อกจะมีรายละเอียดดังนี้
- ออรแกนไนเซชันบล็อกหรือโอบี บล็อกนี้ใชสําหรับเชือ่ มตอระหวางระบบควบคุม
ของพีแอลซีกบั โปรแกรมทีค่ วบคุมการทํางาน
- โปรแกรมบล็อก (Program block) หรือพีบี เปนบล็อกทีบ่ รรจุโปรแกรมทีผ่ ใู ช
เขียนขึ้นตามเงื่อนไขตาง ๆ ตามตองการ สามารถเรียกใชดว ยคําสั่ง IUหรือ IC จากโอบี1
- ฟงกชันบล็อก (Function block) หรือเอฟบี เปนบล็อกพิเศษสําหรับโปรแกรมที่
มีการเรียกใชบอ ย ๆ
- ดาตาบล็อก (Data block) หรือดีบี เปนบล็อกทีใ่ ชสาหรั
ํ บการเก็บขอมูลทีผ่ ใู ช
ตองการสําหรับโปรแกรมควบคุม เชน คาคงที่ในการนับ เปนตน
- ซีเควนซบล็อก (Sequence block) หรือ เอสบี เปนบล็อกพิเศษ มีลักษณะ
คลาย ๆ กับ พีบี

จํานวนของบล็อก ความยาว และคําสัง่ ตาง ๆ ทีใ่ ชกบั บล็อกตาง ๆ ในพีแอลซีแต


ละรุนจะมีคา แตกตางกัน ผูใ ชจะตองศึกษาจากคูม อื เฉพาะเครือ่ งเปนรายๆไป

1. ทฤษฎีพื้นฐานวงจรตรรกะ

เครือ่ งหมาย สัญลักษณ สมการ


& , •, ∩ A B A 0

& 0
A A&B , A•B ,A ∩ B
B 0

+,|,≥,∪ A A 0
>=1
0
A A+B , A| B , A ≥ B,
B 0

B
A∪B
- ,~ ,ο A A 1 A -A ,~A , A
13

กฎการสลับที่ กฎการเปลีย่ นกลุม กฎการกระจาย


A+B = B+A (A+B)+C = A+(B+C) A••(B+C)=A••
A•B = B•A (A•B ) •C = A•(B•C) B+A••C
(A+B) •(A+C)=A+(B•C)
กฎเอกลักษณ กฎการลบลาง กฎการลดทอน
A+A=A A=A A+(A••B)= A
A•A=A A•(A+B)=A
กฎคูป ระกอบ กฎการสอดคลอง กฎเดอรมอรแกน
A+A = 1 A••B+AC+BC = AB+AC (A+B)=A•B
A•A=0 (A+B) • (A+C) • (B+C)= (A+B) • (A+C) (A•B) =A+B
คุณสมบัตพิ เิ ศษของ “0” และ “1”
0+A=A ; 1+A= 1
1•A=A ; 0•A=0

ตัวอยางเชน วงจรสวิตชและหลอดไฟฟา ในรูปขางลาง สามารถลดรูปโดยการ


พิจารณาดวยพีชคณิตของบูลนี ไดวา

2. แผนผังแลดเดลอร
การควบคุ มกระบวนการในอุตสาหกรรม มักประกอบดวยขั้นตอนการทํางาน
หลาย ๆ ขั้นตอนสามารถแบงลักษณะของการควบคุมไดเปนกระบวนควบคุมเชิงจัดหมู
14

(Combination Control Process) ซึ่งเปนการควบคุมที่ไมสนใจลําดับการทํางาน กับ


กระบวนการควบคุมแบบลําดับ (Sequential Control Process) ซึง่ เปนการควบคุมทีต่ อ ง
มีการกําหนดลําดับ การทํางานทีแ่ นนอน
กอนเขียนแผนผังแลดเดอรเพื่อใชกับพีแอลซีตึงตองตีความกระบวนการควบคุม
ใหชัดเจนเสียกอนแลวจึงลงมือเขียนแผนผังความสัมพันธนั้นออกมา ในเบือ้ งตนจะแนะนํา
การเขียนเฉพาะกระบวนการควบคุมเชิงจัดหมูเ ทานัน้

2.1 รูปแบบของการเขียนแผนผังแลดเดอร
- สัญลักษณของอุปกรณที่แทนโหลดความตานทานหรือคอยล จะถูกวางไว
ดานขวาของแผนภาพ
- สัญลักษณของอุปกรณทแ่ี ทนหนาสัมผัส จะถูกวางไวดานซายของแผนภาพ
- อุปกรณท่ีถูกตอขนานกับอุปกรณตวั อืน่ เรียกวากิง่
- สัญลักษณของอุปกรณในแผนภาพจะถูก แสดงไวในสถานะปกติ โดยจะมี
การเปลี่ยนสถานะเมือ่ ตัวอุปกรณเกิดการทํางาน (energized)
- อุปกรณท่ีทํ าหนาที่หยุดการทํ างาน (STOP) โดยปกติแลวจะถูกตอแบบ
อนุกรม
- อุปกรณท่ีทําหนาทีเ่ ริม่ การทํางาน (START) จะถูกตอแบบขนาน

2.2 ขอแนะนําในการเขียนแผนผังแลดเดอร
- กําหนดกระบวนการทีต่ อ งการจะควบคุม
- วาดแบบรางของกระบวนการทํางานอยาง คราว ๆ โดยตองแนใจวาอุปกรณ
ทั้งหมดไดถกู กําหนดไวในแผนภาพนั้น
- กําหนดลําดับการทํางาน เขียนรายละเอียดของลําดับการทํางานแตละขั้น
ตอนใหมากที่สุดเทาที่จะเปนไปได โดยใหเขียนในรูปของ ประโยคคําพูด หรือ
เขียนลงในตาราง
- ทําการเขียนแผนผังแลดเดอรจาก ลําดับการทํางานทีไ่ ดนน้ั
15

2.3 การกําหนดสัญลักษณพื้นฐานในแผนผังแลดเดอร

แทนหนาสัมผัสปกติเปด (N.O) หมายถึง สวิทชหรือหนาสัมผัสของ


อุปกรณอนิ พุท/ เอาทพุท หรืออุปกรณภายในซึง่ ปกติไมอนุญาตให
กระแสไหลผาน
แทนหนาสัมผัสปกติปด (N.C) หมายถึง สวิทชหรือหนาสัมผัสของ
อุปกรณอนิ พุท/ เอาทพุท หรืออุปกรณภายใน ซึง่ ปกติยอมใหกระแสไหล
ผาน
แทนเอาทพุทปกติไมทํางาน หมายถึงอุปกรณเอาทพทุ เชน หลอดไฟ
โซลินอยด

ตัวอยางที่ 1 วงจรปด-เปด สําหรับการควบคุมสวิตชแมเหล็ก

I 32.0 Q 32.0
I 32.1

วงจรนี้ รีเลยจะทํางานก็ตอ เมือ่ กดปุม start (สวิตชหนาสัมผัสปรกติเปด) และจะ


หยุดทํางานเมื่อ กดปุม stop (สวิตชหนาสัมผัสปรกติปด ) และเพื่อใหรีเลยจะทํางานโดยไม
ตองกดปุม start คาง จําเปนตองใชปฏิสมั พันธของวงจรรีเลยชวยคงคา โดยการตอขนาน
กับหนาสัมผัส I32.0 ไว
16

รูปแสดงแผนผังแลดเดอรวงจรปด-เปด สําหรับการควบคุมสวิตชแมเหล็ก

ในกรณีทต่ี อ งการเพือ่ สวิตชหยุดฉุกเฉิน (emergency switch – EM) และวงจร


ปองกันโอเวอรโหลด โดยทัง้ คูจ ะใชสวิตชชนิดหนาสัมผัสปรกติปด วงจรจะถูกดัดแปลงไป
ดังแสดงในรูปขางลาง

รูปแสดงแผนผังแลดเดอรควบคุมสวิตชแมเหล็กที่ดัดแปลงแลว

แบบฝกหัดที่ 1 จงออกแบบวงจรควบคุมการหมุนกลับทิศทางของมอเตอร 3 เฟส

รูปแสดงวงจรควบคุมการกลับทิศทางการหมุนของมอเตอร 3 เฟส
17

คําแนะนํา
การกลับทิศทางการหมุนของมอเตอรสามารถทําไดโดยการสลับสายเมนคูใดคู
หนึ่งที่ตอเขากับมอเตอร สวนอีกคูห นึง่ ตอไวคงเดิม ถา K1 ตอมอเตอรจะหมุนขวา ถา K2
ตอมอเตอรจะหมุนซาย และควรนํา K1 และ K2 มา INTERLOCK กัน เพราะถาทํางาน
พรอมกันแลว จะเกิดการลัดวงจรระหวาง L1 กับ L3

ขั้นตอนการทํางาน
1. การควบคุมใหมอเตอรหมุนขวาหรือซายเลือกไดท่ี สวิตช S2 และ สวิตช S3 ตามลําดับ
2. การหมุนกลับทิศทางทันทีเปนไปไมไดเพราะมี interlock กันอยูจะตองทําการหยุด
มอเตอรกอนโดย กดปุม หยุด (S1) แลวจึงกดสวิตชใหหมุนอีกทางหนึง่ ตามแผนผังเวลา

รูปแสดงแผนผังทางเวลาของวงจรมอเตอร

การกําหนดตําแหนงอินพุตและเอาทพุต
1. อินพุต
สวิตชหยุด (S1) ใชหนาสัมผัสชนิด ……… สัญลักษณ ……………..
สวิตชหมุนขวา (S2)ใชหนาสัมผัสชนิด ….… สัญลักษณ ……..….…
สวิตช หมุนซาย (S3)ใชหนาสัมผัสชนิด ……… สัญลักษณ …………
สวิตชโอเวอรโหลด (F1) ใชหนาสัมผัสชนิด ……… สัญลักษณ …….

2. เอาทพุต
18

รีเลย 1 (K1) สัญลักษณ ………………………….


รีเลย 2 (K2) สัญลักษณ ………………………….

การเขียนแผนผังแลดเดอร

แบบฝกหัดที่ 2 การควบคุมเครือ่ งสูบนํา้ (PUMP CONTROL)


ระบบจายนํ้าในอาคารขนาดใหญจะประกอบดวยบอเก็บนํา้ และถังจายนํ้า โดย
บอเก็บนํ้ามักอยูตอนลางของ ตัวอาคาร และถังจายนํ้าอยูส ว นบนของตัวอาคาร เมื่อมีผูใช
นํ้าระดับนํ้าภายในถังจะลดลงมาเรื่อยๆ จนใกลจะหมดถัง ซึง่ ทีร่ ะดับนีจ้ ะมีสวิตชลกู ลอย
LS1 ติดตั้งอยู เมือ่ ระดับลดลงตํากว
่ าตําแหนงของลูกลอย สวิตชลกู ลอย LS1 จะมีสภาวะ
“0” หรือ OFF (เปนแบบNC) แลวจะทําใหเครือ่ งสูบนํ้าเริ่มทํางาน โดยจะเริม่ สูบนํ้าจาก
บอเก็บนํ้ าเขาไปยังถังจายนํ้ าเมื่อระดับนํ้ าในถังจายนํ้ าเพื่มขึ้นจนเต็ม (ที่ตําแหนงของ
สวิตชลูกลอย LS2) สวิตชลกู ลอย LS2 ก็จะเปนสภาวะ “1” หรือ ON ( LS2 เปนแบบ NC)
19

และเครื่องสูบนํ้าก็จะหยุดทํางาน นอกจากนัน้ ทีบ่ อ เก็บนํายั


้ งมีสวิตชลกู ลอย LS3 เพื่อใช
ในการตรวจระดับของนํ้าในบอเก็บนํา้

คําแนะนํา
ถาระดับนํ้าในบอเก็บนํ้าลดลงจนตํากว
่ าตําแหนงของสวิตชลกู ลอย LS3 สวิตชลกู
ลอย LS3 จะมีสภาวะ “0” หรือ OFF (เปนแบบ NO) เครือ่ งสูบนํ้าจะหยุดทํางานทันที เพื่อ
ปองกันไมใหเครื่องสูบนํ้าเสียหาย

รูปแสดงระบบการสูบนํา้

ขั้นตอนการทํางาน
1.เมือ่ เปดสวิทซ START มอเตอรจะเริม่ ทํางาน โดยจะทําการตรวจสอบระดับนํา้ เมื่อ
ระดับนํ้าในถังจายลดลง จนตํ่ากวาระดับของลูกลอย สวิทซลูกลอย LS1 จะ OFF ทําให
มอเตอรทํางานปมนํ้าเขาถังจาย เมื่อระดับนํ้าในถังจายเพิ่มขึ้น จนสูงกวาระดับของลูก
ลอย ทําใหสวิตชลกู ลอย LS1 อยูในสภาวะ ON หรือเปดออก มอเตอรกย็ งั ทํางานอยูเ นือ่ ง
จากการเซลฟโฮลด (Self Hold)
2. เมื่อระดับนํ้าในถังจายเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ จนถึงระดับลูกลอยทําใหสวิตชลกู ลอย LS2 อยู
ในสภาวะ ON หรือเปดออกทําใหมอเตอรหยุดทํางาน เมื่อใชนํ้าจากถังจายไปเรือ่ ยๆ จน
ระดับนํ้าตํ่ากวาระดับของลูกลอย LS1 มอเตอรและปมก็จะทํางานเองโดยอัตโนมัติ
20

3. ขณะที่มอเตอรทํางานอยู ถาหากระดับนํ้าในบอเก็บมีระดับตํากว
่ าระดับของลูกลอย
LS3 สวิตชลูกลอย LS3 จะอยูใ นสถานะ OFF มอเตอรจะหยุดทํางานทันที เพื่อปองกันไม
ใหเครือ่ งสูบนํ้าเสียหาย

แผนผังทางเวลาของระบบสูบนํา้

การกําหนดตําแหนงอินพุตและเอาทพุต
1. อินพุต
สวิตช Start (S1)ใชหนาสัมผัสชนิด ……… สัญลักษณ ……………..
สวิตชลูกลอยระดับตําของถั
่ งจายนํา้ (LS1)ใชหนาสัมผัสชนิด ….…
สัญลักษณ ……..….…
สวิตชลกู ลอยระดับสูงของถังจายนํา้ (LS2)ใชหนาสัมผัสชนิด ………
สัญลักษณ …………
สวิตชลูกลอยระดับตําของถั
่ งจายนํา้ (LS3)ใชหนาสัมผัสชนิด ………
สัญลักษณ …….

2. เอาทพุต
รีเลยของเครือ่ งสูบนํ้า 1 (K1) สัญลักษณ ………………………….
21

การเขียนแผนผังแลดเดอร

แบบฝกหัดที่ 3 การควบคุมการเปดปดประตูอตั โนมัตสิ าหรั ํ บหองเก็บของ


เปนการควบคุมการเปดและปดประตูอัตโนมัติของหองเก็บของ โดยการตรวจ
สอบการเขาออกของรถที่ใชบรรทุกของ ซึ่งอินพุทที่ใชในการสงสัญญาณใหกับพีแอลซี
จะเปนอัลตราโซนิคสวิตช (Ultrasonic switch) และสวิตชลําแสง (Photoelectric switch)
อุลตราโซนิคสวิตชนั้นจะสงสัญญาณคลื่นออกมาและเมื่อมีวัตถุขวางกั้นทางเดินของคลื่น
นี้ จะเกิดการสะทอนกลับมายังตําแหนงเดิมของสวิตชอกี ครัง้ เปนการแสดงวา มีการตรวจ
พบวัตถุ สําหรับสวิตชลาแสง
ํ จะประกอบดวยสองสวนดวยกันคือ ตัวรับและตัวสง ลําแสง
จะถูกสงจากตัวสงไปยังตัวรับ และตัวรับก็จะทําการรับ ลําแสงดังกลาวอยางตอเนือ่ ง แต
ถามีวัตถุมาตัดลําแสงนีจ้ ะถือวามีการตรวจจับวัตถุนน้ั ๆ ได
22

รูปแสดงการควบคุมการเปดปดประตูอตั โนมัติ

คําแนะนํา
1. ใหทําการตรวจสอบวามีรถบรรทุกของอยูท ต่ี าแหน
ํ งหนาประตูหรือไม โดยอาศัยอัลตรา
โซนิคเปนตัวตรวจจับ ในกรณีทม่ี รี ถบรรทุกอยูใ หเปดประตูออก โดยการยกขึน้ จนกระทัง่
ชนลิมิตสวิตชตรวจตําแหนงบนสุด แลวจึงคอยหยุดการเปดประตู
2. หลังจากที่ประตูเปดออกเรียบรอยแลว ตอนนีเ้ ปนหนาทีข่ องสวิตชลําแสง จะตรวจจับ
วา รถบรรทุกเคลื่อนที่ออกไปจากตําแหนงเดิมและผานเขาไปแลวหรือยัง โดยจะตองให
ผานไปเสร็จเรียบรอยจริงๆ จึงจะสั่งใหมอเตอรทําการปดประตู จนถึงลิมิตสวิตชตําแหนง
ลางสุด แลวจึงหยุด

ขั้นตอนการทํางาน
1. เมื่อมีรถบรรทุกเขามาที่หนาประตูเซ็นเซอรแบบอัลตราโซนิค จะทํางานและทําให
มอเตอรทํางาน มวนประตูขน้ึ เมือ่ ประตูมว นขึน้ จนถึงตําแหนงของสวิตชบนสุด มอเตอร
จะหยุด
2. มื่อรถบรรทุกเคลือ่ นผานสวิตชลาแสงเข
ํ าไปในหองเก็บของสวิตชลําแสงจะทํางานและ
เมื่อรถเคลื่อน ผานเขาไปแลวมอเตอรทางานประตู
ํ มว นลงจนถึงตําแหนงของสวิตชตาสุ
่ํ ด
23

มอเตอรจงึ หยุด

สวิตชอัลตราโซนิค
ลิมิตสวิตชขอบบน
ลิมิตสวิตชขอบลาง
สวิตชแสง
มอเตอรหมุนเปด
มอเตอรหมุนปด

แผนผังทางเวลาของการเปดปดประตูอตั โนมัติ

การกําหนดตําแหนงอินพุตและเอาทพุต

การเขียนแผนผังแลดเดอร
24

บทที่ 3 โปรแกรม S5W

⇐A
⇐B
⇐C
25

รูปแสดงหนาจอหลักของโปรแกรม S5W

โปรแกรม S5W ถูกพัฒนาเพื่อใหผูใชสามารถสรางเอกสารในภาษาตางๆสําหรับ


การควบคุมพีแอลซีของซีเมนตรนุ S5 และ S7 หนาจอหลักของโปรแกรม S5W จะ
ประกอบดวยสิง่ ตางๆไดแก
1. เมนูบาร
เมนูในกลุม A เรียกวา เมนูบาร (Menu bar) ประกอบดวย 6 เมนูยอ ย ไดแก

1.1 เมนูไฟล (File) ประกอบดวยเมนูยอ ยไดแก


- สรางใหม (New) ใชสําหรับสรางเอกสารใหม โดยจะทําการลางคาในพืน้ ที่ ที่
ไดเขียนขอมูลไปแลวเสียกอน (โปรแกรม S5W รุนนี้ ไมมีระบบบันทึก
อัตโนมัติ ดังนัน้ ขอมูลทีเ่ ขียนแตละครัง้ หากยังไมสง่ั บันทึก จะยังคง
คางอยูในหนวยความจํา และเมื่อออกจากโปรแกรมไป ขอมูลดังกลา
วจะสูญหายโดยไมสามารถเรียกคืนมากได) หากขอมูลเกายังไมไดถกู
บันทึก (Save) เมื่อเรียกใชเมนูนี้ โปรแกรมจะเตือนใหบนั ทึกขอมูลเกาเสีย
กอน
- เปดเอกสาร (Open) ใชสําหรับเปดเอกสารทีส่ รางไปแลว
- บันทึก (Save) และบันทึกเปน (Save As) ทั้ง 2 เมนู จะใชบันทึกขอมูลที่
สรางไวแลวใหอยูในรูปที่มีนามสกุล seq
- การแลกเปลีย่ นขอมูลกับโปรแกรม S5 รุนเกาที่มีนามสกุล S5D (Import /
Export S5D – Format)
26

- การสรางคลังสัญลักษณ (Symbolic Library) ใชในการจัดกลุมเอกสาร


ยอยๆ ที่ไดสรางไวกอนหนานี้ เพื่อใหสะดวกในการเรียกใชประกอบเปน
เอกสารใหม โดยไมตองเสียเวลากับการคัดลอกเอกสารเดิมมาประกอบใหม
- พิมพ (Print) และการกําหนดรูปแบบของเอกสารเพือ่ การพิมพลงกระดาษ
(Documentation Layout)
- จบโปรแกรม (Exit)
1.2 เมนูบล็อก (Block) ประกอบดวยเมนูยอ ยไดแก

- สรางบล็อกใหม (New Block) ใชสรางบล็อกใหม โดยจะตองกําหนดชือ่


บล็อก( PB1, PB2, . . .) และเซกเมนตเสียกอน

- แกไขบล็อก (Modify) ในกรณีที่สรางบล็อกไวแลว เมนูนี้จะใชในการแกไขขอ


มูลภายในบล็อก แตถายังไมมีการสรางบล็อกมากอน เมนูน้ีจะทําหนาที่
สรางบล็อกใหมใหเชนเดียวกับเมนูสรางบล็อกใหม
- เปลี่ยนชื่อ (Rename) ใชในการแกไขชือ่ บล็อกโดยจะมีกรอบโตตอบเพือ่ ให
เลือกชื่อบล็อกเกา และกําหนดชือ่ บล็อกใหมทต่ี อ งการจะเปลีย่ นชือ่
27

- คัดลอกบล็อก (Copy to) ใชในการคัดลอกบล็อกโดยจะมีกรอบโตตอบเพือ่


ใหเลือกชื่อบล็อกตนทาง และกําหนดชื่อบล็อกปลายทางที่ตองการจะคัด
ลอกไป
- พิมพ (Print) ใชในการพิมพขอ มูลในบล็อกโดยจะมีกรอบโตตอบเพือ่ ใหเลือก
ชื่อบล็อกทีต่ อ งการพิมพ
- คําอธิบายบล็อก (Comment)
- การถายขอมูลจากคอมพิวเตอรไปยังพีแอลซี (Transfer to PLC, Transfer
all blocks to PLC) ใชสําหรับถายขอมูลทีเ่ ขียนจากโปรแกรม S5W ไปลง
เครื่องในหนวยความจําของพีแอลซี มี 2 แบบแผนคือ ถายทุกบล็อก หรือ
ถายไปเฉพาะบางบล็อก โดยการถายเฉพาะบางบล็อกจะมีกรอบโตตอบให
กําหนดชื่อบล็อกทีต่ อ งการถายไปยังเครือ่ งพีแอลซี

- การถายขอมูลจากคอมพิวเตอรไปยังอีอีพรอม (Transfer to EEPROM,


Transfer all blocks to EEPROM ) จะคลายกับการถายขอมูลจาก
คอมพิวเตอรไปยังพีแอลซี เพียงแตขอมูลที่ถายไปจะเก็บลงในหนวยความจํา
ชนิดอีอีพรอมแทน คุณลักษณะดังกลาวเปนคุณลักษณะเฉพาะรุน ผูใชจะ
ตองศึกษาขอมูลจําเพาะ (Specification) ของแตละรุน เปนรายๆ ไป
28

- คัดลอก วาง และตัด (Copy past and cut) ใชเลือกเฉพาะบล็อก หรือเลือก


เปนกลุม ของบล็อกจากบัญชีบล็อก (Block list)
1.3 เมนูตัวเลือก (Options) ประกอบดวยเมนูยอ ยไดแก
- การกําหนดชือ่ ขัว้ ตอสายใหม (Rewire) ตัวอยางเชน ผูใ ชตอ งการกําหนดให
สัญลักษณ Q32.1 ถูกแทนดวย Q41 เมื่อเลือกเมนูยอ ยนีจ้ ะปรากฏกรอบโต
ตอบเพื่อใหผูใชสามารถกําหนดคาตามสัญลักษณใหมไดตามทีต่ อ งการ

- การเชือ่ มโยงแบบบัส H1 และการตัดการเชือ่ มโยง (Connect / Disconnect


the H1 Bus) ในกรณีที่พีแอลซีมากกวา 1 ตัวถูกตอเชือ่ มโยงกัน ตัวเครือ่ งพี
แอลซีที่ตออยูกับคอมพิวเตอรจะถูกกําหนดเปนเครือ่ งแม (Host / master)
สวนเครื่องที่ถูกตอถัดไปจะถูกกําหนดใหเปนตัวลูก หมายเลข 1, 2, 3, . . .
ไปเรื่อยจนถึงลําดับที่ 255 ดังนัน้ การถายขอมูลจากคอมพิวเตอรไปยังพีแอล
ซีตัวใดๆในระบบ จะตองระบุหมายเลขเครื่องในลักษณะของเลขฐาน16 เพื่อ
ใหเครื่องพีแอลซีตวั แมสามารถถายขอมูลตอไปยังตัวลูกไดอยางถูกตอง
1.4 เมนูผใู ชกําหนดคุณลักษณะของโปรแกรม (Customize) ประกอบดวยเมนู
ยอยเพื่อใหผูใชกาหนดคุ
ํ ณลักษณะของโปรแกรม S5W อาทิการกําหนดขนาดตัว
อักษร ชนิดของภาษาที่จะใชเขียน การเชือ่ มโยงระหวางคอมพิวเตอร เปนตน
โดยเงื่อนไขการกํานหดคุณลักษณะเหลานี้จะปรากฏในกรอบโตตอบเพื่อใหผูใช
เลือกเงือ่ นไขตามทีต่ อ งการ
29

1.5 เมนูหนาตางยอย (Windows)


1.6 เมนูชวยเหลือ (Help)

2. ทูลบาร
เมนูในกลุม B และ C เรียกวาทูลบาร (Tools bar) เปนการนําคําสัง่ ทีใ่ ชบอ ยๆ
มาแสดงเป น สั ญ ญลั ก ษณ ใ ห ผู  ใ ช ส ามารถสั่ ง งานได ส ะดวกโดยไม ต  อ งเลื่ อ นเมนู บ าร
ประกอบดวย 2 สวนหลักคือทูลบารหลัก ซึ่งจะปรากฏอยุในทุกๆหนาตางที่สั่งงาน และ
ทูลบารยอ ยซึง่ จะเปลีย่ นไปตามการเรียกใชในแตละฟงกชนั ของโปรแกรม S5W
สําหรับสัญลักษณในทูลบารหลักแตละตัวจะมีความหมายดังนี้

ถอยกลับ, ยอนกลับ

แสดงบัญชีของบล็อกทีส่ รางขึน้ จากโปรแกรม S5W

แสดงบัญชีของบล็อกทัง้ หมดทีม่ อี ยูใ นเครือ่ งพีแอลซี (ตองตอ


คอมพิวเตอรไวกบั พีแอลซี)
ถายขอมูลจากคอมพิวเตอรลงหนวยความจําแบบอีอพี รอมในพีแอลซี

แสดงการอางอิงและความสัมพันธระหวางเอกสารของบล็อกตางๆที่
สรางขึ้น

แกไขบล็อก
30

แสดงสถานะตางๆในบล็อกในขณะจําลองการทํางานของพีแอลซี(ตอง
ตอคอมพิวเตอรไวกบั พีแอลซี)

แกไขสัญลักษณของบล็อกทีผ่ ใู ชไดกาหนดไว


แสดงขอผิดพลาดในการสัง่ งาน

แสดงสถานะภายในของพีแอลซี (ตองตอคอมพิวเตอรไวกบั พีแอลซี)

ควบคุมการทํางานของพีแอลซี(ตองตอคอมพิวเตอรไวกบั พีแอลซี)

ปดหนาตางทีก่ าลั
ํ งใชงานในปจจุบัน

แสดงขอมูลความชวยเหลือ

สําหรับสัญลักษณในทูลบารยอ ยไดแก

เปดเอกสาร

บันทึกเอกสาร

พิมพขอมูลในบล็อกออกเครื่องพิมพ

ถายขอมูลจากคอมพิวเตอรลงพีแอลซี

ลบบล็อก

ขอคัดลอกบล็อก

วางบล็อกทีไ่ ดคดั ลอกไวแลว


31

สัญลักษณในทูลบารยอยสําหรับการสรางเอกสารในภาษาแลดเดอรจะประกอบ
ไปดวย

กระโดดไปยังเซกเมนตถดั ไป

ถอยกลับมายังเซกเมนตกอ นหนานี้

ลบ/วาด จุดเชือ่ มโยงทางขวา

ลบ/วาด จุดเชื่อมโยงทางซาย

ลบ/วาด จุดเชือ่ มโยงทางบน

ลบ/วาด จุดเชื่อมโยงทางลาง

ลบ/วาด หนาสัมผัสชนิด NO ไปทางขวา

ลบ/วาด หนาสัมผัสชนิด NO ไปทางซาย

ลบหนาสัมผัสทีป่ รากฏอยูท างขวา

เปลี่ยนคุณลักษณะของหนาสัมผัสระหวาง NO กับ NC

แทรกหนาสัมผัสชนิด NO ไปทางขวา

แทรกหนาสัมผัสชนิด NO ขนานเปนกิง่
32

แทรกคอยลไปทางขวา

แทรกวงจรฟลิปฟลอบไปทางขวา

แทรกวงจรฐานเวลาไปทางขวา

แทรกวงจรนับไปทางขวา

แทรกวงจรเปรียบเทียบไปทางขวา

แทรกวงจรฟงกชันบล็อกไปทางขวา

บทที่ 4 ฟงกชนั พิเศษ

1. วงจรฟลิปฟลอบ
33

ในโปรแกรม S5W จะมีฟลิปฟลอบใหใชงานอยู 2 ประเภทคือ SR ฟลิปฟลอบ


และ RS ฟลิป-ฟลอบ เมือ่ พิจารณาโดยหนาทีก่ ารทํางานแลวฟลิปฟลอบทัง้ 2 ประเภทมี
ฟงกชันการใชงานที่เหมือนกัน กลาวคือใชคงคาระดับสัญญาณ คุณลักษณะทีแ่ ตกตาง
ของฟลิปฟลอบทั้ง 2 ประเภทคือ RS ฟลิปฟลอบจะใหความสําคัญกับสัญญาณกระตุน ที่
ขา S หรือขา SET มากกวาขา R หรือขา RESET ดังนั้นหากใหสญ ั ญาณกระตนทัง้ ขา R
และขา S พรอมๆกัน เอาทพุตจะใหคา ตรรกะเปนสูง เสมือนหนึง่ รับสัญญาณการกระตน
จากขา S เทานัน้ สวน SR ฟลิปฟลอบนั้นจะมีคุณลักษณะตรงขามกับ RS ฟลิปฟลอบ

รูปแสดงสัญลักษณะของ SR ฟลิปฟลอบ และ RS ฟลิปฟลอบ

รูปแสดงการใชงานฟลิปฟลอบแทนวงจรอินเตอรลอ็ ก

2. วงจรตั้งเวลา
วงจรตั้งเวลาใน S5W จะมีอยูหลายลักษณะ โดยมีความหมายของขาสัญญาณ
ดังนี้
ขา SP, SE, SR, SS, SF ใชเริ่มเปด(กระตุน ) วงจรตั้งเวลา

ขา TV ใชกําหนดคาเวลา (Time Value) โดยจะระบุเปนคาคงที่


(time constant KT) คา KT จะเปนเลขทศนิยม ตําแหนงหนาทศ-
นิยมจะเปนเวลาและตําแหนงหลังทศนิยมจะเปนตัวคูณ ดังนี้
34

ทศนิยมเปน 0 ตัวคูณเปน 0.01 วินาที ดังนัน้ KT 500.0 จะเทากับ 5 วินาที


ทศนิยมเปน1 ตัวคูณเปน 0.1 วินาที ดังนัน้ KT 050.1 จะเทากับ 5 วินาที
ทศนิยมเปน 2 ตัวคูณเปน 1 วินาที ดังนัน้ KT 005.2 จะเทากับ 5 วินาที
ขา R ใชรีเซ็ท (Reset)
ขา BI ใหคา การนับเวลาเปนเลขฐานสอง
ขา DE ใหคา การนับเวลาเปนเลขฐานสิบ
ขา Q ใหผลลัพธการตั้งเวลา

2.1 วงจรตัง้ เวลาแบบพัลส (Pulse timer)


วงจรนี้จะใชสัญญาณกระตุนที่ขา 1_-_ โดยสัญญาณเอาทพตุ ทีข่ า Q
เปนตรรกะสูงทันทีวงจรถูกกระตุน และจะคงคาตรรกะสูงไวตามคาคงเวลาที่
กําหนด หากคาบของสัญญาณกระตุน ทีข่ า 1 _-_ นอยกวาคาคงเวลา เอาทพตุ ที่
ขา Q จะเปนคงคาตรรกะสูงเทากับคาบของสัญญาณกระตุน

รูปแสดงสัญลักษณวงจรตั้งเวลาแบบพัลส

2.2 วงจรตั้งเวลาแบบขยาย (Extended Pulse timer)


วงจรนี้จะใชสัญญาณกระตุนที่ขา 1_-_v โดยสัญญาณเอาทพตุ ทีข่ า Q
เปนตรรกะสูงทันทีวงจรถูกกระตุน และจะคงคาตรรกะสูงไวตามคาคงเวลาที่
กําหนดโดยไมสนใจวาสัญญาณกระตุน ทีข่ า 1_-_v จะมีคาบเปนอยางไร
35

แผนผังเวลาของวงจรตั้งเวลาแบบพัลส

รูปแสดงสัญลักษณวงจรตัง้ เวลาแบบขยาย

แผนผังเวลาของวงจรตัง้ เวลาแบบขยาย

2.3 วงจรหนวงเวลากอนเปด (On-Delay timer)


วงจรนี้จะใชสัญญาณกระตุนที่ขา T!-!0 โดยสัญญาณเอาทพตุ ทีข่ า Q
จะถู ก หน ว งตามค า คงเวลาก อ นแล ว จึ ง เปลี่ ย นเป น ตรรกะสู ง หากคาบของ
36

สัญญาณกระตุนที่ขา 1 T!-!0 นอยกวาคาคงเวลา เอาทพตุ ทีข่ า Q จะยังคงคา


ตรรกะตําตลอดไป

รูปแสดงสัญลักษณวงจรวงจรหนวงเวลาเปด

แผนผังเวลาของวงจรหนวงเวลาเปด

2.4 วงจรคงคาหนวงเวลากอนเปด (Latch on-Delay timer)


วงจรนี้จะใชสัญญาณกระตุนที่ขา T!-!S โดยจะมีสัญญาณเอาทพุตที่ขา
Q จะถูกหนวงตามคาคงเวลากอนแลวจึงเปลี่ยนเปนตรรกะสูง และจะคงคา
ตรรกะสูงไวตามคาคงเวลาที่กําหนดโดยไมสนใจวาสัญญาณกระตุนที่ขา T!-!S
จะมีคาบเปนอยางไร สัญญาณเอาทพุตที่ขา Q เปลี่ยนเปนตรรกะตําก็
่ ตอ เมือ่ มี
สัญญาณมากระตุน ทีข่ า R เทานัน้
37

รูปแสดงสัญลักษณวงจรคงคาหนวงเวลาเปด

แผนผังเวลาของวงจรคงคาหนวงเวลาเปด

2.5 วงจรหนวงเวลากอนปด (Off-Delay timer)


วงจรนี้จะใชสัญญาณกระตุนที่ขา 0!-!T โดยสัญญาณเอาทพตุ ทีข่ า Q
เปนตรรกะสูงทันทีวงจรถูกกระตุน และจะคงคาตรรกะสูงตอไปอีกเทากับคาคง
เวลา แมวา จะหยุดการกระตุน ทีข่ า 0!-!T ไปแลว

รูปแสดงสัญลักษณวงจรหนวงเวลาปด
38

แผนผังเวลาของวงจรหนวงเวลาปด

3. วงจรนับ (Counter)
ในโปรแกรม S5W จะมีวงจรนับใหใชงานอยู 2 ประเภทคือวงจรนับเพิ่ม และวงจร
นับลดซึ่งจะสังเกตไดจากขาของสัญญาณกระตุน ถาเปนวงจรนับเพิ่ม ขาสัญญาณกระตุน
CU จะอยูบน แตถา เปนวงจรนับลด ขาสัญญาณกระตุน CD จะอยูบ น
ความหมายของขาสัญญาณตางๆ ในวงจรนับ มีดังนี้
ขา CU ใชเปด(กระตุน ) การนับเพิม่
ขา CD ใชเปด(กระตุน ) การนับลด
ขา S (Set) ใชควบคุมการนับ
ขา CV (Load counter) ใชกําหนดคาการนับ โดยกําหนดเปนคาคงที่ KC ซึ่งจะ
เปนเลขฐานสิบตัง้ แต 0 ถึง 999
ขา R(Reset) รีเซ็ท
ขา DU ใหคา การนับในปจจุบนั เปนเลขฐานสอง
ขา DE ใหคา การนับในปจจุบนั เปนเลขฐานสิบ
ขา Q ใหผลลัพธการนับ
39

รูปแสดงสัญลักษณวงจรนับเพิ่มและวงจรนับลด

4. วงจรเปรียบเทียบ
ในโปรแกรม S5W จะมีวงจรนับใหใชงานอยู 6 ประเภทคือ เปรียบเทียบเทากัน
เปรียบเทียบไมเทากัน เปรียบเทียบมากกวา เปรียบเทียบมากกวาหรือเทากับ เปรียบเทียบ
นอยกวา และเปรียบเทียบนอยกวาหรือเทากับ กอนการใชงานวงจรเปรียบเทียบผูใ ชจะ
ตองกําหนดชนิดของขอมูลที่จะนํามาเปรียบเทียบในกรอบโตตอบเสียกอน โดยที่ F หมาย
ถึงคาจํานวนเต็มขนาด 16 บิต D หมายถึงคาจํานวนเต็มขนาด 32 บิต และ G หมายถึง
คาจํานวนทศนิยมขนาด 16 บิต

รูปแสดงการกําหนดชนิดขอมูลในวงจรเปรียบเทียบ
40

รูปแสดงสัญลักษณวงจรเปรียบเทียบทัง้ 6 ประเภท

จากสัญลักษณของวงจรเปรียบเทียบจะสังเกตไดวา Z1 และ Z2 เปนอินพุต


ของวงจรเปรียบเทียบ และเอาทพุตจะใหผลลัพธที่ขา Q โดยตรรกะของขา Q เปนคาสูง
หมายถึงผลลัพธสอดคลองกับเงือ่ นไขการเปรียบเทียบและโดยตรรกะของขา Q เปนคาตํา่
หมายถึงผลลัพธไมสอดคลองกับเงือ่ นไขการเปรียบเทียบ

แบบฝกหัดที่ 1 การสตารทมอเตอรและวาย-เดลตา

รูปแสดงวงจรสตารทมอเตอรแบบวาย-เดลตา

โดยปรกติมอเตอร 3 เฟสที่มีขนาดใหญ กระแสตอนเริม่ สตารทจะมีคา สูง วิธกี าร


หนึ่งที่จํานํามาลดกระแสตอนเริ่มสตารทไดก็คือการตอขดลวดของมอเตอรเปนแบบวาย
เมื่อสตารท และเปนแบบเดลตาเมือ่ ทํางานในภาวะปรกติ
41

คําแนะนํา
ตองมีวงจรหนวงเวลาการปดหนาสัมผัส K3 ไวระยะหนึ่งเพื่อปองกันความลาชา
ของการเปด หนาสัมผัส K2

แผนผังทางเวลาวงจรสตารทมอเตอรแบบวาย-เดลตาแบบที่ 1

แผนผังทางเวลาวงจรสตารทมอเตอรแบบวาย-เดลตาแบบที่ 2

การกําหนดตําแหนงอินพุต เอาทพุตและวงจรพิเศษ
1. อินพุต
สวิตชหยุด (S1) ใชหนาสัมผัสชนิด ……… สัญลักษณ ……………..
สวิตชทํางาน (S2)ใชหนาสัมผัสชนิด ….… สัญลักษณ ……..….…
สวิตชโอเวอรโหลด (F3) ใชหนาสัมผัสชนิด ……… สัญลักษณ …….
42

2. เอาทพุต
รีเลย 1 (K1) สัญลักษณ ………………………….
รีเลย 2 (K2) สัญลักษณ ………………………….
รีเลย 3 (K3) สัญลักษณ ………………………….

3. วงจรพิเศษ
วงจรตั้งเวลา 1 (TIM00) ชนิด …………… สัญลักษณ ……………
วงจรตั้งเวลา 2 (TIM01) ชนิด …………… สัญลักษณ ……………

การเขียนแผนผังแลดเดอร
43

บทที่ 5 การตออินพุตและเอาทพุตของพีแอลซี

1 การตออินพุต
เมื่ออุปกรณทางดานอินพุตทํางาน แรงดันไฟฟาจะถูกสงไปหนวยอินพุตที่ตออยู
กับอุปกรณนน้ั เพื่อแปลงระดับแรงดันไฟฟาใหมีคาสภาวะลอจิกที่หนวยประมวลผลกลาง
สามารถรั บ ได เ นื่ อ งจากระดั บ แรงดั น อิ น พุ ต ที่ ไ ด จ ากอุ ป กรณ ตั ว ตรวจรู  มี ห ลายแบบ
การเลือกใชหนวยอินพุตจึงตองใชใหถกู ตอง ซึ่งชนิดของอินพุตจะแบงไดเปน
1.1 ดีซีอนิ พุต (DC input) โครงสรางภายในของดีซอี นิ พุตจะมีลกั ษณะดังแสดง
ในรูป โดยจะมีตัวคูควบทางแสงหรือออปโตคัปเปลอร (opto-coupler) ทําหนาทีแ่ ยก
กราวด ข องสั ญ ญาณขาเข า กั บ อุ ป กรณ ภ ายใน และส ง สั ญ ญาณอิ น พุ ต ให กับ หน ว ย
ประมวลผลกลางจากรูปโครงสรางจะเห็นวาขา COM(+) จะตองตอเขาไฟบวกซึ่งสวน
ใหญแลวจะใชไฟ +24V เมื่อขา IN0 ถึง IN 7 ตอลงกราวด ก็จะทําใหมีกระแสไหลผานได
โอดของออปโตคัปเปลอรทําใหสามารถสงผานสัญญาณอินพุตไปยังอุปกรณภายในของพี
แอลซีได การตออินพุตแบบนี้จะนิยมใชกบั หนาสัมผัสขนาดเล็ก (ทนกระแสตํา) ่ รวมไปถึง
ตัวตรวจรูท ม่ี วี งจรเอาทพตุ เปนทรานซิสเตอรทง้ั แบบ NPN และ PNP

รูปแสดงโครงสรางภายในและลักษณะการตอใชงานดีซีอินพุต

1.2 เอซีอินพุต (AC INPUT) จะมีออปโตคัปเปลอรเพื่อทําหนาทีแ่ ยกกราวด


ระหวางหนวยอินพุตกับวงจรหนวยประมวลผลกลางเชนเดียวกับดีซอี นิ พุต และจะมีวงจร
ของตัวตานทานเพือ่ ลดทอนแรงดันใหตาลงและเปลี
่ํ ย่ นเปนแรงดันดีซี
44

เอซีอินพุตจะเหมาะสําหรับหนาสัมผัสจากกระบวนการตาง ๆ เชน ลิมิตสวิตช,


สวิตชกดแตไมเหมาะกับตัวตรวจรูท ม่ี ที รานซีสเตอรเปนเอาทพตุ

รูปแสดงโครงสรางภายในและลักษณะการตอใชงานเอซีอินพุต

1.3 หนวยอินพุตความเร็วสูง ทําหนาที่ตรวจจับสัญญาณพัลสที่มีความเร็วสูง


และชวงความกวางของพัลสสั้นมากจนหนวยอินพุตแบบดีซี ไมสามารถตรวจสอบได
หนวยอินพุตชนิดนี้จะสอดแทรกการทํ างานของหนวยประมวลผลกลางทันทีที่ตรวจพบ
สัญญาณพัลสจากภายนอก

2. การตอเอาทพตุ
ทํ าหนาที่ รับสัญญาณจากหนวยประมวลผลของหน วยประมวลผลกลางแลว
ขยายสัญญาณออกใหสามารถขับอุปกรณภายนอก เชน รีเลย หลอดไฟ โซลินอยดได
โดยปกติแลวหนวยเอาทพุตสามารถขับโหลดไดประมาณ 0.5 ถึง 2 แอมแปร ถาโหลด
ตองใชกระแสมากวานี้ตองนําไปตอกับอุปกรณขบั อีกทีหนึง่ เชน รีเลยหรือคอนแทรคเตอร
หนวยเอาทพตุ จะแบงออกได 2 ประเภท คือ ดีซีเอาทพุตและเอซีเอาทพุต นอก
จากนี้ยังมีเอาทพุตบางประเภทที่สามารถใชไดทั้งกระแสไฟตรงและกระแสสลับ เชน รีเลย
45

รูปแสดงโครงสรางภายในและลักษณะการตอใชงานดีซีเอาทพุต

รูปแสดงโครงสรางภายในและลักษณะการตอใชงานเอซีเอาทพุต

รูปแสดงโครงสรางภายในและลักษณะการตอใชงานรีเลยเอาทพุต
46

บทที่ 6 การเลือกพีแอลซีไปใชงาน

ในการนําพีแอลซีไปใชงานนั้น ผูใชควรพิจารณาลักษณะของงานและคุณสมบัติ
ตางๆ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดในการใชงานเพื่อเพื่อความสมเหตุสม
ผลกับหลักเศรษฐศาสตร ปจจัยที่จะพิจารณาไดแก
- จํานวนอินพุตและเอาทพุตที่ตอ งการใช
- ประเภทของการควบคุมทีต่ อ งการ
- ขนาดของโปรแกรมและหนวยความจําทีต่ อ งการ
- อุปกรณตอ ประกอบทีต่ อ งการใช

1. การจัดองคประกอบ
ในกรณีทม่ี กี ารเชือ่ มโยงพีแอลซีในการควบคุมมากกวา 2 ชุด ผูใชจาเป
ํ นจะตอง
พิจารณาการจัดองคประกอบซึ่งมักกระทํากัน 3 รูปแบบไดแก การรวมศูนย แบบกระจาย
และกึง่ รวมศูนย
ขอดีของการจัดองคประกอบแบบรวมศูนยนี้ คือการบริหารและจัดการควบคุมได
สะดวก เนื่องจากผูใชจะสั่งควบคุมพีแอลซีในระบบทุกตัวผานจากพีแอลซีตัวแมเพียงตัว
เดียว ดังนั้นในพีแอลซีตัวแมซ่ึงจึงมีเฉพาะโปรแกรมหลักเทานั้น สวนโปรแกรมยอยทั้ง
หลายจะถูกบรรจุอยูในพีแอลซีตัวลูก เมื่อมีความเสียหายเกิดขึ้นกับพีแอลซีตัวแมจึงเทา
กับระบบเสียหายทั้งหมด หรือในกรณีที่พีแอลซีตัวแมรับขอมูลที่ผิดพลาดจากพีแอลซีตัว
ลูก อาจทําใหการตัดสินใจควบคุมสัง่ งานพีแอลซีลกู ตัวอืน่ ๆผิดพลาดตามไปดวย รวมถึง
ตองเสียคาใชจายจํ านวนมากในการเดินสายระบบสัญญาณจากพีแอลซีตัวลูกทุกๆตัว
มายังพีแอลซีตัวแม จึงอาจกลาวไดวา การจัดองคประกอบแบบรวมศูนยน้ี ไมเหมาะสมกับ
ระบบขนาดใหญ และระบบที่มีระยะหางระหวางตัวแมกับตัวลูกมาก
การจัดองคประกอบแบบกระจาย สามารถแกปญหาเรื่องระยะหางระหวางพีแอล
ซีตัวแมกับพีแอลซีตวั ลูกไดเปนอยางดี สามารถนําพีแอลซีตา งชนิดกันมากทํางานรวมกัน
ได รวมถึงสะดวกตอการวินิจฉัยและซอมบํ ารุงเพราะสามารถตัดวงจรในสวนที่มีการ
ทํางานผิดพลาดออกไปได แตวิธีดังกลาวจะไมสะดวกในการบริหารและจัดการควบคุม
เพราะตองจัดการพีแอลซีทลี ะตัวเปนรายๆไป
47

การจัดองคประกอบแบบกึ่งรวมศูนยนจ้ี ะใชแนวความคิดของการจัดองคประกอบ
แบบรวมศูนยและแบบกระจาย โดยจะแบงสวนการควบคุมเปนเซกเมนตในแตละเซก
เนมตจะมีพีแอลซีรีโมทเปนตัวแมของเซกเมนตนั้นๆ โดยพีแอลซีที่เปนรีโมทจะจัดองค
ประกอบแบบกระจายอีกชัน้ หนึง่

รูปแสดงการจัดองคประกอบแบบรวมศูนย

รูปแสดงการจัดองคประกอบแบบกึง่ รวมศูนย
48

รูปแสดงการจัดองคประกอบแบบกระจาย

2. การติดตัง้ และบํารุงรักษา
2.1 System Layout
• การเขาปฏิบัติงานที่ตูตาง ๆ ตองทําไดสะดวก สําหรับงานติดตัง้ งานเพิม่ เติมระบบ
และงานซอมบํารุง
• ตําแหนงการติดตั้งอุปกรณตอ เชือ่ ม เชน Noise Suppression หรืออุปกรณ Magnetic
ตองระบายอากาศดี และกัน Noise ไดวางตําแหนงการเดินสายใหเกิดการไขวกนั ของ
สายนอยทีส่ ดุ
• ควรติดตั้งพีแอลซีอยูใกลอุปกรณที่ตองการควบคุมมากที่สุด หรือถาไมสะดวกใหใช
Remote I/O วางใกลอุปกรณ แยกสวนหนวยประมวลผลกลางอยูไ กลออกมาได

2.2 Panel Enclosure (General)


• อยูในตําแหนงทีส่ ามารถเปดประตูตไู ดเต็มที่ (Access)
• ความลึก ตองมีระยะหางระหวางแผนวงจรกับฝาประตูตู
• Rack ที่ใชตดิ ตัง้ อุปกรณควรถอดประกอบงาย และสะดวก
• ควรมีอุปกรณตัดแยกระบบกรณีฉุกเฉิน และอยูใ นตําแหนงที่สามารถใชงานไดสะดวก
• อุปกรณอ่ืน ๆ เชน AC Power Outlet ควรติดตัง้ ในตําแหนงที่ใชงานไดสะดวก
49

2.3 Panel Enclosure (Environment)


• ภาวะการใชงานอุณหภูมิภายในตูไมควรเกิน 60’c (ที่ 40’c Card ตาง ๆ จะเริ่มทํางาน
ผิดพลาด) ถามีอปุ กรณทป่ี ลดปลอยความรอน ควรใชพดั ลมเปาชวยระบายความรอน
• ควบคุมความชื้นเพื่อไมใหเกิดการควบแนนของไอนําภายในตู
้ 
• ถาตู PLC อยูใกลอปุ กรณทป่ี ลดปลอย EMI, RFI ควรยายตําแหนงของตู PLC
• บริเวณติดตัง้ ไมควรมีการสัน่ สะเทือนมาก

2.4 PLC Component (Placement)


• ติดตั้งอุปกรณในแนวตัง้ จากแนวบนลงสูแ นวลาง
• Power Supply ควรอยูดานบนสุดของตูเพือ่ ไมใหเกิดความรอนแผสอู ปุ กรณอน่ื ๆ
และตองอยูห า งจากอุปกรณอน่ื ๆ อยางนอย 10 นิว้
• CPU ควรติดตัง้ อยูใ นระดับทีท่ างานสะดวกที
ํ ส่ ดุ (นัง่ หรือยืน)
• I/O วางใหมีระยะหางกันพอสมควร สําหรับเดินสายไฟและระบายความรอน
• Remote I/O ควรมี Power Supply แยกตางหาก
• อุปกรณ High Voltage เชน Isolation, Constant voltage Trransformer ควรติดตัง้
ใกลชุด Power Supply และเดินสายใหสน้ั ทีส่ ดุ เพือ่ ปองกัน EMI
• Magnetic Starter, Relays จัดใหหา งจาก CPU อยางนอย 6 นิว้
• พัดลมระบายความรอนควรมี Filter ปองกันพวก Conductive Particle

2.5 Duct And Wiring Layout


• รางสาย AC Power Line ควรแยกจาก Low Level DC line อยางเด็ดขาด
• รางสายของ Low Level DC I/O ควรวางขนานกับรางสาย AC I/O
• แยกสาย I/O Interconnecting & Power Cable เดินตางหาก
• ถาแยกไมไดใหเดินรวมกับ Low Level DC I/O และทําตัวบงชีท้ ช่ี ดั เจน
• รางสาย I/O ทีต่ อ งตัดกับราง AC Power ใหเลี้ยวเฉพาะมุมขวา
• รางสายไฟตองหางจาก I/O Module หรือ Terminal Strip อยางนอย 2 นิว้
50

2.6 Grounding
• เดินสาย Ground แยกจากสายอืน่ ๆ ทั้งหมด และเดินสายใหสั้นที่สุด
• จุด Ground Reference ควรอยูใ กล Power Supply มากที่สุด
• Chassis หรือ Rack ตอ Ground เขากับ Central Ground Bus ซึง่ ตอเปน Ground
เดียวกับEnclosure และ Machine Ground
• Central Ground Bus ควรอยูใ กลบริเวณติดตัง้ อุปกรณ Magnetic System Power
Requirement
• AC Source ของ CPU และ I/O ควรเปนชุดเดียวกัน
• มีอุปกรณ Monitor ระดับของ Power Supply ตลอดเวลา
• ใช Isolation Transformer ปองกัน Noise
• อุปกรณหรือวงจร Protection อืน่ ๆ ควรติดตัง้ หางจาก Controller และใช Power
Supply คนละแหลง เมื่อ Controller มีปญหาวงจรจะไดทางานได

• ควรมี Emergency Stop Hand switch ซึ่งเปน Hardwired ไวตดั แยกระบบเวลาฉุก
เฉิน

2.7 I/O Installation & Wiring


• จัดตําแหนง I/O ใหถกู ตองและเหมาะสมกับชนิดของ Power Supply
• ขนาดของสายไฟตองเหมาะสมกับกระแสที่ใชงาน
• Labelling ตองชัดเจน ทนทาน บอกทีม่ า และที่ไปของสายไฟ
• Color Code ของสายไฟตองถูกตองเชน สีแดง = AC, สีฟา = DC, สีขาว = Common
• จัดกลุมของสายไฟแยกตาม Module ทีต่ อ ไปใชงานโดยการใชเข็มขัดรัดสายไฟ รัดไว
เปนกลุม

2.8 การเดินสาย I/O Module


• ถอด Power Lockout ออกจาก Card กอน
• ตรวจสอบ ตําแหนง, ชนิดของ I/O, Power Supply
51

• คลายสกรูของ Terminal กอนติดตัง้ I/O Module


• วางสายที่จัดไวใหถกู ตําแหนงเริ่ม Connect สายจาก Terminal ชั้นลาง
• ถาตองดัดสายใหทามุ
ํ มขวาเทานั้น
• เหลือปลายสาย ½ นิ้ว ปอกสาย 3/8 นิว้ กอนตอเขา Terminal
• ถา 2 Module ใช Power Supply รวมกันใหใชการ Jump สายได
• ถาใชสายที่มี Shield ให Ground สาย Shield ดานเดียว (Rack) เพือ่ ปองกันการเกิด
Ground Loop

2.9 การตรวจสอบการทํางานของ I/O Module


• ตรวจสอบชนิดของ Power Supply วาถูกตอง
• Apply Power เขาสู Module
• ตรวจสอบการทํางานของ Self Diagnostic วาถูกตองหรือไม (AC, DC, Processor,
Memory, I/O Communication)
• ทดสอบ Emergency Stop วาทํางานได
• Start Module ขึ้นมาใหม (ควรอยูใ น Single Scan หรือ Test Mode)
• ทดสอบ Input โดยวิธี Manual ดูทกุ Channel วาทํางานถูกตอง
• ทดสอบ Output โดยวิธปี ลดสายจากอุปกรณหนางานกอน

2.10 การตรวจสอบ Control Program


• ตรวจสอบ Error ของโปรแกรมหลัง Compile กอน
• ตรวจสอบ I/O Wiring List เทียบกับ Control Program Printout
• ตรวจสอบ Preset Value ของ Timer, Counter ตทาง ๆ
• Load Program ที่ Compile ผานแลวลงใน Memory
• ปลดสายไฟทีต่ อ กับอุปกรณปลายทางกอน
• ทดสอบ Run Program ใน Single Scan หรือ Test Mode
52

• ดูสถานะของ I/O Module (ที่ LED) เทียบกับ Ladder Diagram Status วาถูกตอง
ตรงกัน

2.11 การดูแลรักษาระบบ PLC (Preventive)


• จัดตารางการทําความสะอาด Filter ตาง ๆ เพือ่ ใหการระบายอากาศดี
• กําจัด ฝุน และสิ่งสกปรกในหองบรรจุ PLC
• จัดตารางการตรวจสอบ Connection ของ I/O Module และ Terminal ตาง ๆ ไมใหมี
Oxide หรือสายหลวม การเปลี่ยน I/O Module ใหระมัดระวังเรื่องระดับ Voltage
• ตรวจวัดระดับ Noise บริเวณติดตัง้ PLC เปนประจํา
• เก็บรักษา Spare part ในระดับประมาณ 10% ของการใชงานได
• มีการเก็บประวัติการ Modify เปลีย่ นแปลงใด ๆ ในระบบ

You might also like