You are on page 1of 41

บทที่ 2

แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจยั ที่เกี่ยวของ

ในการศึกษาเรื่อง “ปญหาอุปสรรคตอการปฏิบัติหนาที่สืบสวนจับกุมผูกระทําผิดของ
เจาหนาที่ตํารวจ: ศึกษาเฉพาะกรณีกองบังคับการตํารวจนครบาล 8” ผูศึกษาไดคนควาจาก
เอกสารเพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎีตลอดจนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ มาเปนพื้นฐานและแนวทางใน
การศึกษา รวมทั้งนํามาสรางกรอบแนวคิดที่จะใชในการวิเคราะหถึงปญหาอุปสรรคในการสืบสวน
จับกุมของเจาหนาที่ตํารวจ โดยมีละเอียด ดังนี้
1. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ
1.1 แนวคิดเกี่ยวกับการฝกอบรมดานการสืบสวน
1.2 แนวคิดในการปองกันอาชญากรรมโดยการบังคับใชกฎหมาย
1.3 แนวคิดดานการสืบสวน
1.4 สิทธิผูตองหาในกระบวนการจับกุมทางคดีอาญา
1.5 สิทธิผูตองหาในกระบวนการคนและจับกุมในประเทศสหรัฐอเมริกา
2. กฎหมายและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวของกับการสืบสวนจับกุม
2.1 ระเบียบราชการฝายตุลาการวาดวยแนวปฏิบัติในการออกหมายจับและ
หมาย คนในคดีอาญา พ.ศ. 2545
2.2 ประเภทของการจับกุมและขั้นตอนของกระบวนการจับกุมของเจาหนาที่
ตํารวจ
3. งานสืบสวนจับกุมผูกระทําผิดของกองบังคับการตํารวจนครบาล 8
3.1 โครงสรางการบริหารงาน บก น. 8
3.2 งานสืบสวนจับกุมของกองบังคับการตํารวจนครบาล 8
3.3 สถิติการสืบสวนจับกุม บก น. 8
4. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ
5. กรอบแนวคิดในการศึกษา

8
9

1. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ

1.1 แนวคิดเกี่ยวกับการฝกอบรมดานการสืบสวน

ในการปฏิบัติ งานดานสืบสวนของเจาหนาที่ตํารวจ ซึ่งเปนพนักงานสืบสวนตาม


สถานีตํารวจตาง ๆ นั้น จะตองปฏิบัติหนาที่ไปดวยความระมัดระวัง โดยมีกฎหมายระเบียบ คําสั่ง
ขอบังคับ หรือกฎเกณฑตา ง ๆ ที่ถูกตองรองรับหรือใหอํานาจอยูเสมอ เนื่องจากวาการปฏิบัติหนาที่
สืบสวนจะตองเกี่ยวของกับการตรวจคน จับกุม ควบคุมและอื่น ๆ ซึ่งเปนการริดรอนสิทธิของ
ประชาชน เจาหนาที่สืบสวนจะตองมีและใชความรูดานตาง ๆ ตลอดจนไหวพริบ และการตัดสินใจ
ในการแกไขปญหาเฉพาะหนาตาง ๆ ใหถูกตองและเหมาะสมในการปฏิบัติงานใหดีที่สุด ซึ่งในเรือ่ ง
นี้ ประเสริฐ เมฆมณี (2523, น. 1) ไดใหความเห็นวา
. . . เพื่อดํารงรักษาไวซึ่งความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน และขจัด
ภั ย และความสู ญเสี ย จากอาชญากรรมใหลดนอ ย บรรเทาเบาบางลง จึ ง จํา เป น
จะตองมีกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและกลไกการควบคุมสังคม จํากัดขอบเขต
ความประพฤติของบุคคลไว โดยมีพนักงาน เจาหนาที่ ซึ่งผานการฝกอบรมมาเปน
อยางดี จึงจะสามารถปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมายของบาน. . .
สําหรับบทบาทของการฝกอบรม โดย L.C. Robert (1976, pp. 2.1-2.2) ไดกลาวไววา
. . . ชองวางระหวางการทํางานจริงกับผลผลิตที่ตองการนั้น การฝกอบรมสามารถทํา
ใหลดนอยลงได ถึงแมนวาไมสามารถจะขจัดใหหมดสิ้นไปโดยสิ้นเชิงก็ตาม การ
ฝกอบรมสามารถลดชองวางดังกลาวลงไดดวยการเปลี่ย นแปลง พฤติกรรมของ
บุคคล โดยใหความรูความชํานาญ ทัศนคติที่เหมาะสมและที่เขามีความจําเปนตอง
นําไปใชในการปฏิบัติงานใหบรรลุวัตถุประสงคของ องคการโดยการใชทรัพยากร
มนุษยใหไดผลอยางสูงสุด. . .
การฝ ก อบรมไว ว า การฝ ก อบรมนั้ น เป น วิ ธี ก ารอย า งหนึ่ ง ที่ นั ก บริ ห ารนํ า มาใช
แกปญหาตาง ๆ เพื่อใหเหมาะสมกับปญหานั้น ๆ ยังผลใหมีการฝกอบรมหลายชนิดที่มีสาระควร
นํามาพิจารณา 3 ประเภท (อมร รักษาสัตย, 2511, น. 19-20) คือ
1. การฝกอบรมกอนประจําการ (Pre-Service Training) ไดแก การฝกอบรมทั้งหลายที่
จัดใหแกบุคคลกอนที่จะเขารับตําแหนงหนาที่โดยสมบูรณเต็มที่อาจจะไดแก การศึกษาเลาเรียน
ตามโรงเรียน มหาวิทยาลัยตาง ๆ ตั้งแตกอนเขาทํางานในองคการตลอดจนการฝกหัดฝมือตาง ๆ
ในองคการนั้นแตกอนจะไดรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนง
10

2. การอบรมปฐมนิเทศ (Orientation Training) ไดแก การฝกอบรมในระยะแรกเริ่ม


ที่รับบุคคลเขาทํางาน โดยมากมักจะมีแนวทางใหญ ๆ 2 ทาง คือ แนะนําใหบุคคลที่เขามาใหม
รูจักองคการนั้นดีขึ้นทุกแง ทุกมุม และเปนการฝกเพิ่มเติมใหบุคคลนั้นสามารถปรับใชความรู
พื้นฐานที่มีอยูเดิมแตไมตรงกับงานนั้นทุกประการใหตรงกับงานนั้นยิ่งขึ้น ระยะเวลาและวิธีการจึง
แตกตางกันมาก
3. การฝกอบรมระหวางประจําการ (In-Service Training) คือ การฝกอบรมทุกชนิด
ที่ให แกบุคคลนั้นหลังจากที่บุคคลนั้นเขามาประจําในองคการนั้นแลวไมวาจะเปนการฝกเพื่อดํารง
หรือเพิ่มพูนความชํานาญ ทักษะ หรือ ประสิทธิภาพตาง ๆ ทุกระดับ บางทีก็หมายถึง การฝกอบรม
ที่จะรับงานใหมดวยโดยถือวาบุคคลนั้นเขามาอยูในองคการนั้นแลว
การฝกอบรมในการปฏิบัติหนาที่ดานสืบสวนนั้นเปนการเพิ่มพูนความรูความสามารถให
มากยิ่ งขึ้ นหลั งจากที่ บุ คคลนั้ นเข ามาอยู ในองค การแล ว ซึ่ งเข าลั กษณะการฝ ก อบรมระหว า ง
ประจําการ (In-Service Training) ซึ่งจะชวยใหขาราชการตํารวจสามารถปฏิบัติงานไดดีขึ้น ซึ่ง
การฝกอบรมเจาหนาที่ตํารวจนั้น โอ ดับเบิ้ลยู วิลสัน (Wilson, 1950, p. 161) ใหความเห็นวา
“. . .การฝกอบรมตํารวจก็เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นวา เจาหนาที่ตํารวจสามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยาง
มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย และสาธารณชนพึงพอใจ. . .” ในทํานองเดียวกัน อาร อี เครฟ (Cleff,
1965, p. 78) ไดกลาวสนับสนุนในเรื่องการฝกอบรมตํารวจวา “. . .การฝกอบรมเปนสิ่งสําคัญใน
การเตรียมคนใหเหมาะสมกับชีวิตตํารวจ. . .” สําหรับเนื้อหาสาระในการฝกอบรมนัน้ สมเกียรติ อัศ
วิษณุ (ม.ป.ป., น. 174) ไดกลาวไววา
. . .ผูเขารับการฝกอบรม ควรจะไดรับขอมูลหรือโอกาสที่จะไดรับฝกฝนใหเกิดความ
ชํ า นิ ชํ า นาญในการแก ไ ขป ญ หาเฉพาะหน า การตั ด สิ น ใจตลอดจนการฝ ก ใช
วิจารณญาณโดยมีความเขาใจปจจัยเกี่ยวของตาง ๆ เชน นโยบายของตํารวจ อันนี้
เปนระดับชั้นประทวนอาจมีการชี้แจงใหทราบความเปนมาและความสัมพันธระหวาง
นโยบายที่มีผลโดยตรงตอตํารวจระดับชั้นประทวนกับเปาหมายหรือนโยบายหลัก
อยางไรก็ตาม ผูเขาอบรมในระดับนี้ควรจะตองไดรับความรูแนนอน และชัดเจนใน
นโยบายตาง ๆ ที่มีผลในการควบคุมสถานการณ นโยบายการใชอาวุธ ฯลฯ. . .
แตเนื่องจากการฝกอบรมนั้นไมไดมาจากสถานฝกอบรมแตเพียงอยางเดียวเทานั้น
ซึ่งบางครั้งก็มักจะปรากฏออกมาในลักษณะของผูบังคับบัญชา ตํารวจรุนพี่ หรือรุนกอน ๆ ที่มี
ประสบการณ ม าทํ า การสอนและถ า ยทอดประสบการณ แ ละเทคนิ ค การทํ า งานที่ ไ ด รั บ การ
พัฒนาขึ้นมาจากประสบการณ เชน การเลาประสบการณ (อันเปนประโยชนตอผูเขารับการอบรม)
11

หรือบางครั้งที่จะออกมาในลักษณะของการสอนวิธีการตาง ๆ เชน วิธีการจับกุม วิธีการคนหา การ


ควบคุมตัว เปนตน
ดังนั้น จะเห็นไดวาการปลอยใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานดานสืบสวนใหตองไปเรียนของ
จริงจากการปฏิบัติงานในสนามนั้น แมอาจจะเปนสิ่งหลีกเลี่ยงไมได แตก็เปนอันตรายเกินไปที่
เจาหนาที่ตํารวจเหลานั้นจะตองไปหาความรูจากในสนาม เพราะอาจกอใหเกิดอันตรายและความ
เสียหาย ทั้งตอตนเอง ตอหนวยงานและตอประชาชนไดอยางใหญหลวง ฉะนั้น การฝกอบรมก็ควร
จะได รั บ การจั ด แนววิ ธี ก ารฝ ก อบรมที่ จ ะสามารถส ง ผลจริ ง จั ง ให ตํ า รวจได มี โ อกาสเรี ย นจาก
หองฝกอบรมได ซึ่งแมจะลําบากและอาจไดผลไมเต็มที่และคาใชจายสูงมากกวา แตก็ควรจะ
พยายามแกไขแนวการฝกอบรมไปในทางนี้ โดยสรุปแลวระบบการสอนของตํารวจ ควรไดรับการ
แกไขใหเปนไปในแนวทางที่ทําใหตํารวจนั้นสามารถที่จะเรียนของจริงไดภายในการฝกอบรมให
ไดมากที่สุดเทาที่จะกระทําได และใหตํารวจรูนโยบายที่ชัดเจนใหรูจักการใชวิจารณญาณ ใหมี
ความสามารถในการใชเครื่องมือวิธีการเทคนิค และความรูอันจําเปนในการแกไขปญหาเฉพาะ
หนา และการดําเนินการกับสถานการณความขัดแยงที่เกิดขึ้น ดังนั้น เจาหนาที่ตํารวจผูไดรับการ
ฝ ก อบรมในด า นการปฏิ บั ติ ง านสื บ สวนมาก จึ ง มัก จะสามารถปฏิ บั ติ ห น า ที่ ด า นสื บ สวนได มี
ประสิทธิภาพมากกวาที่ไมไดรับการฝกอบรมหรือไดรับการฝกอบรมมานอยกวา

1.2 แนวคิดในการปองกันอาชญากรรมโดยการบังคับใชกฎหมาย
(อางถึงใน อนุชิต ลายลักษณ, 2546)

แนวทางในการปองกันอาชญากรรมที่เนนในเรื่องการใชกฎหมายและการลงโทษนั้น
เปนแนวทางที่มาจากความเชื่อของสํานักอาชญาวิทยาสํานักคลาสสิค ที่เชื่อวาคนทําผิดเพราะไม
เกรงกลัวตอกฎหมายหรือการลงโทษ เนื่องจากการบังคับใชกฎหมายไมมีประสิทธิภาพหรือมีโทษที่
ไมเหมาะสมกับการกระทําความผิด ทําใหโทษและกฎหมายไมมีผลในการขมขูยับยั้งจึงทําให
ผูกระทําผิดกลาเสี่ยงที่จะกระทําผิด เพราะมนุษยมีเจตนจํานงเสรี (Free will) คือมีเหตุผลที่จะคิด
ไตรตรองถึงผลดีผลเสียจากการกระทําผิดของตน หากทําแลวคุมคาก็เลือกกระทํา หากไมคุมคาก็
จะไมกระทํา ดังนั้น หากการบังคับใชกฎหมายไมมีประสิทธิภาพก็เทากับโอกาสที่จะทําใหไดรับ
ผลประโยชนจากการกระทําผิดมีมากกวาโอกาสที่จะถูกจับกุมลงโทษ มนุษยก็เลือกทําผิดโดยไม
เกรงกลั ว กฎหมาย ดัง นั้น การปอ งกัน อาชญากรรมตามแนวทางนี้ จึ ง ต อ งทํ า ใหการบัง คับใช
กฎหมายมีประสิทธิภาพ เพื่อใหมีผลในการขมขูยับยั้งใหคนที่คิดจะทําผิดเกิดความเกรงกลัวไม
กลาเสี่ยงที่จะกระทําผิด
12

วิธีการในการจะทําใหการบังคับใชกฎหมายมีประสิทธิภาพก็โดยผานการดําเนินการ
ตามกระบวนการยุติธรรม ซึ่ ง ก็ ห มายความว า หน ว ยงานในกระบวนการยุ ติ ธรรม คือ ตํา รวจ
อัยการ ศาล ราชทัณฑจะตองประสานงานกันในการที่จะทําให การบังคั บใชกฎหมายมี ความ
แนนอน รวดเร็ว เสมอภาค และมีโทษที่เหมาะสม ซึ่งจะทําใหกฎหมายมีผลในการขมขูยับยั้งใหคน
เกิดความเกรงกลัวไมกลากระทําผิด ความแนนอน รวดเร็ว เสมอภาค และการมีโทษที่เหมาะสม
สําหรับการบังคับใชกฎหมายถือเปนปจจัยที่สําคัญที่สุด

1.3 แนวคิดเกี่ยวกับการสืบสวน

ความหมายของการสืบสวน
ตามพจนานุ ก รมฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน ได ใ ห ค วามหมายของการสื บ สวนว า
หมายถึง “การเสาะหา ทบทวนไปมา” และตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา
2 (10) ไดใหความหมายของการสืบสวนไวโดยไดบัญญัติไววา “การสืบสวน” หมายถึง การ
แสวงหาขอเท็จจริงและหลักฐาน ซึ่งพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจไดปฏิบัติไปตามอํานาจ
หนาที่ เพื่อรักษาความสงบเรียบรอยของประชาชนและเพื่อที่จะทราบรายละเอียดแหงความผิด
จากความหมายของการสืบสวนดังกลาว จึงอาจสรุปไดวา การสืบสวนนับเปนการดําเนินงาน
ขั้นตนของพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ ซึ่งไดปฏิบัติไปตามอํานาจและหนาที่เพื่อบรรลุถึง
วัตถุประสงคในดานการรักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน (ประยูร โกมารกุล ณ นคร, 2529,
น. 12)
พงศพัฒน ฉายาพันธุ (2537) กลาววา การสืบสวนเปนทั้งศิลป และวิทยาศาสตร
สวนการมองปญหา การคิดคะเนเหตุการณ การเลือกใชวิธีการแกปญหาโดยอาศัยความชํานาญ
จากทักษะและประสบการณ การเลือกใชวิธีการแกปญหาโดยอาศัยความชํานาญจากทักษะและ
ประสบการณ เหลานี้ลวนเปนศิลปะ ในสวนของการปฏิบัติเพื่อคลี่คลายปมปญหาตาง ๆ ที่ตองใช
พยานหลักฐานอันเปนความจริงที่ประจักษใหเห็น และตองพิสูจนยืนยันได เหลานี้เปนสวนของ
วิทยาศาสตร
สุวัณชัย ใจหาญ (2522, น. 85-86) ไดอธิบายไววา การสืบสวน หมายถึง การเที่ยว
เสาะแสวงหาในชั้นตน เพื่อทราบขอเท็จจริงของเหตุการณที่เกิดขึ้นนั้นวามีสาเหตุมาจากอะไร
กระทําผิดอยางไร เพื่อสืบคนจากฐานที่เกิดเหตุวามีอะไรตกหลนหรือทิ้งรองรอยไว พอจะไดเปน
หลั ก ฐานหรื อ เค า เงื่ อ นว า ผู ก ระทํ า ผิ ด เป น ผู ใ ด มี อ ะไรเป น เครื่ อ งพิ สู จ น หรื อ มี ใ ครรู เ ห็ น บ า ง
13

นอกจากนั้นมีพยานหลักฐานอะไรบาง เพื่อที่จะทําการสอบสวนใหคดีมีมูลสําหรับฟองใหศาล
ลงโทษผูกระทําผิดตอไป
เวทย เพชรบรม (2528, น. 5) ไดใหความหมายของการสืบสวนวาเปนสิ่งที่สลับซับซอน
และละเอียดออน ซึ่งจําเปนอยางยิ่งที่จะตองปรับเปลี่ยนเทคนิคและยุทธวิธีการปฏิบัติใหเหมาะสม
ตามลักษณะของคดีและความมุงหมายของการสืบสวนอยูเสมอนอกจากนั้นการสืบสวนยังจะตอง
ปรับเปลี่ยนเทคนิคและยุทธวิธีการปฏิบัติใหเหมาะสมตามลักษณะของคดีของการสืบสวนอยูเสมอ
นอกจากนั้นการสืบสวนยังจะตองอาศัยประสบการณ และความสามารถเฉพาะตัว
Charle E.O’ Hara Thomar (อางถึงใน โสภณ สารพัฒน, 2544) กลาวถึงการสืบสวนวา
หมายถึง การคนหา ซักถามภายใตขอบเขตของกฎหมาย เพื่อหาคนหรือสิ่งของที่ใชประกอบการ
กระทําผิดหรือละเวนการกระทําตามกฎหมายอันเปนการซักถามสอบสวนจากสิ่งที่ยอนหลังไปหา
สิ่งที่ไมรู โดยมีเปาหมายเพื่อตัดสินความเปนจริงเทาที่จะพบไดในขอบเขตของกฎหมาย
การสืบสวนถือไดวาเปนมาตรการเบื้องตนของการปองกันและปราบปรามอาชญากรรม
การสืบสวนนั้นเปนการดําเนินงานขั้นตนของพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ ซึ่งไดปฏิบัติไปตาม
อํานาจและหนาที่เพื่อบรรลุถึงวัตถุประสงคในดานการรักษาความสงบเรียบรอยของประชาชนและ
เพื่อใหทราบถึงความผิดในสาระสําคัญ 3 ประการ คือ “จะตองสืบสวนใหพบวาไดมีการกระทําผิด
กฎหมายเกิดขึ้นจริงหรือไม (Has a crime been committed?) ถามีการกระทําผิดเกิดขึ้นจริงแลว
เปนคดีอะไร (If so, What crime?) และใครเปนผูกระทําผิดในคดีนั้น ๆ (Who committed such
crime)
Gaines Kappeler (กองบัญชาการตํารวจนครบาล, 2542, อางถึงใน โสภณ สารพัฒน,
2544) กลาวถึงวัตถุประสงคของการสืบสวนไวดังนี้
1. ยับยั้งการกออาชญากรรม
2. พิสูจนความเปนจริงในขอบเขตของกฎหมาย
3. คนหาความจริงที่สงสัย
4. คนหาทรัพยสินที่สูญหาย
- รวบรวมรักษารองรอยหลักฐาน
- ติดตามรองรอยหลักฐานขยายความจริง
5. หาตัวผูที่กระทําผิด หาที่หลบซอน จนกระทั่งถึงจับกุมตัวได
6. ใหความรวมมือเพื่อชวยเหลือพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ
7. พิสูจนความจริงในชั้นศาล
14

ในการนี้ ก ารสื บ สวนสอบสวนได มี ก ารแบ ง กระบวนการในการสื บ สวนสอบสวน


ออกเปน 3 สวน ไดแก
1. ทางอาญา พนักงานสอบสวนตาม ป.วิอาญา
2. ทางวินัย ตามกฎหมายเฉพาะ
3. ป.ป.ช. ตาม พ.ร.บ. ป.ป.ช.
ซึ่ ง ในส ว นของวิ ธีก ารสืบ สวนสอบสวนนั้น เจา พนั ก งานตํ า รวจผูป ฏิบัติห นา ที่นั้ น
จะตองนําเทคนิคและวิธีการในการสืบสวนมาใชเพื่อที่จะทําใหไดผลที่ตรงกับขอเท็จจริงมากที่สุด
ซึ่งเทคนิควิธีการในการสืบสวนสอบสวนนั้น แบงออกเปน 3 ขั้นตอน ไดแก
1. กําหนดประเด็น
2. จัดระบบหรือวางแผน
3. พิเคราะหพยานหลักฐาน ขอเท็จจริง ขอกฎหมาย
จะเห็นไดวาเทคนิควิธีการทั้ง 3 ขั้นตอนนี้ เปนเทคนิคเบื้องตนที่เจาพนักงานตํารวจผู
ปฏิบัติหนาที่ฝายสืบสวนสอบสวนนั้นจําเปนที่จะตองกระทํา เนื่องดวยหลักการหรือวิธีการทั้ง 3
ขั้นตอนนี้จะทําใหการดําเนินการสืบสวนสอบสวนเปนไปตามขั้นตอนที่ครอบคลุมเปาหมายที่
ตองการ เนื่องดวยเปนการวางแผนการปฏิบัติงานที่จะทําใหไมหลงประเด็นในการสืบหาพยานและ
หลักฐานจากผูตองหา และยังเปนการวางแผนเพื่อที่จะใหเจาพนักงานตํารวจนั้นสามารถที่จะ
คนหาขอเท็จจริงไดอยางครบถวนมากที่สุด
ผูมีอํานาจในการสืบสวนและเขตอํานาจของการสืบสวน
ผูที่มีอํานาจในการสืบสวนคดีอาญา คือ พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ ซึ่งไม
จํากัดชั้นยศ เชน พลตํารวจ ผูใหญบาน ฯลฯ ตางมีอํานาจในการสืบสวนทั้งสิ้น เนื่องดวยพนักงาน
ฝายปกครองหรือตํารวจ หมายความถึง เจาพนักงานซึ่งกฎหมายใหมีอํานาจ และหนาที่รักษา
ความสงบเรียบรอยของประชาชน ทั้งนี้รวมถึงพัศดี เจาพนักงานสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมเจาทา
พนักงานตรวจคนเขาเมือง และเจาพนักงานอื่น ๆ ซึ่งมีหนาที่เกี่ยวกับการจับกุมปราบปรามผูกระทํา
ผิดกฎหมาย
สําหรับเรื่องเขตอํานาจการสืบสวนคดีทางอาญานั้น ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญานั้น มิไดมีบทบัญญัติระบุเรื่องเขตอํานาจการสืบสวนไวโดยเฉพาะเชนเดียวกับเรื่องเขต
อํานาจการสอบสวนคดีอาญา ซึ่งกรณีปญหาเกี่ยวกับเขตอํานาจการสืบสวนดังกลาวก็เปนที่ยุติ
ทั้งนี้ศาลฎีกาไดวางบรรทัดฐานไว ปรากฏตามคําพิพากษาฎีกาที่ 140/2490 วา “ตํารวจมีอํานาจ
สืบสวนคดีอาญาไดทั่วราชอาณาจักร” สวนพนักงานฝายปกครอบมีอํานาจสืบสวนไดอยางจํากัด
เฉพาะในเขตทองที่ที่ตนประจําอยูเทานั้น ซึ่งหมายความวา ถาเปนพนักงานฝายปกครอง เชน
15

นายอําเภอก็มีอํานาจสืบสวนเฉพาะในเขตอํานาจที่อยูในความรับผิดชอบ ถาเปนกํานันก็มีอํานาจ
เฉพาะในเขตตํ า บลที่ ต นมี เ ขตรั บ ผิ ด ชอบ ถ า เป น ผู ใ หญ บ า นก็ เ ฉพาะในเขตหมู บ า นเท า นั้ น
นอกจากนี้ยังมีคําพิพากษาฎีกาที่ 670/2529 วินิจฉัยวา ตํารวจดับเพลิงแมจะมีหนาที่ดับเพลิงก็
ยอมมีหนาที่สืบสวนคดีอาญาได และไดมีคําพิพากษาฎีกาที่ 999/2527 วินิจฉัยวาจําเลยเปนเจา
พนักงานตํารวจมีอํานาจทําการสืบสวนคดีอาญา และจับกุมผูกระทําผิดกฎหมายดังนี้ เปนตน
(ภัคพงษ สายอุบล, 2538, อางถึงใน โสภณ สารพัฒน, 2544)
กระบวนการดําเนินการสืบสวน (ภัคพงษ สายอุบล, 2538, อางถึงใน โสภณ
สารพัฒน, 2544) มีขั้นตอนดังนี้
1. การสืบสวนกอนเกิดเหตุ (Preventive Investigation)
กลาวคือ การแสวงหาขอเท็จจริงและหลักฐานเพื่อประโยชนในการปองกันและ
เปนแนวทางสําหรับการแสวงหาขอเท็จจริงและหลักฐาน เมื่อมีการกระทําความผิดเกิดขึ้นแลว การ
สื บ สวนก อ นเกิ ด เหตุ น้ี จะเป น การสื บ สวนเพื่ อ หาข า วติ ด ตามความเคลื่ อ นไหว เบาะแสและ
พฤติการณตาง ๆ ของคนรายกอนที่จะมีการกระทําความผิดเกิดขึ้น
2. การสืบสวนเมื่อมีเหตุเกิดขึ้นแลว (Primary Investigation)
สําหรับกรณีการสืบสวนเมื่อมีเหตุเกิดขึ้นแลวนั้น กลาวคือ การแสวงหาขอเท็จจริง
และหลักฐานเพื่อที่จะทราบรายละเอียดแหงความผิด ในเมื่อมีความผิดหรือการกระทําความผิด
เกิดขึ้นแลว ซึ่งการสืบสวนเพื่อวัตถุประสงคดังกลาว สามารถแยกไดเปน 3 ประการ ดังนี้
2.1 ในกรณีจับกุมผูกระทําความผิดได การสืบสวนดังกลาวจะเปนการสืบสวน
เพื่อแสวงหาหลักฐานตาง ๆ จากพยานเอกสาร พยานบุคคล และพยานวัตถุเพื่อนํามาพิสูจน
ความผิดของผูตองหาในชั้นสอบสวน และเพื่อเปนหลักฐานในชั้นพิจารณาของศาล เพื่อลงโทษ
ผูกระทําผิดตอไป
2.2 ในกรณีที่รูตัวผูกระทําผิดแตยังจับกุมตัวไมได การสืบสวนดังกลาวนอกจาก
เป น การสืบ สวนเพื่อ แสวงหาข อเท็ จจริ ง และหลัก ฐานเกี่ ย วกับ รายละเอีย ดแลว ยัง ตอ งทํา การ
สืบสวนจับกุมผูกระทําความผิดตอไปอีกดวย
2.3 ในกรณีที่ไมท ราบตัว ผู ก ระทํา ความผิด และยังไม ทราบรายละเอี ยดแห ง
ความผิด การสืบสวนในลักษณะนี้จะตองทําการสืบสวนแสวงหาขอเท็จจริงและหลักฐานใหได
รายละเอียดวา ใครเปนผูกระทําความผิด กระทําความผิดอะไร และทําความผิดเมื่อใด กระทํา
ความผิดที่ไหน ทําไมจึงกระทําความผิดและกระทําความผิดอยางไร
16

วิธีการสืบสวน
วิธีการสืบสวนเปนวิธีการเพื่อใหไดมาซึ่งขอเท็จจริงและหลักฐานประกอบการรักษา
ความสงบเรียบรอยของประชาชน และรายละเอียดแหงความคิด ซึ่งมีวิธีการสืบสวน 3 วิธีดังนี้
(โสภณ สารพัฒน, 2544)
1. การเฝาตรวจ (Surveillance)
หมายถึง การเฝาสังเกตบุคคล สถานที่ และสิ่งของโดยวิธีปกปดเพื่อวัตถุประสงค
ดังตอไปนี้
1) เพื่อหาพยานหลักฐานอันจะใชยืนยันผูตองสงสัย
2) เพื่อใหไดตําแหนงแหลงที่อยูของผูที่หลบหนีไป
3) เพื่อที่จะรูถึงผูมีสวนรวมสมคบกันกับผูตองสงสัย
4) เพื่อที่จะปองกันการกระทําความผิดทางอาญา
5) เพื่อที่จะทราบพึงความเคลื่อนไหว
6) เพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลที่จําเปนเพื่อการที่จะออกหมายคน
7) เพื่อที่จะไดผูที่เปนอาชญากรที่รูตัวแลวเคลื่อนไหวอยูเรื่อย ๆ
2. การสืบสวนในลักษณะที่เปนสายลับ (Undercover)
การสืบสวนในลักษณะนี้คือ กรรมวิธีทางการสืบสวนวิธีหนึ่งซึ่งใชวิธีปลอมแปลง
และใช ไ หวพริ บ กลบเกลื่ อ นต า ง ๆ เพื่ อ ทํ า ให ผู ต อ งสงสั ย เป น อาชญากรไว ว างใจทั้ ง นี้ เพื่ อ
วัตถุประสงคดังนี้
1) เพื่ อ ทราบว า กํ า ลั ง มี ก ารวางแผนเพื่ อ ประกอบอาชญากรรม หรื อ มี ก าร
ประกอบอาชญากรรมนั้นแลวหรือไม
2) เพื่อหาพยานหลักฐานแสดงตอศาล
3) เพื่อใหทราบผูเกี่ยวของทั้งหมด
4) เพื่อคนหาของผิดกฎหมายหรือทรัพยสินที่ถูกขโมย
5) เพื่อกําหนดเวลาที่เหมาะสมสําหรับเขาจูโจมสถานที่ที่ตัวการชอบมามั่วสุม
หรือเพื่อเขาจับกุมตัวการสําคัญ
3. ขาวกรองตํารวจ
ขาวกรองตํารวจนั้น หมายถึง การสอบสวนอีกวิธีหนึ่งของตํารวจที่ดําเนินการเพื่อ
แสวงหาขอเท็จจริง และพยานหลักฐานจากการผลิตขาว ซึ่งในดานอาชญากรรมมีกรรมวิธี 5
ประการ ดังนี้
17

1) การรวบรวม (Collection) หมายถึง การรวบรวมขาวจากแหลงขาวตาง ๆ


เชน จากสถานีตํารวจ ศาล เรือนจํา กรมสรรพากร กรมศุลกากร การทะเบียนราษฎร กรมไปรษณีย
โรงพยาบาล ธนาคาร สิ่งพิมพ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน โรงแรม และสถานที่อื่น ๆ ฯลฯ
2) การประเมินคา (Evaluation)
2.1) ความเชื่อถือไดของแหลงขาว แบงออกเปน 6 ลักษณะซึ่งแสดงตัวอักษร
ไดดังนี้ คือ เชื่อถือไดเต็มที่ มักเชื่อถือได พอเชื่อถือได มักเชื่อถือไมได เชื่อถือไมไดเลย และไมสามารถ
กําหนดความเชื่อถือได
2.2) ความแนนอนของแหลงขาว แบงออกเปน 6 ลักษณะ ซึ่งแสดงดวย
ตัวอักษรไดดังนี้ คือ ไดรับการยืนยันจากแหลงขาวอื่น นาจะเปนความจริง อาจจะเปนความจริง
สงสัยวาจะจริงหรือไม ไมนาจะเปนไปได ไมสามารถตัดสินความจริงได
3) การวิเคราะห คือ การแยกขาวสารที่ประเมินคาแลว เมื่อพิจารณารายละเอียด
ของขาวที่เกี่ยวของนั้น เพื่อหาขอเท็จจริงและความสัมพันธระหวางกัน รวมทั้งวิจัยและตรวจสอบการ
ยืนยันเพิ่มเติมหรือแยงกันในเนื้อขาว
4) การสนธิกรรม คือ การนําขาวตาง ๆ ที่ผานกรรมวิธีตามลําดับขางตนมา
ประกอบเพื่อกําหนดภาพของขาวกรองที่นาจะเปนไป การสนธิกรรมจะทําไดสมบูรณขึ้นอยูกับ
ปริมาณคุณภาพของขาวและความสามารถของเจาหนาที่ผลิตขาว
5) การตีความ หมายถึง การดําเนินการ 3 ขั้น คือ การวิเคราะห การสนธิกรรม
และการอนุมาน (การพิจารณาเหตุและผล) เพื่อหาความหมายที่แฝงอยูรวมทั้งขอยุติขาวกรองตํารวจ
เปนเครื่องมือสําคัญสําหรับผูบังคับบัญชาชั้นสูงของหนวยงาน ที่จะใชขาวกรองในการวินิจฉัย
สั่งงานไดถูกตองมากยิ่งขึ้น ทั้งสามารถลดความผิดพลาดในการสั่งงานและใชเปนขอมูลในการ
วางแผนปฏิบัติงานเพื่อแกไขปญหาอาชญากรรมตาง ๆ ไวดวย

ปจจัยสําคัญในการสืบสวนสอบสวน (ชนสิษฐ ธนพัฒนากุล, 2540)

ผูสืบสวนจําเปนตองมีปจจัย 3 ประการเพื่อเปนองคประกอบที่จะทําใหการสืบสวน
ไดผลสมบูรณ ซึ่งขึ้นอยูกับปจจัยที่มีอยูหรือไดมานั้นดวยวามีความถูกตองและเพียงพอหรือไม
ปจจัยทั้ง 3 ประการไดแก
1. ขอเท็จจริงขาวคราวตาง ๆ (Information)
หมายถึง ความรูตาง ๆ ที่ผูสืบสวนรวบรวมไดจากบุคคลอื่น ซึ่งโดยปกติมีอยู 2 ชนิด
คือ
18

ชนิดแรก คือ ขาวหรือขอเท็จจริงที่ไดจากแหลงปกติ เชน พลเมืองดี หลักฐาน


ประวัติ บริษัทหางราน จากแฟมแผนประทุษกรรมคนรายที่มีอยู เปนตน
ชนิดที่สอง คือ ขาวหรือขอเท็จจริงที่ไดจากแหลงที่พนักงานสอบสวนเพียรเพาะไว
เชน สายลับ พนักงานตามบาร คนขับรถแท็กซี่ เจาของและลูกจางสถานบริการทั่วไป บุคคลพนโทษ
หรือผูที่คุนเคยกัน เปนตน
อาจกลาวไดวา ปจจัยที่ผูสืบสวนตองมีนั้น เทาที่ปรากฏมาแลว “ขาว” นับวาเปน
ปจจัยที่สําคัญที่สุด เพราะสามารถเปดโฉมหนาคดีนั้นไดวาใครเปนผูกระทําผิด ในการที่จะทราบ
วาเปนผูกระทําผิด หรือผูกระทําผิดมีสาเหตุอันใดในการกระทําผิดครั้งนี้ ก็โดยสอบถามจากผูรูเห็น
หรือผูที่ไมประสงคจะออกนาม ซึ่งเปนผลใหตั้งแนวทางในการสืบสวนสอบสวนไดตรงเปาหมาย
แตบางครั้งอาจเปนเท็จไดเชนเดียวกัน ดังนั้นประการสําคัญก็คือจะตองมีการสอบสวนแลววามี
ขอเท็จจริงเชนนั้นอยูจริง โดยมีคําพยานบุคคลบอกกลาวหรือใหขาวเชนนั้น มีตัวตนปรากฏมิใช
เลื่อนลอยหรือสันนิษฐานเสริมตอเอาเอง สวนขอเท็จจริงเชนวานั้นจะเปนจริง ทั้งหมดตามคําพยานที่
บอกกลาวหรือใหขาวหรือไมนั้น เปนอีกเรื่องหนึ่งที่จะตองพิสูจนตอไป
2. การซักถาม (Interrogation)
การซักถามหรือสอบถามปากคํา หมายถึง การสอบสวนปากคําพยานและผูตอง
สงสัยอยางชํานาญ เพราะมิใชการซักถามธรรมดา เนื่องจากพยานหรือผูตองสงสัยนั้นปกติมักไม
พูดความจริง โดยเฉพาะอยางยิ่งผูตองสงสัยควรจะนึกเสมอวา พนักงานสอบสวนมิใชเปนเพียงผู
ซักถามเทานั้น ความสําเร็จในการที่จะไดขอเท็จจริงหรือขาวคราวนั้นขึ้นอยูกับความเฉลียวฉลาด
ในการเลือกแหลงขาว และการสอบสวนปากคําจะไดผลเพียงใดนั้นขึ้นอยูกับความมีเหตุผลของ
พนักงานสอบสวน และความเขาใจอยางถองแทในการใชหลักจิตวิทยาที่พนักงานสอบสวนใช
สอบถามผูรูเห็นดวย พึงระลึกอยูเสมอวาผูกระทําผิดนั้นในขณะซักถามจากตํารวจจะมีความ
หวาดกลัว และพยายามที่จะหาที่พึ่งทางใจโดยการระบายกับเพื่อนมนุษยหรือเพื่อนผูตองหา
ดวยกัน ในการสอบสวนซักถามปากคําเปนการใชสมองและสติปญญาระหวางพนักงานสอบสวนผู
ซักถามกับผูถูกซักถามนั้น ดังนั้นพนักงานสอบสวนผูซักถามจะตองเปนผูฉับไวและฉวยโอกาสทันที
เมื่อคูตอสูเปดชองโหวหรือแสดงความออนแอใหเห็น
3. เครื่องมือชวย (Instrumentation)
หมายถึง การใชเครื่องมือและวิธีการทางวิทยาศาสตร เปนเครื่องมือชวยในการ
สืบสวนอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถแยกออกไดเปน 2 ประการ คือ
19

- เครื่องมือชวยในการตรวจพิสูจน เชน การตรวจพิสูจนอาวุธปน และกระสุน


รองรอยท ายปลอกกระสุน การตรวจเปรียบลายมือในเอกสาร การตรวจเขม าดินป น (Atomic
Absorption & Neutron Activation) เปนตน
- เครื่ อ งมื อ ช ว ยอย า งอื่ น อั น มิ ใ ช ก ารตรวจพิ สู จ น เช น การตรวจลายพิ ม พ
ลายนิ้วมือ แผนประทุษกรรมของคนราย เครื่องจับเท็จ ระบบการสื่อสาร ยานพาหนะ เครื่องเอกซเรย
เครื่องตรวจโลหะ เครื่องคอมพิวเตอร รวมทั้งสุนัขตํารวจ เปนตน
วัตถุประสงคของการสืบสวน (ชนสิษฐ ธนพัฒนากุล, 2540)
จากความหมายของการสืบสวน ซึ่งเปนการแสวงหาขอเท็จจริงและหลักฐานนั้น
มีวัตถุประสงคสําคัญอยู 2 ประการ คือ
1. การแสวงหาขอเท็จจริงและพยานหลักฐาน
เป น การสื บ สวนก อ นที่ จ ะมี ก ารกระทํ า ความผิ ด เกิ ด ขึ้ น เพื่ อ ประโยชน ใ นการ
ปองกัน หรือเปนแนวทางสําหรับการแสวงหาขอเท็จจริงและหลักฐานเมื่อมีการกระทําความผิดทาง
อาญาเกิดขึ้ น ปจจัย อั น เปน ข อมูลสํ า คัญ ในการแสวงหาขอ เท็จจริง และหลัก ฐานสํา หรั บ วาง
แนวทางในการปองกันมิใหกระทําความผิดเกิดขึ้น ซึ่งผูมีหนาที่ในการสืบสวนควรรู ไดแก
1.1 ความรูทั่วไปในทองที่ ซึ่งไดแก ภูมิประเทศ สถานที่ สิ่งของตาง ๆ ตลอดจน
บุคคลที่อยูในทองที่รับผิดชอบ และสามารถนํามาประมวลเปนขอเท็จจริงไดอยางถูกตอง
1.2 ความรู เ กี่ ย วกั บ ประวั ติ อ าชญากรหรื อ บุ ค คลผู มี พ ฤติ ก ารณ โ น ม เอี ย งไป
ในทางผิดกฎหมาย เชน ผูที่เคยตองโทษ บุคคลติดยาเสพติด บุคคลไมมีอาชีพเปนหลักแหลง
บุคคลประพฤติตนเปนอันธพาล เปนตน
1.3 ความรูเกี่ยวกับแหลงขาวตาง ๆ เชน รานเสริมสวย รานตัดผม รานกาแฟ
รานถายรูป ไนตคลับ และสถานที่พักผอนหยอนใจตาง ๆ
2. การแสวงหาขอเท็จจริงและหลักฐานเพื่อที่จะทราบรายละเอียดแหงความผิด
เปนการสืบสวนหลังจากมีการกระทําความผิดเกิดขึ้น ซึ่งแบงได 3 ประการ ดังนี้
2.1 ในกรณีที่จับกุมตัวผูกระทําความผิดได การสืบสวนดังกลาวนี้จะเปนการ
สืบสวนเพื่อ แสวงหาหลักฐานตาง ๆ จากพยานบุคคล พยานเอกสาร และวัตถุพยาน เพื่อนํามา
พิสูจนความผิดของผูตองหาในขั้นสอบสวน
2.2 ในกรณีที่รูตัว ผูกระทําความผิด แต ยัง จับตัวไมได การสืบสวนดังกลา วนี้
นอกจากจะ เปนการสืบสวนเพื่อแสวงหาขอเท็จจริงและหลักฐานเกี่ยวกับรายละเอียดแหง
ความผิดแลว ยังตองทําการสืบสวนเพื่อจับกุมผูกระทําความผิดดวย
20

2.3 ในกรณีที่ ไม ท ราบตัว ผู ก ระทํา ความผิด และยังไมทราบรายละเอียดแหง


ความผิด การสืบสวนในลักษณะนี้จะตองทําการสืบสวนแสวงหาขอเท็จจริงและหลักฐานให ได
รายละเอียดวาใครเปนผูกระทําความผิด กระทําความผิดอะไร กระทําความผิด เมื่อใด กระทําความผิด
ที่ไหน ทําไมจึงกระทําความผิด และกระทําความผิดได อยางไร
ขั้นตอนการสืบสวน (ชนสิษฐ ธนพัฒนากุล, 2540)
ในจุดมุงหมายของการสืบสวน มีอยู 3 ประการ คือ
1. การรูหรือระบุตัวผูกระทําผิด
2. การติดตามสืบสวนจนกระทั่งรูวาผูกระทําผิดไดหลบหนีไปอยูที่ใดแลวจับกุม
3. การรวบรวมขอเท็จจริงและพยานหลักฐานตาง ๆ เพื่อนําสูศาล
ซึ่งตํารวจสืบสวนมีขั้นตอนในการสืบสวน เพื่อใหบรรลุจุดมุงหมายของการสืบสวน
ดังนี้
1. การระบุตัวผูกระทําผิด (Identifying The Criminal)
เริ่มจากการสืบสวนสอบสวน เพื่อใหรูวาผูใดเปนผูประกอบอาชญากรรมนั้น หรือ
เปนผูกระทําผิดในคดีนั้น ซึ่งพนักงานสอบสวนจะรูไดจาก
1.1 พยานบุคคล หรือประจักษพยาน (Eyewitness)
คื อ พยานที่ รู จั ก ตั ว รู ป ร า งหน า ตา ของผู ถู ก กล า วหาหรื อ ผู ที่ พ บเห็ น
เหตุการณดวยตนเอง ซึ่งพยานประเภทนี้จะมีน้ําหนักมากในการพิจารณาของศาล
1.2 คําสารภาพของผูตองหา (Confession)
เป น ความมุ ง หมายสํ า คั ญ ของการสื บ สวนที่ พ นัก งานสอบสวนพยายาม
เพื่อใหไดมาซึ่งคําสารภาพที่แทจริงของผูตองหา
1.3 พยานแวดลอม (Circumstantial Evidence)
ผูกระทําผิดอาจถูกระบุไดทางออม โดยใชขอเท็จจริง หรือเหตุแวดลอมกรณี
ซึ่งจะเปนสิ่งเดียว หรือเชื่อมโยงกับขอเท็จจริงอื่น ๆ ก็ตาม ทําใหสามารถโยงไปถึงตัวผูกระทําผิด
นั้นได
2. การติดตามและการรูที่หลบซอนของผูกระทําผิด (Tracing and Locating
the Criminal) เปนขั้นตอนของการสืบสวนที่เกี่ยวกับการติดตามสอบสวน จนกระทั่งรูวาผูกระทํา
ผิดนั้นหลบหนีไปอยูที่ใด เพื่อจับกุมตอไป การที่จะรูถึงที่หลบซอนของผูกระทําผิดก็จําเปนที่จะตอง
รูถึงอาชีพ การทํางาน ประเภทของคดี ลักษณะนิสัยเปนสวนประกอบดวย
21

3. การพิสูจนความผิด (Proving the Guilt)


หมายถึง การสืบสวนหาพยานหลักฐานมาประกอบสํานวนการสอบสวน เพื่อนํา
คดีสูศาล เพื่อพิสูจนความผิดของผูถูกกลาวหา อยางมีประสิทธิภาพและศาลลงโทษผูกระทําผิด
นั้น ดังที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 227 ไดบัญญัติวา
ให ศาลใช ดุ ลยพินิจวินิจฉัยชั่ง น้ํ าหนัก พยานหลัก ฐานทั้ งปวง อยาพิ พ ากษาโทษ
จนกวาจะแนใจวามีการกระทําผิดจริงและจําเลยเปนผูกระทําผิดนั้น
เมื่อมีความสงสัยตามสมควรวา จําเลยไดกระทําผิดหรือไม ใหยกประโยชนแหง
ความสงสัยนั้นใหจําเลย
จะเห็นไดวา แมตํารวจสืบสวนจะจับกุมผูตองหาไดมากเพียงใด หากแตพยานหลักฐานซึ่ง
จําเปนในคดี มีไมเพียงพอที่จะใหศาลเชื่อวาจําเลยกระทําผิดจริง หากมีเหตุสงสัยในพยานหลักฐาน
ดังกลาว ศาลยอมยกฟอง ซึ่งสวนหนึ่งถือวาเปนขอบกพรองของตํารวจสืบสวนในการคนหาความจริง
นอกจากนี้ยังสามารถแบงขั้นตอนของการสืบสวนไดเปน 2 สวนหลัก คือ
1. การสืบสวนเบื้องตน (Primary Investigation)
เมื่ อ เจ า หน า ที่ ตํ า รวจไปถึ ง ที่ เ กิด เหตุ แ ล ว ควรจะต อ งรี บ ดํ า เนิ น การสิ่ง สํ า คั ญ
5 ประการ คือ
- ดําเนินการจับกุมผูกระทําผิดหรือผูตองสงสัยทันที
- ใหความชวยเหลือ รักษาพยาบาลผูบาดเจ็บ หรือเหยื่ออาชญากรรมโดยทันที
- ควบคุ มจํ ากั ดเขตการรุ กล้ํ าเข ามาภายในบริ เวณที่ เกิ ดเหตุ จากบุ คคลที่ ไม
เกี่ยวของ เพื่อปองกันการเคลื่อนยาย ทําลาย หรือความเสียหายของวัตถุพยานตาง ๆ
- จัดเก็บรวบรวมทุกสิ่งทุกอยาง อันอาจใชเปนวัตถุพยานหลักฐานที่จะอธิบาย
รายละเอียดแหงการเกิดอาชญากรรมใหไดมากที่สุด
- การเริ่มจัดทําเปนรายงาน หรือสํานวนประกอบการปฏิบัติการในแตละครั้งอยาง
เปนระเบียบเรียบรอยและถูกตอง
2. การสืบสวนตอเนื่อง (The Follow-up Investigation)
อันเปนลักษณะของการปฏิบัติการตอเนื่องจากการสืบสวนเบื้องตน โดยจะมี
ขั้นตอนการดําเนินการ 6 ขั้นตอน คือ
- การสอบปากคําผูกระทําผิดหรือผูตองสงสัย ถาสามารถจับกุมไดในสถานที่
เกิดเหตุมาแลว
- การสอบถามพยานรูเห็นเหตุการณ
22

- การคนหาสํารวจตรวจสถานที่เกิดเหตุ เพื่อหาวัตถุพยานหลักฐานเพิ่มเติม ซึ่ง


อาจตองอาศัยความรวมมือจากผูเชี่ยวชาญดานวิทยาการตํารวจ
- การทดลองทบทวนทําแผนประทุษกรรม เพื่อประกอบการอธิบายเรื่องราวการ
เกิดของอาชญากรรม โดยอาศัยจากการสืบสวนเบื้องตน และประสบการณที่ไดมาจากการเกิด
อาชญากรรมที่คลายคลึงกัน
- คนควาหาขอมูลที่เกี่ยวของกับอาชญากรรมจากแหลงขอมูลตํารวจเพื่อสนเทศ
ขอมูลประกอบการสืบสวน เพื่อหารายละเอียดของการกระทําผิด และเพื่อรูตัวคนรายที่แทจริง
ตลอดจนเพื่อหารายละเอียดเกี่ยวกับเหยื่อและแรงจูงใจในการกระทําผิด
การสืบสวนโดยใชสายลับ เปนการหาขอมูลจากกลุมบุคคลธรรมดาในสังคม เชน
คนขับรถรับจาง พนักงานเสริฟ เจาหนาที่รักษาความปลอดภัย หรืออาจจะเปนพลเมืองดีอื่น ๆ ที่
ใหขาวดวยความเต็มใจ อาจมีการตอบแทนสายลับเปนเงินก็ได ซึ่งสายลับมีอยู 2 ประเภท คือ
(ชนสิษฐ ธนพัฒนากุล, 2540)
1. สายลับโดยทั่วไป คือ บุคคลใด ๆ ที่ใหขาวตอพนักงานสอบสวน ซึ่งอาจจะใหขาว
โดยเปดเผยหรือแมกระทั่งเปนพยานในคดี หรืออาจใหขาวโดยปดบังซอนเรน และไมประสงคจะ
ออกนาม
2. สายลับโดยปกปด คือ บุคคลที่ใหขาวอันปกปดเกี่ยวกับคดีที่อยูในระหวางการ
สอบสวนและคดีที่คนรายกําลังวางแผนกันอยู โดยไมประสงคที่จะเปดเผยตนวาเปนแหลงขาว
พนักงานสอบสวนจะตองใชความระมัดระวังเปนพิเศษในการที่จะปองกันมิใหโฉมหนาของสายลับ
ผูนั้นเปดเผยออกมา เนื่องจากคุณคาของสายลับผูนั้นจะหมดไปทันที
ประเภทของการสืบสวน
การสืบสวนสอบสวนที่ถือเปนหลักมาตรฐานทั้งในแงปฏิบัติและทฤษฎี สามารถแบง
ออกเปน 2 ลักษณะใหญ ๆ คือ (ชนสิษฐ ธนพัฒนากุล, 2540)
1. การสืบสวนสอบสวนเบื้องตน
การสืบสวนสอบสวนเบื้องตนในสาระสําคัญ ประกอบดวย การตรวจคนสถานที่
เกิดเหตุโดยฉับพลันเรงดวน (A Hot Search) กับการตรวจคนบริเวณใกลเคียงสถานที่เกิดเหตุ
อยางละเอียดครอบคลุมประเด็นสงสัยเพิ่มเติม เพื่อเสาะหาขอเท็จจริง สืบเนื่องตอจากการตรวจ
คนแบบฉับพลันเรงดวนในขั้นแรก จึงเรียกชื่อตามความหมายในภาษาอังกฤษวา การตรวจคนอัน
อบอุน (A Warm Search) ฉะนั้น เมื่อมีคดีอาญาเกิดขึ้นจึงเปนหนาที่ความรับผิดชอบสําคัญ
พื้นฐานของตํารวจ ที่ตองไปปรากฏตัวในที่เกิดเหตุในทันทีทันใด เพื่อประโยชนตอการสอบถามให
ไดมาซึ่งขอเท็จจริง หรือการจับกุมบุคคลผูกระทําผิด สาระสําคัญแหงการสืบสวนสอบสวนเบื้องตน
23

จะตองสอบใหทราบวา การกระทําผิดที่เกิดขึ้น มีใครเปนผูรกระทําผิด (Who) มีอะไรเกิดขึ้น


(What) ณ สถานที่แหงใด (Where) ทําไมจึงเกิดเหตุ (Why) และในลักษณะอาการอยางใด (How)
ทั้ ง นี้ เ พื่ อ พิ ทั ก ษ ค วามบริ สุ ท ธิ์ ยุ ติ ธ รรม ในอั น ที่ จ ะทํ า การจั บ กุ ม เฉพาะผู ก ระทํ า ผิ ด แท จ ริ ง มา
ดําเนินคดีเทานั้น นับเปนการปฏิบัติที่สอดคลองสมานฉันทกับหลักมูลฐานที่กําหนดโดยหนวยงาน
สืบสวนสกอตแลนดยารด ที่วา “การปลอยใหผูกระทําความผิด 10 คน หลบหนี ยังจะดีเสียกวา
การกลาวหาอันเปนเท็จ ในคดีอาญาแกผบู ริสุทธิ์เพียงคนเดียว” (It is far better to let ten guilty
persons escape than one innocent person should be falsely accused)
การปฏิบัติหนาที่สืบสวนสอบสวนเบื้องตน เสาะหาขอเท็จจริงแหงคดีที่สมบูรณ
นั้นจําเปนตองไดรับการสนับสนุนจากตํารวจหนวยตรวจตราทองที่ ซึ่งเปนตํารวจที่ปฏิบัติหนาที่อยู
ใกลชิดกับผูกระทําผิดมากที่สดุ รวมทั้งหนวยสืบสวนและหนวยพิสูจนหลักฐาน สําหรับการบันทึก
ขอความเกี่ยวเนื่องที่สืบสวนไดมานั้น ควรประกอบดวย การระบุประเภทแหงความผิด การสอบปากคํา
ผูเสียหาย พยานบุคคลในที่เกิดเหตุ บันทึกลักษณะรูปพรรณของผูตองสงสัยในคดีอาญา ทรัพยสิน
ที่สูญหาย สถานที่เกิดเหตุ การปองกันรักษารองรอยสภาพเดิมของสถานที่เกิดเหตุ การรวบรวมบันทึก
ขอมูลแหงคดี การจับกุม หรือประกาศจับกุมผูกระทําผิด
ทั้งนี้ นักวิทยาการสืบสวนสอบสวน พอล บี.เวสตัน และเคนเนธ เอ็ม.เวลส ไดให
ความเปนเพิ่มเติมวา ประจักษพยานสําคัญ 7 ประการ ที่มักจะพบเห็นในที่เกิดเหตุ อันเปน
ประโยชนอยางยิ่งตอการสืบสวนสอบสวน มีดังนี้
1. อาวุธ
2. คราบโลหิต
3. อุปกรณ เครื่องมือเครื่องใชในการกระทํา
4. รองรอยทางเขาออกของคนราย หรือยานพาหนะ
5. ฝุน และรอยเปอนตาง ๆ
6. เอกสารเกี่ยวเนื่องอันควรสงสัย
7. ลักษณะของการกลบรองรอยหรือการเคลื่อนยายประจักษพยานหลักฐานอืน่
โดยกลาววา ควรไดภาพถาย หรือภาพจําลองสถานที่เกิดเหตุ ไวเปนหลักฐานใน
การดําเนินคดีดวย
2. การสืบสวนตอเนื่อง
การสืบ สวนต อ เนื่ อง เปน กระบวนการปฏิ บัติ สืบตอ จากการสืบสวนสอบสวน
เบื้องตน เพื่อประโยชนในการเสาะหารองรอย ขอเท็จจริงหรือเงื่อนงําประจักษพยานหลักฐานของ
อาชญากรรม และขอสงสัยที่เกี่ยวของอยางใกลชิด โดยพนักงานสืบสวนสอบสวน หรือนักสืบ จน
24

สามารถทําการจับผูกระทําผิดแทจริงไดในที่สุด ซึ่งนับเปนกระบวนการปฏิบัติวาดวยการตรวจคน
เพิ่มเติมภายหลังจากการตรวจคนแบบฉับพลันเรงดวน (A Hot Search) และการตรวจคนอัน
อบอุน (A Warm Search) มาแลว ทั้งยังเปนการใชความถี่ถวนรอบคอบศึกษาวิเคราะหขอมูล
อาชญากรรมอยางละเอียดละออทุกแงทกุ มุม โดยเจาหนาที่หลายฝาย จึงเรียกชื่อตามความหมาย
เดิมในภาษาอังกฤษวา การตรวจคนอันเยือกเย็น (A Cold Search) ประกอบดวย หลักการปฏิบัติ
ที่สําคัญ ดังนี้
2.1 ดําเนินการสืบสวนสอบสวนตอเนื่อง จากการสืบสวนเบื้องตนเพื่อนําไปสู
ขอมูลที่เกี่ยวของกับการกระทําผิด รวมทั้งการจับกุมผูกระทําผิด และผูมีสวนเกี่ยวของพัวพันกับ
การกระทําผิด
2.2 ดําเนินการสืบสวนสอบสวน เพื่อใหทราบถึง แผนการประกอบอาชญากรรม
ของผูกระทําผิดโดยละเอียด
2.3 ดําเนินการตรวจสอบวิเคราะหขาวสาร และประจักษพยานหลักฐานสําคัญ
เพื่อประโยชนในการดําเนินคดี
2.4 ดําเนินการตรวจสอบ และตรวจตราสถานที่อันควรสงสัย อาทิ สถานเริงรมย
โรงแรม โรงรับจํานํา รานจําหนายหรือรับซื้อสินคาที่ใชแลว รวมทั้งการเสาะหาทรัพยสินที่สูญหาย
หรือถูกโจรกรรม
2.5 ดําเนินการสืบเสาะคนหาพยานบุคคล สนทนาไถถามพยานบุคคล หรือทบทวน
ไถถามเพิ่มเติม ตามความจําเปนแหงคดี
2.6 ดํ า เนิ น การคุ ม ครองพยานบุ ค คลหรื อ วั ต ถุ อื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ คดี ให
ปลอดภัยจากการถูกทําราย หรือขูเข็น และรักษาความลับของพยาน อยางเขมงวดกวดขัน
2.7 ดําเนินการตรวจสอบ ประเมินขอเท็จจริงจากรายงานและประจักษพยานหลักฐาน
ตาง ๆ ซึ่งจําตองขอความรวมมือประสานการปฏิบัติจากหนวยวิทยาการตํารวจอยางใกลชิด
2.8 ดําเนินการจับ หรือประกาศจับกุมผูกระทําผิด ผูสนับสนุน หรือผูสมรูรวมคิด
2.9 ดํ า เนิ น การติ ด ตาม สื บ เสาะ ตรวจสอบพฤติ ก รรมของผู ต อ งสงสั ย และ
สอบถามปากคําผูตองสงสัย รวมทั้งดําเนินการทดสอบขอเท็จจริงที่ไดจากการสอบถามปากคําสั้น ๆ โดย
ใชเครื่องมือจับเท็จ (Lie Detector Testing) ชวยในการทดสอบตามความจําเปนดวยก็ได
2.10 ดํ า เนิ น การจั ด ทํ า สํ า นวนการสอบสวนโดยพนั ก งานสอบสวน หรื อ ร ว ม
ปรึกษาหารือการฟองรองคดีกับอัยการ
หลักสําคัญในการแบงประเภทของการสืบสวนสอบสวนดังกลาว เปนกระบวนการ
ปฏิบัติเบื้องตนแหงการจับกุมผูกระทําผิดของเจาหนาที่ตํารวจ (The Police Apprehensive
25

Processes) ที่จะกาวไปสูเปาหมายการสืบสาวราวเรื่องไปจนถึงตนเหตุแหงการกระทําผิดหรือ
บุคคลผูกระทําความผิดนั้น ๆ เสร็จแลว เปนขั้นตอนแหงการรวบรวมการสอบสวนเขาสํานวน และ
ทําความเห็นของพนักงานสอบสวน ใหพนักงานอัยการเพื่อฟองรองดําเนินคดีแกผูกระทําผิดตอไป
โดยมีหลักการปฏิบัติตอเนื่อง เริ่มตั้งแตการสืบสวนสอบสวนไปจนถึงการฟองรองดําเนินคดี ซึ่ง
กระบวนการปฏิบัติในทุกขั้นตอนจะตองดําเนินการภายใตกฎหมายและระเบียบขอบังคับแหงหลัก
นิติธรรมโดยเครงครัด เริ่มตั้งแต การกวดขันเอาใจใส ติดตามผลการรับแจงความ การดําเนินการ
ตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุอยางพินิจพิเคราะห การประมวลประจักษพยานบุคคลและหลักฐาน
ขอเท็จจริงที่จะนํามาสูสํานวนการสอบสวน
1. โดยพยานหลักฐาน
2. โดยขอสันนิษฐาน
3. โดยผูสอบสวน หรือผูพิจารณารับรูเอง
4. โดยผูสอบสวน หรือผูพิจารณาตรวจเห็นเอง
5. โดยผูถูกกลาวหารับ
พยานหลักฐาน หมายถึง สิ่งที่แสดงใหเห็นอยางมีเหตุผลถึงความถูกตองหรือไม
ถูกตองของเหตุการณ ซึ่งไดแก
1. พยานเอกสาร หมายถึง พยานหลักฐานที่มีการบันทึกไวเปนลายลักษณอักษร
หรือดวยรูปรอยใด ๆ อันเปนการสื่อความหมายในภาษาใดภาษาหนึ่ง
2. พยานวัตถุ หมายถึง วัตถุสิ่งของที่คูความอางเปนพยานหลักฐาน
3. พยานบุคคล ประกอบดวย พยานบุคคลประเภทตาง ๆ ดังนี้
3.1 พยานโดยตรง
3.2 พยานแวดลอมกรณี
3.3 ประจักษพยาน
3.4 พยานบอกเลาพยานนํา
3.5 พยานหมาย
3.6 พยานประเด็น
3.7 พยานที่ตองเดินเผชิญสืบ
3.8 พยานที่มีเอกสิทธิ์
3.9 พยานเด็ก
3.10 พยานซัดทอด
3.11 พยานที่เปนผูรวมกระทําผิด
26

3.12 พยานจําเลย
3.13 พยานเดี่ยว
3.14 พยานคู
3.15 ผูเชี่ยวชาญ
3.16 ผูมีความรูเชี่ยวชาญ
3.17 ผูชํานาญการพิเศษ
การชั่งน้ําหนักพยานหลักฐาน เปนขั้นตอนของการวินิจฉัยขอเท็จจริงที่โตแยงกัน
ดวยพยานหลักฐาน ดังนั้น เมื่อใดที่เปนดุลพินิจของศาลในการวินิจฉัยพยานหลักฐานยอมถือวา
เปนเรื่องที่ศาลวินิจฉัยปญหาขอเท็จจริง จึงสรุปไดวา ปญหาขอเท็จจริงเปนปญหาที่จะตองวินิจฉัย
จากพยานหลักฐาน
หลักการชั่งน้ําหนักพยานบุคคล ความนาเชื่อถือของคําเบิกความของพยานบุคคล
ที่เบิกความตอศาล 1. การทดสอบความมั่นคง 2. การชั่งน้ําหนักความนาเชื่อถือ
ปญหาบางประการในการชั่งน้ําหนักพยานบุคคล
1.พยานโดยตรงกับพยานแวดลอม
2. ประจักษพยานกับพยานบอกเลา
3. พยานบุคคลที่มีน้ําหนักนอย ไดแก
- พยานบอกเลา
- คําซัดทอด
- พยานที่โจทกกันไว
- พยานบุคคลที่เบิกความไมครบกระบวนการซักถาม
- คําใหการของพยานบุคคลที่ไมไดมาเบิกความในชั้นศาล
การซักถามลักษณะของผูซักถาม ไดแก
1. มีความรูรอบตัวกวางขวาง
2. ตื่นตัว เตรียมพรอมอยูเสมอ
3. มีความเพียร
4. ซื่อตรงตอหนาที่
5. มีเหตุผล มีตรรกวิทยาในการฟง
6. มีความสังเกตไดดี
7. สามารถบังคับตนเองไดทั้งกาย วาจา ใจ
8. สามารถแสดงตัวอยางไรก็ได
27

ปญหาอุปสรรคในการสืบสวนสอบสวน
1. อํานาจในการสืบสวนสอบสวน
2. ใหความรวมมือของพยานบุคคล หรือหนวยงาน
3. เอกสารที่สูญหายหรือถูกทําลาย

1.4 สิทธิผูตองหาในกระบวนการจับกุมคดีอาญา

กระบวนการพิ จ ารณาความอาญาของไทยในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา และสมั ย กรุ ง


รัตนโกสินทรตอนตนมิไดใหความสําคัญในการประกันสิทธิของผูตองหา จําเลยและผูตองโทษใน
คดีอาญา ทั้งนี้เพราะแนวคิดในการคนหาความจริงยังมิไดคิดวาผูถูกกลาวหาในคดีอาญาอยูใน
ฐานะของประธานในคดี (Subject) แตมีกฎหมายจารีตนครบาล ซึ่งใชการคนหาความจริงโดย
บังคับใหผูตองหาใหการรับสารภาพ หากไมยอมรับก็จะใชวิธีการทรมานรางกายตาง ๆ จนกวาจะ
ยอมรับ ซึ่ง ถือได วาเปน วิธี การที่ไม มีมนุ ษยธรรม และเปน การคนหาความจริงซึ่ งไมอาจไดรับ
ขอเท็จจริงที่ถูกตอง นอกจากนี้ยังเปนการคนหาความจริงจากตัวผูถูกกลาวหาแทนที่รัฐจะหา
พยานรอบขางมาปรักปรํา ดังนั้นเมื่อมีการปฏิรูปกฎหมายในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
เจาอยูหัวจึงไดแกไขกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ตามแนวของประเทศในยุโรปเพื่อใหเปนที่
ยอมรั บ ของชาวต า งชาติ ใ ห ค นในบั ง คั บ ของเขาต อ งขึ้ น ศาลไทยและใช ก ฎหมายไทย จึ ง ได
ประกาศใชพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาความอาญาที่มีโทษสําหรับใชไปพลางกอน ร.ศ.115 ซึ่งมี
หลักประกันสิทธิของผูถูกกลาวหา ซึ่งทัดเทียมอารยประเทศในขณะนั้น ตอมาอีก 40 ป จึงไดใช
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา โดยมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2478 และมีการ
ปรับปรุงแกไขอีกหลายครั้งจนถึงปจจุบัน ซึ่งการแกไขนี้เปนไปเพื่อพยายามจะประกันสิทธิของผูถูก
กลาวหาใหทัดเทียมกับมาตรฐานสากล
เนื่องดวยการดําเนินคดีอาญานั้น มีความจําเปนตองลวงละเมิดสิทธิเสรีภาพของ
บุคคลในบางเรื่องเพื่อใหไดมาซึ่งพยานหลักฐาน อันจะนําไปสูการพิสูจนความผิดของผูถ กู กลาวหา
ดังนั้นในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยหลายฉบับไดมีบทบัญญัติรับรองสิทธิของผูถูกกลาวหา
ไว และสําหรับในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ในปจจุบัน ไดมีบทบัญญัติ
ที่ รั บ รองสิ ท ธิ ข องผู ถู ก จั บ ผู ต อ งหา จํ า เลย ผู เ สี ย หาย และพยานไว ซึ่ ง อาจกล า วได ว า เป น
รัฐธรรมนูญที่ใหหลักประกันสิทธิของประชาชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญามากที่สุดฉบับ
หนึ่งของประเทศไทย และผลของการที่รัฐธรรมนูญบัญญัติรับรองสิทธิของประชาชนไวนี้ ทําให
รัฐสภามีหนาที่ตรากฎหมายออกมาบังคับใหเปนไปตามที่รัฐธรรมนูญกําหนด ซึ่งในบางกรณีตอง
28

แกไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาใหสอดคลองกับหลักประกันดังกลาว และผูบังคับ
ใชกฎหมายจะตองถือเปนหลักปฏิบัติใหสอดคลองกับหลักประกันสิทธิที่ไดรับรองไว
บทบั ญ ญั ติ ใ นรัฐ ธรรมนู ญ ฉบั บป จ จุบั น ที่รั บ รองสิ ท ธิเ สรี ภ าพของผูถู ก กล า วหาที่
เกี่ยวของกับการจับกุมคดีอาญา มีดังนี้

มาตรา บทบัญญัติ
มาตรา 31 บุคคลยอมมีสิทธิเสรีภาพในชีวิตและรางกาย
การทรมาน ทารุณกรรม หรือการลงโทษดวยวิธีการโหดรายหรือไรมนุษยธรรม
จะกระทํามิได แตการลงโทษประหารชีวิตตามที่กฎหมายบัญญัติ ไมถือวาเปน
การลงโทษดวยวิธีการที่โหดรายหรือไรมนุษยธรรมตามความในวรรคนี้
การจับ คุมขัง ตรวจคนตัวบุคคล หรือการกระทําใดอันกระทบตอสิทธิ และ
เสรีภาพตามวรรคหนึ่ง จะกระทํามิไดเวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติ
แหงกฎหมาย
มาตรา 33 ในคดีอาญา ตองสันนิษฐานไวกอนวาผูตองหาหรือจําเลยไมมีความผิด
กอนมีคําพิพากษาอันถึงที่สุดแสดงวาบุคคลใดไดกระทําความผิดจะปฏิบัติตอ
บุคคลนั้นเสมือนเปนผูกระทําผิดมิได
มาตรา 35 บุคคลยอมมีเสรีภาพในเคหสถาน
บุคคลยอมไดรับความคุมครองในการที่จะอยูอาศัยและครอบครองเคหสถาน
โดยปกติ สุ ข การเข า ไปในเคหสถานโดยปราศจากความยิ น ยอมของผู
ครอบครอง หรือการตรวจคนเคหสถานจะกระทํามิได เวนแตอาศัยอํานาจตาม
บทบัญญัติแหงกฎหมาย
มาตรา 35 รัฐตองดูแลใหมีการปฏิบัติตามกฎหมาย คุมครองสิทธิเสรีภาพของบุคคล จัด
วรรคแรก ระบบงานของกระบวนการยุ ติ ธ รรมให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและอํ า นวยความ
ยุ ติ ธ รรมแก ป ระชาชนอย า งรวดเร็ ว และเท า เที ย มกั น รวมทั้ ง จั ด ระบบงาน
ราชการและงานของรัฐอยางอื่นใหมีประสิทธิภาพเพื่อตอบสนองความตองการ
ของประชาชน
มาตรา 237 ในคดีอาญา การจับและคุม ขัง บุคคลใด จะกระทํา มิได เวน แตมี คํา สั่งหรื อ
หมายของศาล หรือผูนั้นไดกระทําความผิดซึ่งหนา หรือมีเหตุจําเปนอยางอื่น
ใหจับไดโดยไมมีหมายตามที่กฎหมายบัญญัติ โดยผูถูกจับจะตองไดรับการ
29

มาตรา บทบัญญัติ
แจงขอกล าวหาและรายละเอียดแหงการจับ โดยไมชัก ชา กับจะตองไดรับ
โอกาสแจงใหญาติหรือผูซึ่งถูกจับไววางใจทราบในโอกาสแรก และผูถูกจับซึ่ง
ยังถูกควบคุมอยู ตองถูกนําตัวไปศาลภายในสี่สิบแปดชั่วโมงนับแตเวลาที่ผูถูก
จับถูกนําตัวไปถึงที่ทําการของพนักงานสอบสวน เพื่อศาลพิจารณาวามีเหตุที่
จะขังผูถูกจับไวตามกฎหมายหรือไม เวนแตมีเหตุสุดวิสัยหรือเหตุจําเปนอยาง
อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ
หมายจับหรือหมายขังบุคคลจะออกไดตอเมื่อ
(1) มีหลักฐานตามสมควรวาผูนั้นนาจะไดกระทําความผิดอาญารายแรงที่มี
อัตราโทษตามที่กฎหมายบัญญัติ หรือ
(2) มีหลักฐานตามสมควรวาผูนั้นนาจะไดกระทําความผิดอาญา และมีเหตุ
อันควรเชื่อวาผูนั้นจะหลบหนีหรือจะไปยุงเหยิงกับพยานหลักฐาน หรือกอ
เหตุอันตรายประการ
ที่มา: หลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เลม 1

1.5. สิทธิผูตองหาในกระบวนการคนและจับกุมในประเทศสหรัฐอเมริกา
(อางถึงใน สุรศิษฎ เหลืองอรัญนภา, 2551)

ในประเทศสหรัฐอเมริกา หลักประกันที่สําคัญที่สุดในการรคุมครองสิทธิผูตองหาและ
จําเลย คือ กฎหมายรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะบรรดาบทบัญญัติแกไขเพิ่มเติม
(Amendments) มาตรา 1-10 ซึ่งเปนที่รูจักกันดีในชื่อวา Bill of Rights การที่รัฐธรรมนูญซึ่งเปน
รัฐธรรมนูญของสหพันธรัฐ (Federal Constitution) สามารถเขาไปมีบทบาทในการใหหลักประกัน
แกผูตองหาและจําเลยในคดีอาญาในแตละขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรมของทุก ๆ มลรัฐนั้นก็
เนื่องจาก ศาลสูงสุดของสหรัฐอเมริกา (U.S. Supreme Court) ซึ่งเปนองคกรที่มีอํานาจตีความ
รัฐธรรมนูญ เลนบทนําในการที่จะตีความรัฐธรรมนูญในลักษณะที่เปนการขยายความใหเขาไป
คุมครองสิทธิของผูตองหาและจําเลยอยางแทจริง และในขณะเดียวกันก็เปนการกําหนดมาตรฐาน
ขั้นต่ําใหกับเจาหนาที่ทั้งหลายที่เกี่ยวของในกระบวนการยุติธรรมทั้งในระดับสหพันธรัฐและมลรัฐ
โดยเฉพาะเจาหนาที่ผูบังคับใชกฎหมาย ซึ่งไดแก เจาหนาที่ตํารวจและอัยการที่จะตองปฏิบัติตาม
กฎเกณฑที่ศาลสูงสุดไดวางไวเหลานั้น
30

เนื่ อ งจากกฎเกณฑ หรื อ แนวทางที่ ศ าลสู ง สุ ด ของสหรั ฐ ได ว างไว มี ที่ ม าจากการ
ตีความของศาล ดังนั้น การศึกษาจากบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญแตเพียงอยางเดียว อาจจะไม
สามารถทราบถึงขอบเขตสิทธิที่ไดรับของสหรัฐอเมริกในการตีความรัฐธรรมนูญในเรื่องนี้ ตลอดจน
หลักเกณฑและวิธีปฏิบัติตาง ๆ ที่มลี ักษณะเปนการใหหลักประกันสิทธิของผูตองหาและจําเลยใน
คดีอาญา โดยจะศึกษาไปตามกระบวนการที่เกิดขึ้นกอนหลังเรียงตามลําดับไป โดยจะเริ่มตั้งแต
มาตรการบังคั บที่นํามาใชสอบสวน ซึ่งไดแกการคน การยึด การจับกุม และหลักประกันสิท ธิ
เสรีภาพของผูตองหา จําเลยในระหวางการดําเนินการสอบสวนตลอดไปจนถึงการพิจารณาคดีใน
ศาลและการบังคับโทษ เชน หลักประกันที่จะไดรับจากการแจงสิทธิ สิทธิในการมีทนาย สิทธิที่จะ
ไดพบศาลโดยเร็วหลังจากการถูกควบคุม สิทธิในการไดรับการไตสวนมูลฟอง สิทธิในการไดรับการ
พิจารณาโดยคณะลูกขุนใหญ สิทธิในการไดรับการประกันตัว สิทธิไดรับการพิจารณาโดยเร็ว เปนตน

1.6 การคนและการยึด (Search and seizure)

รัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา แกไขเพิ่มเติมมาตรา 4 (The Fourth Amendment)


บัญญัติวา “สิทธิของประชาชนที่จะไดรับความปลอดภัยในตัวของตน. . .จากการคน และการยึด
โดยไมมีเหตุผลจะไมถูกฝาฝนและจะไมมีการออกหมาย เวนแตจะมีเหตุอันควรสงสัย”
จากบทบัญญัติในมาตรา 4 นี้เอง ศาลสูงสุดของสหรัฐอเมริกาไดอาศัยอํานาจในการ
เปนผูตีความรัฐธรรมนูญโดยตีความคําวา “การคนและการยึด” อยางกวางขวาง และใน
ขณะเดียวกันก็ไดกําหนดมาตรฐานคําวา “โดยไมมีเหตุผล (unreasonable) อยางเครงครัด”
สําหรับคําวา “การคนและการยึด” นั้น ศาลสูงสุดไมไดตีความหมายปกติของถอยคํา
แตตีความถึงเจตนารมณโดยมุงเนนถึงสิทธิและผลประโยชนที่รัฐธรรมนูญมาตรานี้ตองการจะ
คุมครอง ในชวงทศวรรษ 1960 ศาลสูงสุดภายใตการนําของประธานสูงสุด ชื่อ Earl Warren ได
ตีความคําวา “การคนและการยึด” อยางกวางขวางโดยรวมถึงสิทธิและผลประโยชนที่ปจเจกชน “มี
ความคาดหวังอันสมเหตุสมผลที่จะไดรับความเปนสวนตัว” (reasonable expectation of privacy)
ดวยเหตุนี้ การกระทําที่เปนการละเมิดสิทธิความเปนสวนตัว เชน การลักลอบดักฟงโทรศัพทโดย
เจาหนาที่ของรัฐ จึงถือเปนการคนภายใตรัฐธรรมนูญมาตรานี้ เพราะพฤติการณของเจาหนาที่ได
ละเมิดความเปนสวนตัวของผูใชโทรศัพท และผูใชโทรศัพทยอมมีความคาดหวังที่มีเหตุมีผลที่จะ
ไดรับความเปนสวนตัวจากการใชโทรศัพทนั้น
สวนการตีความวาการคนและการยึดจะสมเหตุสมผลหรือไมนั้น ศาลสูงสุดจะ
ตีความเรื่องความสมเหตุสมผลควบคูไปกับมาตรการในการออกหมาย (Warrant Requirement)
31

ซึ่งเปนขอกําหนดในขวงทายของรัฐธรรมนูญมาตรานี้ โดยจะถือวาการคนและการยึดโดยไมมี
หมายนั้นโดยสภาพเปนการคนและการยึดที่ไมสมเหตุสมผลอยูในตัวแลว (per se unreasonable)
นอกจากนั้น ศาลสูงสุดจะกําหนดมาตรฐานของความสมเหตุสมผลในกรณีที่ผูบังคับใชกฎหมาย
(law enforcement officer) เปนผูดําเนินการคนและยึดดวยตัวเอง โดยไมผานการตรวจสอบเอาไว
สูงกวามาตรฐานที่ใชในกรณีที่มีการตรวจสอบโดยผูพิพากษา ซึ่งก็เปนนโยบายของศาลสูงสุดที่
ตองการใหกระบวนการออกกฎหมาย (warrant process) เปนมาตรการในการตรวจสอบการใช
ดุลพินิจของเจาหนาที่ผูบังคับใชกฎหมายในการคนและการยึดนั่นเอง
จากการตีความของศาลสูงสุดที่ขยายขอบเขตของการคนและการยึดใหกวางขวาง
รวมไปถึงการคุมครองสิทธิความเปนสวนตัว (right of privacy) และตีความอยางเครงครัดวาการ
คนและการยึดที่ไมมีหมายใหถือวาเปนการคนและการยึดที่ไมสมเหตุสมผลซึ่งขัดกับรัฐธรรมนูญ
มาตรา 4 ทําใหศาลสูงสุดสามารถสรางหลักประกันในการคุมครองสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน
ใหปลอดภัยจากการที่เจาหนาที่ของรัฐอาจใชอํานาจกระทบถึงสิทธิความเปนสวนตัวไดอยาง
กวางขวาง โดยผานกระบวนการในการออกกฎหมายซึ่งมีผูพิพากษาเปนผูตรวจสอบ จากแนวคํา
พิพากษาศาลสูงสุดของสหรัฐอเมริกา การคนและการยึดตองมีหมายเสมอจะมีขอยกเวนเฉพาะ
กรณีที่จําเปนจริง ๆ เทานั้น เชน การคนยานพาหนะโดยมีเหตุอันควรสงสัยเพื่อหาเครื่องไมเครื่องมือ
และผลพวงจากการประกอบอาชญากรรม (fruits and instrumentalities of crime) การคนที่สืบเนื่อง
จากการจับโดยชอบดวยกฎหมาย การคนในลักษณะเปนการตรวจสอบเบื้องตนในกรณีที่เรียกวา
“stop and fink” การคนที่เกิดจากเหตุฉุกเฉิน เชน การคนในกรณีการติดตามอยางกระชั้นชิด และ
การคนโดยความยินยอม เปนตน

1.7 หลักประกันเกี่ยวกับการจับ (Arrest)

การจับเปนการที่เจาหนาที่ผูบังคับใชกฎหมายของรัฐ โดยเฉพาะเจาหนาที่ตํารวจใช
อํานาจในการจํากัดเสรีภาพในการเคลื่อนไหวของบุคคล ศาลสูงสุดของสหรัฐอเมริกาจึงตีความวา
เปน “การยึด” อยางหนึ่ง คือ เปนการยึดตัวบุคคล (seizure of person) จึงอยูในความหมายของ
รัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติมมาตรา 4 เชนเดียวกันการคนและการยึด ดวยเหตุนี้ การจับที่ชอบดวย
กฎหมายจึงตองมีความสมเหตุสมผล เชนเดียวกับการคนและการยึด และหากจุมีการออกหมายจับก็
ตองมีเหตุอันควรสงสัย (probable cause) จึงจะสามารถออกหมายได
แมถอยคําในรัฐธรรมนูญจะไมไดเขียนไวชัดเจนวา การจับจะตองมีหมายจับ แตศาล
สูงสุดไดแสดงเจตนารมณคอนขางชัดเจนวา ตองการใหมีการขอหมายหากเปนไปได และเนื่องจาก
32

แนวทางในการตีความคําวา เหตุอันควรสงสัย (probable cause) นั้นมักจะไมคอยแนนอน ขึ้นอยู


กับทัศนคติของศาลแตละแหง เจาหนาที่ตํารวจเองจึงมักจะมีความพอใจที่จะมาขอหมายเพื่อให
ศาลไดพิเคราะหถึง เหตุอันควรสงสัย (probable cause) เสียกอน แทนที่จะจับโดยไมมีหมายแลว
มาโดนตัดพยานในตอนหลัง เมื่อมีการวินิจฉัยวาการจับไมชอบ

2. กฎหมายและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวของกับการสืบสวนจับกุม

2.1 ระเบียบราชการฝายตุลาการวาดวยแนวปฏิบัติในการออกหมายจับและหมายคนใน
คดีอาญา พ.ศ. 2545

โดยที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 237 และมาตรา


238 บัญญัติใหการจับบุคคล หรือการคนหาบุคคลหรือสิ่งของในที่รโหฐาน จะตองมีคําสั่งหรือ
หมายของศาล เวนแตจะมีเหตุตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญหรือตามที่กฎหมายบัญญัติอันเปน
การเปลี่ยนแปลงผูมีอํานาจในการออกหมายจับและหมายคนจากเดิมที่มีศาล พนักงานฝายปกครอง
และตํารวจชั้นผูใหญ เปนเพียงศาลเพียงองคกรเดียวประกอบกับประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความ
อาญา มาตรา 59 วรรคสอง บัญญัติใหศาลตองสอบผูรองขอออกหมายใหปรากฏเหตุผลสมควรในการ
ออกหมายเสียกอน ซึ่งแสดงวารัฐธรรมนูญและกฎหมายดังกลาวมีวัตถุประสงคใหการออกหมายจับ
และหมายคน จะตองไดรับการพิจารณากลั่นกรองดวยความรอบคอบ เพื่อเปนหลักประกันการ
คุมครองสิทธิเสรีภาพของบุคคล
เพื่อใหเกิดดุลยภาพระหวางการคุมครองสิทธิเสรีภาพของบุคคลตามเจตนารมณของ
รัฐธรรมนูญกับการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมอยางมีประสิทธิภาพ สมควรวางแนว
ปฏิบัติในการออกหมายจับและหมายคน และเกณฑมาตรฐานในการพิจารณาพยานหลักฐานกอน
ออกหมาย อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 5 แหงพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ประธานศาลฎีกา
ออกระเบียบไวดังตอไปนี้
ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบราชการฝายตุลาการ วาดวยแนวปฏิบัติในการ
ออกหมายจับและหมายคนในคดีอาญา พ.ศ. 2545”
ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันที่ 11 ตุลาคม 2545 เปนตนไป
ขอ 3 ในกรณี ที่ ร ะเบี ย บ ประกาศ หรื อ คํ า สั่ง อื่ น ใด ซึ่ ง ขั ด แย ง กั บ ระเบี ย บนี้ ให
ปฏิบัติตามระเบียบนี้แทน
33

ขอ 4 การรองขอใหศาลออกหมายจับ ใหรองขอตอศาลที่มีเขตอํานาจชําระคดี


หรือศาลที่มีเขตอํานาจเหนือทองที่ที่จะทําการจับ สวนการรองขอหมายคน ใหรองขอตอศาลที่มี
เขตอํานาจเหนือทองที่ที่จะทําการคน
การรองขอใหออกหมายจับหรือหมายคนที่เกี่ยวกับคดีอาญาที่อยูในอํานาจของศาล
เยาวชนและครอบครัว ใหรองขอตอศาลอาญากรุงเทพใต ศาลอาญาธนบุรี ศาลจังหวัด หรือศาล
แขวงที่มีเขตอํานาจเหนือทองที่นั้น แตหากศาลเยาวชนและครอบครัวที่มีเขตอํานาจเหนือทองที่
แหงใดมีความพรอมที่จะออกหมายจับหรือหมายคนตามระเบียบนี้ และไดมีการกําหนดแนวทาง
ปฏิบัติเพื่อการนั้นแลว ก็ใหรองขอหมายจับหรือหมายคนตอศาลเยาวชนและครอบครัวแหงนั้นได
ดวย
การรองขอใหออกหมายจับหรือหมายคนที่เกี่ยวกับคดีอาญาที่อยูในอํานาจของศาล
ชํานัญพิเศษ ใหรองขอตอศาลชํานัญพิเศษ ที่มีเขตอํานาจชําระคดีนั้น แตถาจะทําการจับหรือคน
ในจังหวัดอื่นนอกจากกรุงเทพมหานคร ใหรองขอตอศาลจังหวัดที่มีเขตอํานาจเหนือทองที่นั้นได
ดวย
เจาพนักงานซึ่งจะทําการจับหรือคนนอกเขตศาลอาญา จะรองขอตอศาลอาญาก็ได
หากเป นกรณีเร งด วนและการรองขอตอศาลที่มีเขตอํา นาจเหนือทองที่นั้ น จะเกิ ดความล าช า
เสียหายตอการปฏิบัติหนาที่
ขอ 5 พนักงานฝายปกครอง หรือตํารวจ หรือเจาพนักงานอื่นซึ่งรองขอใหศาลออก
หมายจับหรือหมายคน จะตองเปนผูอํานาจหนาที่เกี่ยวของกับการสืบสวนหรือสอบสวนคดีที่รอง
ขอออกหมายนั้นและตองพรอมที่จะมาใหศาลสอบถามกอนออกหมายไดทันที
ในกรณีพนักงานฝายปกครอง หรือตํารวจ หรือเจาพนักงานอื่นเปนผูรองขอ ผูนั้นตอง
ดํารงตําแหนงตั้งแตระดับสามขึ้นไป ในกรณีที่เปนตํารวจผูนั้นตองมียศตั้งแตชั้นรอยตํารวจตรีขึ้นไป
ขอ 6 ในการรองขอใหศาลออกหมายจับหรือหมายคนตองมีคํารองที่มีรายละเอียด
และเอกสารประกอบดังตอไปนี้
6.1 คํารองขอใหศาลออกหมายจับ
(1) ตองระบุชื่อ รูปพรรณ อายุ อาชีพของบุคคลที่จะถูกจับเทาทราบ
ตามแบบพิ ม พ ท า ยระเบี ย บนี้ รวมทั้ ง ข อ มู ล หรื อ พยานหลั ก ฐานที่ ส นั บ สนุ น เหตุ แ ห ง การออก
หมายจับ เชน ขอมูลตามขอ 14
(2) แนบหมายจับพรอมสําเนาตามแบบพิมพทายระเบียบนี้ รวมทั้ง
เอกสารอื่น เชน บันทึกคํารองทุกข หนังสือมอบอํานาจใหรองทุกข เปนตน มาทายคํารอง
6.2 คํารองขอใหศาลออกหมายคน
34

(1) ตองระบุลักษณะสิ่งของที่ตองการหาและยึด หรือ ชื่อ รูปพรรณ


อายุ ของบุคคลเทาที่ตองการหา และสถานที่ที่จะคน ระบุบานเลขที่ เจาของหรือผูครอบครองเทาที่
ทราบ หากไม ส ามารถระบุ บ า นเลขที่ ที่ จ ะค น ได ให ทํ า แผนที่ ข องสถานที่ ที่ จ ะค น และบริ เ วณ
ใกลเคียงแทน ตามแบบพิมพทายระเบียบนี้ รวมทั้งขอมูลหรือพยานหลักฐานที่สนับสนุนเหตุแหง
การออกหมายคน เชน ขอมูลตามขอ 14
(2) แนบหมายคนพรอมสําเนาตามแบบพิมพทายระเบียบนี้ รวมทั้ง
เอกสารอื่น เชน บันทึกคํารองทุกข หนังสือมอบอํานาจใหรองทุกข เปนตน มาทายคํารอง
ขอ 7 ใหผูรองขอหรือพนักงานผูรับมอบหมายจากผูรองขอนําคํารองพรอมเอกสาร
ประกอบตามขอ 6 ใสซองปดผนึกประทับตรา “ลับ” ยื่นตอศาลที่ประสงคจะขอใหออกหมายนั้น
เมื่อไดรับซองคํารอง ใหเจาหนาที่ศาลลงเลขรับไวบนซองและลงสารบบไวโดยตองไมเปดซอง แลว
นําซองคํารองเสนอตอผูพิพากษาเพื่อพิจารณาสั่งโดยเร็ว
ขอ 8 เมื่อศาลอนุญาตใหออกหมาย ใหศาลมอบตนฉบับหมาย พยานหลักฐาน
และเอกสารตาง ๆ ใสซองปดผนึกคืนใหแกผูรองขอ สวนคํารอง คําสั่งอนุญาต และสําเนาหมายให
ใสซองปดผนึกเก็บไวที่ศาลเพื่อรอรับรายงานการจับหรือคนจากผูรองขอตอไป
หากศาลเห็นสมควร ศาลอาจสั่งใหผูรองขอทําสําเนาพยานหลักฐานที่สําคัญที่สนับสนุนเหตุแหง
การออกหมายจับหรือหมายคนนั้นมาเก็บรวบรวมไวกับคํารองและสําเนาหมายก็ได
ขอ 9 ในกรณีขอออกหมายนอกเวลาทําการปกติ ใหดําเนินการเชนเดียวกับการ
รองขอในเวลาปกติตามขอ 6 ถึงขอ 8 โดยใหผูพิพากษาซึ่งไดรับมอบหมายจากอธิบดี ผูพิพากษา
ศาลชั้ นต น หรื อผู พิ พากษา หั วหน าศาล แล วแต กรณี เป นผู รั บผิ ดชอบในการพิ จารณาสั่ง และ
ผูพิพากษาจะมาอยูประจําที่ศาลหรือไมก็ไดแตตองอยูในพื้นที่ที่สามารถติดตอเพื่อเสนอคํารองได
โดยสะดวก ทั้งนี้ ผูรองขออาจนําคํารองไปยื่นตอผูพิพากษาที่ไดรับมอบหมายนั้นโดยตรงก็ได โดย
ติดตอประสานงานกับเจาหนาที่ศาลที่ประจําอยูที่ศาลนั้น เพื่อทราบถึงสถานที่ที่จะนําคํารองไปยื่น
และใหเจาหนาที่ศาลนั้นแจงผูพิพากษาโดยเร็ว
เมื่อศาลอนุญาตใหออกหมาย ใหศาลมอบตนฉบับหมาย พยานหลักฐานและเอกสารตาง ๆ ใส
ซองปดผนึกคืนใหแกผูรองขอ สวนคํารอง คําสั่งอนุญาต และสําเนาหมายใหใสซองปดผนึกเก็บไว
เอง แลวนําไปเก็บไวที่ศาลในวันแรกที่ศาลเปดทําการเพื่อรอรับรายงานการจับหรือคนจากผูรองขอ
ตอไป
ขอ 10 ในการรองขอใหออกหมายจับ ผูรองขอตองเสนอพยานหลักฐานใหเพียงพอ
ที่ทําใหเชื่อไดวา
35

10.1 ผูจะถูกออกหมายจับนาจะไดกระทําความผิดอาญารายแรงตามที่
กฎหมายบัญญัติ แตในระหวางที่ยังมิไดมีกฎหมายดังกลาว ก็ควรถือแนวปฏิบัติในการใชดุลพินิจ
ของศาลวาหมายถึง ความผิดที่มีอัตราโทษจําคุกอยางสูงเกินสามป หรือ
10.2 ผูจะถูกออกหมายจับนาจะไดกระทําความผิดอาญาและมีเหตุอันควร
เชื่อวาผูนั้นจะหลบหนี หรือจะไปยุงเหยิงกับพยานหลักฐาน หรือกอเหตุอันตรายประการอื่น
ขอ 11 ในการรองขอใหออกหมายคน ผูรองขอตองเสนอพยานหลักฐานใหเพียงพอ
ที่ทําใหเชื่อไดวาบุคคลหรือสิ่งของที่คนหานาจะอยูในสถานที่ที่จะคน และในกรณีคนหาสิ่งของ
สิ่งของนั้นจะเปนพยานหลักฐานประกอบการสอบสวน ไตสวนมูลฟอง หรือพิจารณาสิ่งของนั้นมีไว
เปนความผิด หรือไดมาจากการกระทําความผิด หรือมีเหตุอันควรสงสัยวาไดใชหรือตั้งใจจะใชใน
การกระทําความผิด หรือเปนสิ่งของซึ่งตองยึดหรือริบตามคําพิพากษาหรือตามคําสั่งศาลในกรณีที่
จะพบหรือยึด โดยวิธีอื่นไมไดแลว
ในกรณีคนหาบุคคล
บุคคลนั้นถูกหนวงเหนี่ยวหรือกักขังโดยมิชอบดวยกฎหมาย หรือบุคคลนั้นถูกออก
หมายจับ
ขอ 12 ในการเสนอพยานหลักฐานตอศาล ใหผูรองขอสาบานหรือปฏิญาณตนและ
แถลงด ว ยตนเองรวมทั้ ง ตอบคํ า ถามศาลเกี่ ย วกั บ ข อ มู ล ที่ ไ ด จ ากการสื บ สวนสอบสวน หรื อ
พยานหลักฐานที่สนับสนุนถึงเหตุแหงการออกหมายนั้น
ขอ 13 ในการรับฟงพยานหลักฐาน ศาลไมจําเปนตองถือเครงครัดเชนเดียวกับการ
รับฟงพยานหลักฐานที่ใชพิสูจนความผิดของจําเลย
ผู รูเ ห็ น เหตุก ารณห รื อทราบขอ มูลอั น เป น เหตุ แหง การออกหมายจั บ หรื อ
หมายคนไมจําเปนตองมาเบิกความตอศาลดวยตนเองแตอาจใชบันทึกถอยคําของบุคคลดังกลาว
ซึ่งไดสาบานตัวแลวเสนอเปนพยานหลักฐานประกอบคําเบิกความของผูรองขอก็ได
ขอ 14 พยานหลักฐานที่อาจพิสูจนวามีเหตุสมควรในการออกหมายจับหรือหมาย
คน ใหรวมถึง
14.1 ขอมูลที่ไดจากการสืบสวนสอบสวน เชน บันทึกการสอบสวน บันทึก
ถอยคําของสายลับ หรือของเจาพนักงานที่ไดจากการแฝงตัวเขาไปในองคกรอาชญากรรมขอมูลที่
ไดจากแหลงขาวของเจาพนักงานหรือการหาขาวจากผูกระทําความผิด และขอมูลที่ไดจากการเฝา
สังเกตการณของเจาพนักงาน เปนตน
14.2 ขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหทางนิติวิทยาศาสตรหรือที่ไดจากการใช
เครื่องมือทางวิทยาศาสตรหรือเทคโนโลยี เชน เครื่องมือตรวจพิสูจนลายพิมพนิ้วมือ เครื่องมือ
36

ตรวจพิสูจนของกลาง เครื่องจับเท็จ เครื่องมือตรวจโลหะ และเครื่องมือตรวจพิสูจนทางพันธุกรรม


เปนตน
ขอ 15 คําสั่งของศาลในการอนุญาตใหออกหมายหรือยกคํารอง จะตองระบุเหตุผล
ใหครบถวนและชัดแจง
ขอ 16 หมายคนตองระบุชื่อและตําแหนงของเจาพนักงานผูจะทําการคนและอาจ
ระบุชื่อผูที่จะทําการคนไวหลายคนตามคํารองขอก็ไดหากมีเหตุสมควร
หมายคนตองระบุวัน ระยะเวลาที่ทําการคนใหชัดเจน หากไมอาจระบุเวลาสิ้นสุดได ใหระบุวา คน
ไดติดตอกันไปจนเสร็จสิ้น การขอหมายคนโดยกําหนดชวงเวลาไวหลาย ๆ วัน เพื่อเลือกทําการคน
ในวันเวลาใดวันหนึ่งจะกระทําไมได ในกรณีที่สถานที่ที่จะคนอยูหางไกล อาจขอใหศาลออกหมาย
คนลวงหนา ไดตามสมควรแกพฤติการณแหงคดี
ขอ 17 เมื่อเจาพนักงานจับบุคคลตามหมายจับไดแลวหรือเมื่อมีเหตุที่จะเพิกถอน
หมายจับ ใหเจาพนักงานที่เกี่ยวของรายงานใหศาลที่ออกหมายทราบโดยเร็ว
เมื่อเจาพนักงานไดจัดการตามหมายคนแลว ใหบันทึกรายละเอียดในการ
จั ด การนั้ น ว า จั ด การตามหมายได ห รื อ ไม แล ว ให ส ง บั น ทึ ก นั้ น ไปยั ง ศาลที่ อ อกหมายภายใน
ระยะเวลาที่กําหนด
ขอ 18 ในกรณี ที่ ก ารจั บ หรื อ การค น มิ อ าจกระทํ า ได เ พราะมี บ ทบั ญ ญั ติ แ ห ง
รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายอื่นใหเอกสิทธิ์หรือความคุมกันแกบุคคลหรือสถานที่ใดไว ใหปฏิบัติตาม
กฎหมายและระเบียบวาดวยการนั้น
ขอ 19 เพื่อใหการปฏิบัติตามระเบียบนี้เปนไปดวยความเรียบรอย ศาลอาจกําหนด
แนวทางปฏิบัติของแตละศาลไดเทาที่ไมขัดหรือแยงกับระเบียบนี้ เชน การจัดใหมีระบบการรับคํา
รองการลงหลักฐานในสารบบ การเก็บรักษาความลับ การแจงการปฏิบัติตามหมาย และการเพิก
ถอนหมาย เปนตน
ขอ 20 ในกรณีที่ตองมีวิธีการใดในทางธุรการเพื่อใหการปฏิบัติตามระเบียบนี้เปนไป
ดวยความเรียบรอย เชน การจัดตั้งศูนยขอมูลกลางเพื่อรวบรวมรายละเอียดของหมายจับและ
หมายคน การเพิกถอนหมายดังกลาวของศาลทั่วประเทศ และการประสานงานกับหนวยงานอื่นที่
เกี่ยวของ เปนตน ใหเลขาธิการ สํานักงานศาลยุติธรรมเปนผูกําหนดวิธีการนั้น
37

2.2 ประเภทของการจับกุมและขั้นตอนของกระบวนการจับกุมภายใตรัฐธรรมนูญ
พุทธศักราช 2540

การจับภายใตรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2540 อาจแบงไดเปน 2 กรณี


1. การจับโดยมีคําสั่งหรือหมายของศาล
รัฐธรรมนูญ มาตรา 237 กําหนดเงื่อนไขหรือเหตุที่จะออกหมายจับไวโดย
แบงแยกตามความรายแรงของการกระทําความผิด คือ
1.1 กรณีที่เปนความผิดอาญารายแรง (แนวปฏิบัติถือเอาความผิดที่มีอัตราโทษ
จําคุกอยางสูงเกินสามปเปนความผิดอาญารายแรง) ตองมีพยานหลักฐานตามสมควรวาผูนั้น
นาจะไดกระทําความผิดดังกลาว
1.2 กรณีที่เปนความผิดอาญาไมรายแรง นอกจากจะตองมีพยานหลักฐานตาม
สมควรวาผูนั้นนาจะไดกระทําความผิดดังกลาวแลว ตองมีเหตุอันควรเชื่อดวยวาผูนั้นจะหลบหนี
หรือไปยุงเหยิงกับพยานหลักฐาน หรือกอเหตุอันตรายประการอื่นดวย
2. การจับโดยไมมีคําสั่งหรือหมายของศาล
จะจับไดในกรณีความผิดซึ่งหนาหรือมีเหตุจําเปนอยางอื่นใหจับไดโดยไมมีหมาย
ตามที่กฎหมายบัญญัติ (นําประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 78 มาใชบังคับเทาที่
ไมขัดตอหลักการของรัฐธรรมนูญ ฯ มาตรา 237)
โดยสรุปขั้นตอนของกระบวนการจับกุมสามารถแสดงแผนภูมิการปฏิบัติงานของ
เจาหนาที่ตํารวจ ไดดังนี้
38

ภาพที่ 2.1
ขั้นตอนของกระบวนการจับกุมของเจาหนาที่ตํารวจ

ความผิดเกิด กรณีความผิดซึ่งหนา จับกุมไดทนั ที


ตามมาตรา 80

กรณีไมเปนความผิดซึง่ หนา ผูเสียหายแจงความรองทุกข


ตามมาตรา 80 ตอพนักงานสอบสวน

พนักงานสอบสวนรับเรื่องและพบวา พนักงานสอบสวนรับเรื่องและพบวา
ความผิดมีโทษจําคุกไมเกิน 3 ป ความผิดมีโทษจําคุกเกิน 3 ป

ออกหมายเรียก ผูตองหามาตาม แจงขอ ขออนุญาตศาล


ผูตองหา หมายเรียก กลาวหา ออกหมายจับ

ผูตองหาไมมาตามหมายเรียก 2 ครั้ง

ขอออกหมายจับตอศาล

ดําเนินการจับกุมตามหมายจับ
39

3. งานสืบสวนจับกุมผูกระทําผิดของกองบังคับการ
ตํารวจนครบาล 8

ประวัติความเปนมา

กองบังคับการตํารวจนครบาล 8 จัดตั้งตามพระราชกฤษฎีกาแบงสวนราชการกรมตํารวจ
กระทรวงมหาดไทย (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2540 ใหไว ณ วันที่ 26 มีนาคม 2540 เดิมตั้งอยูเลขที่ 413/1-3
ถนนราษฎรบูรณะ แขวงและเขตราษฎรบูรณะ กรุงเทพมหานคร ตอมาไดยายที่ทําการใหมตั้งอยู
เลขที่ 112/359 ถนนพระราม 2 ซอย 28 แขวงจอมทอง เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร

อาณาเขตและพื้นที่รับผิดชอบ

ทิศเหนือ ติดตอกับ เขตกองบังคับการตํารวจนครบาล 7


ทิศใต ติดตอกับ เขตกองบังคับการตํารวจนครบาล 9
ทิศตะวันออก ติดตอกับ เขตอําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
ทิศตะวันตก ติดตอกับ เขตกองบังคับการตํารวจนครบาล 9
พื้นที่การปกครองกองบังคับการตํารวจนครบาล 8 มี 11 สถานี โดยสถานีที่รับผิดชอบ
พื้นที่ลําน้ําเจาพระยา มี 2 สถานี ไดแก สถานีตํารวจนครบาลบางคอแหลม และสถานีตํารวจ
นครบาลปากคลองสาน ซึ่งขึ้นอยูกับเขตพื้นที่สํานักงานเขต คือ เขตธนบุรี เขตคลองสาน เขตทุงครุ
เขตจอมทอง และเขตราษฎรบูรณะ
พื้นที่รับผิดชอบมีจํานวน 70.68 ตารางกิโลเมตร และลําน้ําเจาพระยาตั้งแตสะพาน
สมเด็จพระปนเกลาไปจนถึงกรมสรรพวุธทหารเรือ แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ เปนระยะทาง
28 กิโลเมตร สภาพพื้นที่สวนใหญเปนไร สวน โรงงานอุตสาหกรรม ที่อยูอาศัย หมูบานจัดสรร
มีศูนยการคาและยานธุรกิจชุมชนประมาณ รอยละ 20 ของพื้นที่ ประชากรทั่วไปประมาณ 1,063,803 คน
และมีประชากรแฝงประมาณ 709,908 คน (ฝายอํานวยการ กองบังคับการตํารวจนครบาล 8)
40

โครงสรางการแบงสวนราชการ

กองบังคับการตํารวจนครบาล 8 แบงสวนราชการเปน 2 กองกํากับการ และ 11 สถานี


ตํารวจ คือ ดังตอไปนี้
1. ฝายอํานวยการ มีหนาที่ในการตรวจสอบกลั่นกรอง เสนอขอคิดเห็นเกี่ยวกับงาน
ในหนาที่ตอผูบังคับบัญชา เพื่อวินิจฉัยสั่งการหรือกําหนดนโยบายเกี่ยวกับการบริหารงานดานตาง ๆ
ดังนี้
งานที่ 1 (ธุรการกําลังพล)
งานที่ 2 (นโยบายและแผน)
งานที่ 3 (งบประมาณและการเงิน)
งานที่ 4 (พลาธิการ)
งานที่ 5 (งานยานพาหนะและขนสง)
งานที่ 6 (งานสวัสดิการ)
2. กองกํากับการสืบสวนสอบสวน มีอํานาจหนาที่สืบสวนสอบสวนการกระทํา
ความผิดทางอาญาที่เกิดขึ้นในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
3. สถานีตํารวจ 11 สถานี ประกอบดวย
1. สถานีตํารวจนครบาลบางมด
2. สถานีตํารวจนครบาลบางยี่เรือ
3. สถานีตํารวจนครบาลตลาดพลู
4. สถานีตํารวจนครบาลบุปผาราม
5. สถานีตํารวจนครบาลบุคคโล
6. สถานีตํารวจนครบาลสําเหร
7. สถานีตํารวจนครบาลสมเด็จเจาพระยา
8. สถานีตํารวจนครบาลราษฎรบูรณะ
9. สถานีตํารวจนครบาลทุงครุ
10. สถานีตํารวจนครบาลปากคลองสาน
11. สถานีตํารวจนครบาลบางคอแหลม
41

ภาพที่ 2.2
โครงสรางกองบังคับการตํารวจนครบาล 8

กองบังคับการตํารวจนครบาล 8

สถานีตาํ รวจนครบาล กองกํากับการสืบสวนสอบสวน กองกํากับการอํานวยการ

ชุดสืบสวน 1 งาน 1 (ธุรการ)


บางยีเ่ รือ ราษฎรบูรณะ

ชุดสืบสวน 2 งาน 2 (กําลังพล)


ตลาดพลู บางมด

ชุดสืบสวน 3 งาน 3 (การเงินและพัสดุ)


บุปผาราม ทุงครุ

บุคคโล ปากคลองสาน ชุดสืบสวน 4 งาน 4 (แผนงานและงบประมาณ)

สําเหร บางคอแหลม งาน 4 (คดี)

สมเด็จ
เจาพระยา งาน 6 (ศูนยรวมขาว)

ที่มา: งาน 2 กองกํากับการอํานวยการ กองบังคับการตํารวจนครบาล 8


42

งานสืบสวนจับกุมของกองบังคับการตํารวจนครบาล 8

ตารางที่ 2.1
สถานภาพกําลังพลของกองบังคับการตํารวจนครบาล 8

งานปองกัน
งานสืบสวน งานสอบสวน งานจราจร รวม
ปราบปราม
สังกัด
สัญญา ประ สัญญา ประ สัญญา ประ สัญญา ประ สัญญา ประ
บัตร ทวน บัตร ทวน บัตร ทวน บัตร ทวน บัตร ทวน
กองกํากับ - - 3 6 - - - - 3 6
การสืบสวนฯ
สน. 6 37 4 8 13 13 2 35 25 93
บางยี่เรือ
สน. 5 49 3 8 9 13 3 21 20 91
ตลาดพลู
สน. 5 54 3 9 11 16 2 78 21 156
บุปผาราม
สน. บุคคโล 5 61 5 9 19 19 6 58 35 147
สน. สําเหร 5 39 4 9 11 12 5 31 25 91
สน. สมเด็จ 5 54 2 10 13 10 2 24 22 98
เจาพระยา
สน. ราษฎร 9 89 4 10 24 19 5 47 42 165
บูรณะ
สน. บางมด 6 64 4 9 17 17 4 29 31 121
สน. ทุงครุ 5 39 2 4 7 10 2 13 16 66
สน. ปาก 2 16 1 3 5 5 - 9 8 33
คลองสาน
สน. บางคอ 2 21 - 3 4 5 - - 6 29
แหลม
รวม 55 523 35 88 133 139 31 345 254 1,095
ที่มา: งาน 2 กองกํากับการอํานวยการ กองบังคับการตํารวจนครบาล 8 สํารวจ ณ มกราคม 2552
43

ตารางที่ 2.2
สถิติการปองกันปราบปรามอาชญากรรมและการจับกุมของบก น. 8

คดีคางเกา รวมจับ
ประเภทความผิด (%จับกุม) รับแจง จับ ผูตองหา จับ ผูตองหา จับ ผูตองหา
(คดี) (คดี) (คน) (คดี) (คน) (คดี) (คน)
1. คดีอุกฉกรรจสะเทือนขวัญ (45%) 11 7 14 2 2 9 16
ฆาผูอนื่ โดยเจตนา 4 3 3 1 1 4 4
วางเพลิง 1 1 1 1
ปลนทรัพย 4 3 10 3 10
ชิงทรัพย (รวม) 3 1 1 1 1
ลักพาเรียกคาไถ
2. คดีชีวิต รางกาย และเพศ (60%) 46 30 35 9 9 39 44
ฆาผูอนื่ โดยเจตนา 4 3 3 1 1 4 4
ฆาผูอนื่ โดยไมเจตนา
ทําใหตายโดยประมาท
พยายามฆา 3 2 3 2 2 4 5
ทํารายรางกาย 38 25 29 6 6 31 35
ขมขืนกระทําชําเรา 1
3. คดีประทุษรายตอทรัพย (58%) 97 25 37 11 11 36 48
ปลนทรัพย 4 3 10 3 10
ชิงทรัพย (รวม) 3 1 1 1 1
-บาดเจ็บ
-ไมบาดเจ็บ 3 1 1 1 1
วิ่งราวทรัพย 4 1 1 1 1
ลักทรัพย (รวม) 85 20 25 8 8 28 33
กรรโชกทรัพย
รีดเอาทรัพย
44

ตารางที่ 2.2 (ตอ)

ผูตอง คดีคางเกา รวมจับ


ประเภทความผิด (%จับกุม) รับแจง จับ หา จับ ผูตองหา จับ ผูตองหา
(คดี) (คดี) (คน) (คดี) (คน) (คดี) (คน)
ทําใหเสียทรัพย 1 1 1 2 2 3 3
รับของโจร
4. คดีที่นาสนใจ 78 6 10 5 5 11 15
โจรกรรมรถยนต 1 1 1 1 1
โจรกรรมรถจักรยานยนต 51 3 7 1 1 4 8
ลักทรัพยในเคหสถาน 14 2 2 2 2 4 4
ฉอโกง 3
ยักยอก 9 2 2 2 2
5. คดีที่รัฐเปนผูเสียหาย 288 288 406 288 406
อาวุธปนธรรมดา 3 3 3 3 3
อาวุธปนสงคราม
การพนัน (รวม) 65 65 183 65 183
สลากกินรวบ 2 2 2 2 2
ยาเสพติด 216 216 216 216 216
คาประเวณี
สถานบริการ 1 1 1 1 1
ความผิดเกี่ยวกับวัตถุลามก 1 1 1 1 1
ที่มา: ฝายอํานวยการ กองบังคับการตํารวจนครบาล 8 (สํารวจ ณ เดือนมกราคม 2552)
45

ผลงานวิจัยทีเ่ กี่ยวของ

โสภณ สารพัฒน (2544) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง “ปจจัยที่มีผลตอการสืบสวนจับกุมการ


โจรกรรมรถ ศึกษาเฉพาะกรณีเจาหนาที่ตํารวจฝายสืบสวน กองกับคับการตํารวจนครบาล 2”
ผลการศึกษาพบวาในปจจัยที่มีผลกระทบตอการสืบสวนจับกุมการโจรกรรมรถ ประกอบดวย
ปจจัยดานการบริหารงานอยูในระดับต่ํา
ปจจัยดานงบประมาณและการสนับสนุนจากหนวยงานในระดับต่ํา
ปจจัยดานกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของในระดับปานกลาง
ปจจัยดานขวัญและกําลังใจในระดับสูง
ป จจัย ดา นความร ว มมื อ จากประชาชนและการประสานงานกับ หน ว ยงานอื่น ใน
ระดับสูง
โดยมีขอเสนอแนะใหมีการพัฒนาเจาหนาที่ตํารวจในการฝกอบรมดานเทคนิค แผน
ประทุษกรรมในการสืบสวนจับกุม รวมทั้งความรูเกี่ยวกับวิทยาการใหม ๆ ดําเนินการปรับปรุงดาน
คาตอบแทน เงินเดือนและสวัสดิการของเจาหนาที่ตํารวจใหมีความเหมาะสม สอดคลองกับภารกิจ
หนาที่ ควรปรับปรุงดานงบประมาณในการสืบสวนจับกุม ควรมีการแสวงหาความรวมมือจาก
ประชาขน สื่อมวลชนและหนวยงานตาง ๆ ในการแจงเบาะแสที่เปนประโยชนตอการสืบสวนจับกุม
รัฐบาลควรปรับปรุงแกไขกฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานและบทลงโทษผูกระทําผิด
ใหเหมาะสม
พฤกษ ฉายาลักษณ (2551) ไดศึกษาวิจัย เรื่อง “ปจจัยที่มีผลตอการปฏิบัติหนาที่
สืบสวน สอบสวน: ศึกษาเฉพาะกรณีฝายสืบสวน กองบังคับการตํารวจนครบาล 1” พบวาเจาหนาที่
ตํารวจฝายสืบสวนประกอบดวย ขาราชการตํารวจในระดับตําแหนงตั้งแต ผูบังคับบัญชาหมู/ลูกแถว
รองสารวัตร สารวัตร จนถึงระดับรองผูกํากับการ ที่ปฏิบัติหนาที่สืบสวนในหนวยงานสังกัดกองบังคับ
การตํารวจนครบาล 1 จํานวนประชากรทั้งสิ้น 152 นาย ผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญ
เปนเพศชาย มีอายุอยูที่ 31-40 ป กลุมตัวอยางสวนใหญมีระดับการศึกษาต่ําปริญญาตรี สวนใหญ
มีสถานภาพสมรส มีอายุราชการมากกวา 15 ป สวนใหญมีชั้นยศ จ.ส.ต.-ด.ต. สวนใหญมีอัตรา
เงินเดือน 10,000-15,000 บาท สวนใหญมีประสบการณการทํางานดานสืบสวน 7 ปขึ้นไป
กลุมตัวอยางสวนใหญเคยมีการอบรมศึกษาเพิ่มเติมดานการสืบสวน กลุมตัวอยางสวนใหญสมัคร
ใจในการปฏิบัติหนาที่ดา นการสืบสวน สวนใหญมีความรูสึกชอบในการปฏิบัติหนาที่สืบสวน
46

การวิเคราะหผลการทดสอบสมมุติฐาน พบวา
สมมุติฐานที่ 1 เจาหนาที่ตํารวจฝายสืบสวนเพศหญิงและชาย มีทัศนคติเกี่ยวกับ
ปจจัยที่มีอิทธิพลตอความสําเร็จในการปฏิบัติหนาที่สืบสวนแตกตาง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .05
สมมุติฐานที่ 2 เจาหนาที่ตํารวจฝายสืบสวนที่มีอายุตางกัน มีทัศนคติเกี่ยวกับปจจัย
ที่มีอิทธิพลตอความสําเร็จในการปฏิบัติหนาที่สืบสวนแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .05
สมมุติฐานที่ 3 เจาหนาที่ตํารวจฝายสืบสวนที่มีระดับการศึกษาตางกัน มีทัศนคติ
เกี่ยวกับปจจัยที่มีอทิ ธิพลตอความสําเร็จในการปฏิบัติหนาที่สืบสวนแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .05
สมมุติฐานที่ 4 เจาหนาที่ตํารวจฝายสืบสวนที่มีสถานภาพสมรสตางกัน มีทัศนคติ
เกี่ยวกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอความสําเร็จในการปฏิบัติหนาที่สืบสวนแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .05
สมมุติฐานที่ 5 เจาหนาที่ตํารวจฝายสืบสวนที่มีอายุราชการตางกัน มีทัศนคติ
เกี่ยวกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอความสําเร็จในการปฏิบัติหนาที่สืบสวนแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .05
สมมุติฐานที่ 6 เจาหนาที่ตํารวจฝายสืบสวนที่มีชั้นยศตางกัน มีทัศนคติเกี่ยวกับ
ปจจัยที่มีอิทธิพลตอความสําเร็จในการปฏิบัติหนาที่สืบสวนแตกตางกัน อยางมีนยั สําคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .05
สมมุติฐานที่ 7 เจาหนาที่ตํารวจฝายสืบสวนที่มีอัตราเงินเดือนตางกัน มีทัศนคติ
เกี่ยวกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอความสําเร็จในการปฏิบัติหนาที่สืบสวนแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .05
อนุชิต ลายลักษณ (2547) ไดทําการศึกษาวิจัยเรื่อง “ปญหาการจับกุมของเจาหนาที่
ตํารวจ ตามรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2540 ศึกษาเฉพาะกรณีเจาหนาที่ตํารวจประจําแผนก 3
กองกํากับการ 2 กองปราบปราม” ผลการศึกษา พลวา เจาหนาที่ตํารวจที่ปฏิบัติหนาที่ดานการ
จับกุมสวนใหญ รอยละ 38.1 มีอายุระหวาง 36-45 ป จบการศึกษาในระดับอาชีวศึกษา/อนุปริญญา
รอยละ 36.7 สวนใหญเปนนายตํารวจชั้นประทวน ซึ่งมียศ พลตํารวจ-นายดาบตํารวจ รอยละ
88.5 มีอายุราชการมากกวา 15 ป รอยละ 50.4 และมีประสบการณทํางานดานการจับกุม เปน
เวลามากกวา 15 ป ถึงรอยละ 37.6 ภาพรวมปจจัยที่มีผลตอปญหาการจับกุมตามรัฐธรรมนูญ
พ.ศ. 2540 ทั้งในดานการคุมครองสิทธิเหยื่อ ดานขวัญและกําลังใจ และดานงบประมาณ มีระดับ
47

ความคิดเห็นอยูในระดับเห็นดวยอยางยิ่ง โดยมีคาเฉลี่ย เทากับ 4.87, 4.51 และ 4.48 ตามลําดับ


สวนในดานเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน ดานเงื่อนไขตามรัฐธรรมนูญ และดานการคุมครองสิทธิผูตองหา
ที่มีผลตอปญหาในการจับกุม มีระดับความคิดเห็นอยูในระดับเห็นดวย โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.03,
3.78 และ 3.64 ตามลําดับ แสดงวาประชากรมีระดับความคิดเห็นวาปจจัยเหลานี้มีผลตอการเกิด
ปญหาในการจับกุมตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 แสดงใหเห็นวา กลุมตัวอยางเห็นดวยวาปจจัย
เหลานี้สงผลใหเกิดปญหาในการจับกุมตามรัฐธรรมนูญ จากการทดสอบความสัมพันธระหวาง
ทัศนะตอปจจัยที่มีผลตอปญหาการจับกุมกับปญหาการจับกุมตามรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2540
พบวา ทัศนะตอปจจัยดานเงื่อนไขตามรัฐธรรมนูญ ดานการคุมครองสิทธิผูตองหา ดานเจาหนาที่
ผูปฏิบัติงาน ดานงบประมาณ และดานขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงาน มีความสัมพันธทางลบ
กับปญหาการจับกุมตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ขอเสนอแนะแนวทางในการปรับเปลี่ยนแนวทางการปฏิบัติงาน ควรใหสิทธิกับเจาหนาที่ตํารวจชั้น
ประทวนมีอํานาจในการขอหมายได ควรใหการสนับสนุนงบประมาณใหมากกวานี้เพราะขั้นตอน
การทํางานที่มากขึ้น ตองเดินทางขอหมายในตางพื้นที่ ควรดูแลเรื่องขวัญและกําลังใจบุคลากรให
มากกวานี้ เพราะปจจุบันตํารวจถูกรองเรียนมาก เมื่อใหความคุมครองสิทธิผูตองหาก็ควรใหความ
คุมครองกับเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน และเพิ่มวัสดุอุปกรณสื่อสารใหตํารวจ สามารถสืบสวนจับกุมได
สะดวกขึ้น
48

กรอบแนวคิดในการศึกษา

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

ขอมูลสวนบุคคล
1. อายุ
2. ระดับการศึกษา
3. ยศ
4. ระยะเวลารับราชการ
5. ประสบการณในการสืบสวน
จับกุม

ปจจัยภายในหนวยงาน
1. ดานผูบังคับบัญชา ปญหาอุปสรรคในการ
2. ดานงบประมาณ ปฏิบัติงานของเจาหนาทีต่ ํารวจ
3. ดานวัสดุอุปกรณ - ขั้นตอนการสืบสวน
4. ดานอัตรากําลัง - ขั้นตอนการจับกุม
5. ดานการสรางขวัญและกําลังใจ

ปจจัยภายนอกหนวยงาน
1. ดานกฎหมาย
2. ดานความรวมมือจากภาค
ประชาชน/ชุมชน
3. การแทรกแซงทางการเมือง

You might also like