You are on page 1of 12

บทที่ 3

ทฤษฎีการออกแบบและการคํานวณ
การแยกเมล็ดในกับกะลาปาลมที่มีขนาดและความถวงจําเพาะที่ใกลเคียงกัน นั้นจะทําการแยกไดคอนขาง
ยาก บางโรงงานมีการใชแรงงานคน หรือการใชเครื่องกลคัดแยก ซึ่งแตละวิธีการก็มีประสิทธิภาพในการแยกที่
แตกตางกัน ในการทดลองนี้จะอาศัยหลักความแตกตางของความถวงจําเพาะระหวางเมล็ดในกับกะลาปาลมและ
ความถ ว งจํ า เพาะของสารตั ว กลางแขวนลอยที่ มี ค า อยู ร ะหว า งความถ ว งจํ า เพาะของของแข็ ง ผสม ซึ่ ง เป น
กระบวนการแยกของแข็ง ที่มีประสิทธิภาพสูงอยางหนึ่ง ซึ่งผลิตภัณฑที่ไดจากกระ (ขนาดเล็ก )บวนการแยกนี้
ประกอบดวยสองสวน คือ heavy solid และ lighter solid ซึ่งงานวิจัยนี้ไดทําการทดลองทั้งแบบรางเขยาและ
แบบไซโคลน
ไซโคลนเปนเครื่องมือสําหรับแยกอนุภาคออกจากอากาศโดยใชแรงหนีศูนยกลางซึ่งเกิดจากการ
ทําใหกระแสอากาศหมุนวน (vortex) จึงสามารถแยกอนุภาคออกจากอากาศไดการเกิดกระแสวนทําไดโดยการให
อากาศไหลเขาสูไซโคลนในแนวสัมผัส หรือแนวแกนโดยผาน vanes

3.1 กลไกในการจับอนุภาค (collection Mechanisms)


กลไกที่ใชเก็บอนุภาคในไซโคลนมี 2 อยาง
แรงหนีศูนยกลางหรือแรงเหวี่ยง ซึ่งเกิดจากการทําใหกระแสอากาศมีการหมุนทําใหอนุภาคถูกเหวี่ยงไปยัง
ผนังของไซโคลน
เมื่ออนุภาคเคลื่อนถึงผนังของไซโคลนแลว อนุภาคที่หนักจะไดรับแรงถวงทําใหอนุภาคตกลงไปที่ถังพัก
ขางลาง

3.2 หลักการทํางาน
ไซโคลนประกอบดวยสวนรูปทรงกระบอกและมีปลายเปนรูปโคน อากาศเคลื่อนเขาสูไซโคลนในแนว
สัมผัสที่ใกลสวนบนของเครื่องมือดวยความเร็วประมาณ 30 เมตรตอวินาที เมื่ออากาศผานเขามาในไซโคลนจะเกิด
กระแสวน เรียกวา ( main vortex) ขึ้นซึ่งทําใหเกิดแรงหนีศูนยกลาง เหวี่ยงอนุภาคไปยังผนังของไซโคลนกระแส
วนนี้จะเคลื่อนลงจนถึงจุดหนึ่งที่อยูเกือบปลายโคนอากาศจะ หมุนกลับเปนกระแสวนที่เล็กกวาเดิม เรียกวา (core
vortex) และเคลื่อนที่ขึ้นไปตามตัวไซโคลนจนออกไปทางทอออกที่อยูสวนบนของเครื่องนั่นคือมีกระแสวน ชั้น 2
(double vortex) เกิดขึ้นในทิศทางเดียวกันสําหรับอนุภาคที่ถูกเหวี่ยงไปยังผนังของไซโคลนจะเคลื่อนที่ลงไปยัง
สวนปลายของโคนไปยังถังพัก (Hopper) เนื่องจากแรงถวง สวนอากาศที่ไมมีอนุภาคก็จะหมุนออกไปทางทอออกที่
อยูสวนบนของไซโคลน
22

ภาพที่ 3.1 สวนประกอบของไซโคลน

3.3 ชนิดของไซโคลน
ไซโคลนแบงเปน 2 ชนิด ตามวิธีการใหอากาศเขาสูเครื่อง เพื่อใหเกิดการหมุนวน คือ
ก.เขาไซโคลนที่อากาศไหลตามแนวเสนสัมผัส (tangential entry cyclone)
ข.ไซโคลนที่อากาศไหลเขาตามแนวแกน (axial entry)
โดยทั่วไปอากาศไหลเขาสูไซโคลนตามแนวสัมผัส เพื่อใหเกิดการหมุนวน ทอเขามักเปน รูปสี่เหลี่ยมมีผนัง
ภายในคอยๆ โคงและสัมผัสกับไซโคลนสวนที่เปน ทรงกระบอกสํ าหรับไซโคลนชนิดที่มี ทางเขาตามแนวแกน
อากาศและอนุภาคเขาสูไซโคลนตามแนวแกนของเครื่องโดยผาน vanes แบบนี้ใชมากในมัลติไซโคลน ไมวาจะเปน
ไซโคลนชนิดใด จะมีการทํางานขึ้นกับความเฉื่อยของอนุภาคที่ จะเคลื่อนในแนวเสนตรงเมื่ออากาศเปลี่ยนทิศทาง
ทําใหเกิดแรงหนีศูนยกลางดังกลาว
ส ว นใหญ ไซโคลนทํ า มาจากเหล็ กคารบ อนหรือ ใชโ ลหะหรือเซรามิก ใดก็ได ถา ตองการใช ในงานที่ มี
อุณหภูมิสูง การกัดกรอนและสึกกรอน แตผิวภายในตองเรียบ เนื่องจากไซโคลนเปนเครื่องมือที่ ไมมีสวนที่เคลื่อนที่
ดังนั้นการเดินเครื่องจึงงาย และไมตองการการบํารุงรักษามากนัก
นอกจากนี้ไซโคลนอาจแบงออกเปน แบบที่ใชกันทั่วไป (conventional cyclones) และแบบที่ มี
ประสิทธิภาพสูง )high efficiency cyclone) ซึ่งมีขนาดเล็ก )body diameter) (ขนาดเสนผานศูนยกลางนอยกวา
3 เมตร สวนไซโคลนทั่วๆไป มีขนาด 0.9 ถึง 6 ฟุต
ประสิทธิภาพของไซโคลนด คือ ไซโคลนที่มีประสิทธิภาพสูง ไซโคลนที่ใชชนิกันทั่วไป และไซโคลนที่รับ
อัตราการไหลสูง)High volume cyclone)
23

Cyclone คือ อุ ป กรณ ที่ใช กัน มากในโรงงานอุตสาหกรรม และ ใชในวัตถุประสงค เพื่อดักและกําจัด


ฝุน เพื่อทําให ลมที่ผาน cyclone ออกมา มีความสะอาดมากขึ้น, cyclone จะกําจัดฝุนไดโดย ลมที่ผานทางเขา
ของ cyclone จะมีความเร็วสูง และหมุนวนอยูภายใน ทําใหฝุน หรือ สิ่งปลอมปน อาจจะเปน ฝุนไม เขมาตางๆ
เหลานี้ตก ลงสูดานลางดวยแรงโนมถวง โดยฝุนเหลานี้จะเก็บใสภาชนะ เพื่อนําไปทิ้งตอไป High Efficiency (long
cone) cyclone มีลักษณะดังรูปดานบน ในการคํานวณเพื่อหาขนาดของ cyclone ใหเหมาะสมกับอัตราการไหล
ของลม (ที่มีฝุนปะปนมาดวย) จําเปนตองทราบอัตราการไหลของลม (Q : m3/s) เมื่อทราบแลวก็นํามาคํานวณ
ดวยสูตรงายๆดังนี้

D = 3.162*(Q / v)1/2 (3.1)


เมื่อ
D = diameter of cyclone ; m
Q = Air flow rate ; m3/s
v = Air velocity at entrance of cyclone ; m / s

3.4 คํานวณหาขนาดของมอเตอร
จากสมการหากําลังมอเตอร แลวใชคาแรงบิดรวมที่ใชในการขับเพลาคํานวณกําหนดให ใชรอบในการขับ
เพลา 970 รอบตอนาที และมีขนาด 10 แรงมา (จากปายติดที่มอเตอร)

จากสูตรแรงบิดที่กระทําตอเพลาตามสมการ

T = Fr (3.2)

กําหนดให T = แรงบิด (นิวตันเมตร)


F = แรงที่ไดจากทดสอบ (นิวตัน)
r = รัศมีเพลาขับ (เมตร)

จากสูตรหาขนาดแรงมา

WP =
2π TN (3.3)
60

จากสมการกําหนดให
WP คือ แรงมา

T คือ โมเมนตบิด (นิวตันเมตร)


24

N คือ ความเร็วรอบ (รอบตอนาที)

Cyclone คือ อุ ป กรณ ที่ใช กัน มากในโรงงานอุตสาหกรรม และ ใชในวัตถุประสงค เพื่อดักและกําจัด


ฝุน เพื่อทําให ลมที่ผาน cyclone ออกมา มีความสะอาดมากขึ้น, cyclone จะกําจัดฝุนไดโดย ลมที่ผานทางเขา
ของ cyclone จะมีความเร็วสูง และหมุนวนอยูภายใน ทําใหฝุน หรือ สิ่งปลอมปน อาจจะเปน ฝุนไม เขมาตางๆ
เหลานี้ตก ลงสูดานลางดวยแรงโนมถวง โดยฝุนเหลานี้จะเก็บใสภาชนะ เพื่อนําไปทิ้งตอไป High Efficiency (long
cone) cyclone มีลักษณะดังรูปดานบน ในการคํานวณเพื่อหาขนาดของ cyclone ใหเหมาะสมกับอัตราการไหล
ของลม (ที่มีฝุนปะปนมาดวย) จําเปนตองทราบอัตราการไหลของลม (Q : m3/s) เมื่อทราบแลวก็นํามาคํานวณ
ดวยสูตรงายๆดังนี้

D = 3.162*(Q / v)1/2 (3.4)

เมื่อ
D = diameter of cyclone ; m
Q = Air flow rate ; m3/s
v = Air velocity at entrance of cyclone ; m / s

3.5 หลักการทํางานของไฮโดรไซโคลน
หลักการแยกอนุภาคในไฮโดรไซโคลนไมสลับซับซอนและมีวิธีการแยกที่มีประสิทธิผลภาพที่ 3.2 แสดง
อุปกรณไฮโดรไซโคลน ประกอบดวยสวนดานบนซึ่งเปนรูปทรงกระบอกตอกับทางปอนขาเขาซึ่งอยูในทิศทางของ
เสนสัมผัส เพิ่มตอดวยสวนดานลางซึ่งเปนกรวยโดยที่ปลายของกรวยเปด การไหลออกทางด)านลางท (อกระแสวน
หรือการไหลออกทางดานบน ติดอยูภายในของรูปทรงกระบอกดานบนและอยูากว ต าตําแหนงที่ปอนของไหล
การปอนของแข็งที่อยูในรูปของการผสมกับของเหลวและปอนเขาไปทางปอนขาเขาซึ่งจะทําใหเกิดการวนลงไป
โดยอาศัย แรงหนีศูนย กลางเนื่ องจากการเคลื่อนที่ของของเหลว ของแข็งจะเคลื่อนที่ไปตามแนวผนังด วยแรง
หนีศูนยกลาง และมวนเปนวงลงสูทางไหลออกดานลางตรงสวนปลาย เมื่อของไหลเขาใกลศูนยกลางจะเกิดมี
ทิศทางทวนกลับและมวนเปนวงขึ้นไปออกจากตัวแยก ผานทอกระแสวนทางดานบนผลกระทบดังกลาวนี้ เกิดขึ้น
ตามแนวใจกลางของการวนของของไหลภายในจุดศูนยกลางของเครื่องแยก ดังนั้น อนุภาคที่ใหญกวาและหนา
แนนกวาจะออกผานทางปลายดานลาง ขณะที่อนุภาคที่เล็กกวาและหนาแนนนอยกวาจะออกทางดานบน สําหรับ
การออกแบบไฮโดรไซโคลนที่ใชในอุตสาหกรรม จะขึ้นอยูกับประเภทของอนุภาคของของแข็งดวย
เมื่อปอนสารแขวนลอยดวยความดันสูงเขาไปในไฮโดรไซโคลน ของเหลวจะเกิดการไหลหมุนวน เปนผลให
เกิดแรงเหวี่ยงกระทําตออนุภาคซึ่งมีผลทําใหอนุภาคถูกผลักใหไหลไปติดผนังดานขางของไฮโดรไซโคลน )primary
vortex) อนุภาคขนาดตางกัน หรือมีคาความถวงจําเพาะตางกันจะมีแรงสูศูนยกลางตางกัน ทําใหแยกออกจาก
กันไดโดยอนุภาคที่มีความหนาแนนนอยจะเคลื่อนที่เขาไปยังศูนยกลาง )secondary vortex) และหมุนเปนเกลียว
ขึ้นขางบน ออกทางชองทางออกดานบน )Vortex finder) เรียกวาการไหลดานบน )overflow) ขณะที่อนุภาคที่มี
25

ความหนาแนนมากกวาจะเคลื่อนที่เปนเกลียวลงไปตามผนังของไฮโดรไซโคลน และไหลออกทางชองทางออกดาน
ลาง )Spigot) เรียกวาการไหลดานลาง )underflow) ดังแสดงในภาพที่ 3.3 และการไหลดานลางจะถูกปลอยออก
มาดวยความดันเทากับความดันบรรยากาศ

ภาพที่ 3.2 โครงสรางของไฮโดรไซโคลนที่มา :Kraipech. (2002)

ภาพที่ 3.3 ลักษณะการไหลภายในไฮโดรไซโคลนที่มา :Kraipech. (2002).


26

3.6 การใชงานและขอดีขอเสียของไฮโดรไซโคลน
3.6.1 การใชงานของไฮโดรไซโคลน
1. ใชในการแยกอนุภาคของแข็งออกจากของเหลวได เชน
1.1 การแยกอนุภาคของแข็งออกจากนามันในกระบวนการผลิตามั น น
1.2 การแยกอนุภาคแปงออกจากน้ําแปง
1.3 การแยกอนุภาคของแข็งออกจากโคลนขุดเจาะ
1.4 การแยกสินแรจากสารละลายแขวนลอยในกระบวนการแตงแร
2. ใชในการเพิ่มความเขมขนของอนุภาคของแข็งใหสูงขึ้น และการทําใหของไหลใสขึ้น
ไดแก
- การทําใหสารละลายแขวนลอยมีความเขมขนเพิ่มขึ้นกอนจะสงไปเขากระบวนการดึงเอาของเหลวออก
(deliquoring) อาทิเชน การผลิตโพลิเมอร ถานหิน และ ยูเรีย
- การทําใหสารละลายแขวนลอยที่ไดจากการตกผลึก มีความเขมขนมากขึ้น อาทิเชน อุตสาหกรรมการ
ผลิตกรดอะดิปก (adipic acid) และการผลิตแอมโมเนียซัลเฟต
- ใชในการคัดจําพวกของอนุภาค ซึ่งการใชไฮโดรไซโคลนในงานประเภทนี้อนุภาคของแข็งที่มี ขนาดเล็ก
จะติดออกไปกับของเหลวทางออกดานบน สวนอนุภาคที่มีขนาดใหญกวาจะหลุดออกไปทางออกดานลางไดแก
1 การแยกอนุภาคที่หนักและหยาบที่ไมตองการออกจากเยื่อกระดาษในอุตสาหกรรมผลิตเยื่อ กระดาษ
และกระดาษ
2 การแยกขนาดอนุ ภ าคที่ ใ หญ เ กิ น ไปออกเช น อุ ต สาหกรรมผลิ ต ปู น ขาวดิ น ขาวและเซรามิ ก ซ
3 การแยกเอาวั ต ถุ ที่ ล ะเอี ย ดออกจากสารละลายแขวนลอยในการผลิ ต แร โ ปแตชและอื่ น ๆ
4 การคัดขนาดอนุภาคในกระบวนการตกผลึกสาร โดยปกติไฮโดรไซโคลนจะถูกนํามาใชแยกอนุภาคที่มี
ขนาดตั้งแต 4 - 600 ไมครอน ขอดีอีกอยางหนึ่งที่เห็นไดชัดของไฮโดรไซโคลนคือ การที่สามารถทํางานได
อยางต อเนื่องโดยไมมีชิ้น ส วนที่ เคลื่อนไหวจึงทําใหไฮโดรไซโคลนมีร าคาถูกติดตั้งได งาย และเสี ยคา
บํารุงรักษานอยจากการศึกษางานวิจัย )Kraipech, 2002) ทําใหสามารถสรุปขอดีและขอเสียของไฮโดร
ไซโคลนไดดังนี้
3.6.2 ขอดีของไฮโดรไซโคลน
1. ไฮโดรไซโคลนสามารถใชในการปฏิบัติการแยกสารไดหลายกระบวนการ
2. ไฮโดรไซโคลนสามารถสรางแรงเฉือนไดสูง เพื่อหยุดการรวมตัวกันเปนกลุมของสาร
3. ไฮโดรไซโคลนเปนอุปกรณที่งายตอการใชงานมีราคาถูกและงายตอการติดตั้งและการบํารุงรักษา
4. ขนาดของไฮโดรไซโคลนมีขนาดเล็ก ทําใหงายตอการติดตั้ง และอุปกรณไฮโดรไซโคลนให residence times ใน
การแยกตาเมื่อเปรียบเทียบกับอุปกรณอื่น เชน Sedimentation
3.6.3 ขอเสียของไฮโดรไซโคลน
1. มีขีดจํากัดในการแยกเชน ความดันในการปฏิบัติงาน และ Cut size อันเนื่องมาจากรูปทรงของไฮโดรไซโคลน
2. มีความไมยืดหยุนในการติดตั้งและปฏิบัติงานของไฮโดรไซโคลน
3. งายตอการสึกกรอน เพราะวามีคาความเร็วของสารปอนสูง
3.6.4 ประสิทธิผลของไฮโดรไซโคลน
27

ประสิทธิผลการเก็บ )collection efficiency) ของไฮโดรไซโคลนนั้นขึ้นอยูกับหลายปจจัย


ประสิทธิผลจะเพิ่มขึ้นเมื่อปจจัยตอไปนี้เพิ่มขึ้น
1. ขนาดของอนุภาค
2. ความหนาแนนของอนุภาค
3. ความเร็วเขาของของผสม
4. ความยาวของตัวไฮโดรไซโคลน
5. ความเรียบลื่นของผนังไฮโดรไซโคลน
ประสิทธิผลจะลดลงเมื่อปจจัยตอไปนี้เพิ่มขึ้น
1. ความหนืดของของผสม
2. เสนผาศูนยกลางของไฮโดรไซโคลน
3. พื้นททางเขาของของผสม

3.7 รูปแบบการไหลของของเหลวในอุปกรณไฮโดรไซโคลนแบบไมมีแกนโลหะ
เมื่ออนุภาคที่ตองการแยกผานเขาไปในไฮโดรไซโคลนทางชองปอน จะเกิดความเร็วสัมผัสไปจนถึงสวน
ทรงกระบอกของไฮโดรไซโคลน โดยจะเกิดการไหลแบบการไหลวนซอนการไหลวน )spiral within spiral)
อนุภาคจะเคลื่อนที่ลงโดยการหมุนวน บางสวนของอนุภาคที่ไมสามารถออกจากไฮโดรไซโคลนทางชองทางออกด
านลางก็จะเคลื่อนที่หมุนวนภายในขึ้นสูดานบนและออกจากไฮโดรไซโคลนทางชองทางออกดานบน การหมุนวน
ของของไหลจะมีทิศทางเดียวกันโดยที่การหมุนวนภายนอกจะเคลื่อนที่ลงสูดานลาง สวนการหมุนวนดานในจะ
เคลื่อนที่ขึ้นดานบนรูปแบบการไหลสามารถอธิบายไดโดยการแบงความเร็วออกเปน 3 สวน คือ ความเร็วในแนว
สัมผัส(tangential velocity, vt ) ความเร็วในแนวรัศมี )radial velocity, vr ) และความเร็วในแนวดิ่ง )axial
velocity, va ) และมีการไหลในระยะสั้นๆ หรือการหมุนวนปนปวนรวมอยูดวย การหมุนวนภายในไฮโดรไซโคลน
จะทําใหเกิดแกนในแนวดิ่งที่มีความดันาต ซึ่งเปนแกนของอากาศ )air core) ซึ่งการเกิดแกนอากาศนี้ เปนการ
สูญเสียพลังงานจลน
3.7.1 ความเร็วในแนวสัมผัส )tangential velocity, vt )
ที่บริเวณดานลางของปลาย vortex finder ความเร็วแนวสัมผัสจะเพิ่มขึ้นเมื่อรัศมีลดลงจนถึงคาหนึ่งซึ่งรัศมี
นอยกวารัศมีของ vortex finder ดังภาพที่ 3.4 สามารถอธิบายเปนความสัมพันธ ดังนี้

Vt r n = cons tan t (3.5)

เมื่อ 0.6 < n < 0.9 และขณะที่รัศมีลดลงตอไปอีก ความเร็วแนวสัมผัสจะลดลงโดยที่ความเร็วแนวสัมผัส


แปรผันโดยตรงกับรัศมี “r” จนกระทั่งถึงบริเวณแกนอากาศ )air core)
สวนบริเวณดานบนเหนือปลายของ vortex finder ขึ้นไป ความเร็วแนวสัมผัสยังคงมีแนวโนมเหมือนกับ
ตอนแรกถึงแมวาจะไมคอยถูกตองนักที่บริเวณใกลกับผนังของไฮโดรไซโคลนโดยเฉพาะอยางยิ่งที่บริเวณใกลๆ กับ
ผนังดานนอกของ vortex finder และจะลดลงอยางรวดเร็วเมื่อถึงผนัง นอกจากนี้แลวความเร็วแนวสัมผัสยังไม
28

ขึ้นกับตําแหนงในแนวดิ่ง

ภาพที่ 3.4 ความเร็วในแนวสัมผัส(v t ) ที่ตําแหนงตางๆ ในสวนกรวยที่มา :Heiskanen. (1993). p. 64.


R R

3.7.2 ความเร็วในแนวแกน )axial velocity, v a ) R R

การไหลของของเหลวดวยความเร็วแนวแกนนั้น มีความจําเปนอยางมากในการทํางานของไฮโดรไซโคลน
เพราะวานําเอาอนุภาคไหลออกมา จากภาพที่ 3.5 บริเวณดานลางของปลาย vortex finder จากผนังของแกน
อากาศ จนถึง LZVV (locus zero vertical velocity) ซึ่งเปนบริเวณที่ความเร็วแนวแกนเปนศูนย การไหลของ
ของเหลวจะไหลขึ้นขางบนและออกสูทางออกดานบน(overflow) สวนของเหลวที่เหลือ ตั้งแตบริเวณ LZVV ถึง
ผนังของกรวยจะไหลลงมา และออกสูทางออกดานลาง )underflow) ที่บริเวณ vortex finder นั้น ของเหลวจะมี
ความเร็วสูงสุดและไหลลงมาที่บริเวณใกลๆ กับผนังของไฮโดรไซโคลนชวงหนึ่งและขณะที่ความเร็วแนวแกนลดลง
จนกระทั่งเปนศู นย ของเหลวจะเริ่มไหลขึ้น จนมีความเร็ว แนวแกนสูงสุดและลดลงจนเป น ศูน ย ในที่สุดอีกครั้ง
ของเหลวจะไหลลงจนมีความเร็วแนวแกนที่มีคาคอนขางมากที่บริเวณใกลๆ ผนังดานนอกของ vortex finder
29

ภาพที่ 3.5 ความเร็วในแนวแกน (v a ) ที่ตําแหนงตางๆ ในสวนกรวย


R R

ที่มา :Heiskanen. (1993). p. 168.

3.7.3 ความเร็วในแนวรัศมี )radial velocity, v r )


R R

ความเร็วของของเหลวในแนวรัศมี จากภาพที่ 3.6 พบวาความเร็วแนวรัศมีซึ่งเขามาดานในและขนาดของ


ความเร็วแนวรัศมีจะลดลงเมื่อรัศมีลดลง และยังไมรูวาความเร็วแนวรัศมีจะคอยๆลดลงจนกลายเปนศูนยที่แกน
อากาศหรือไม เนื่องจากความยากในการวัดความเร็วที่ระดับเหนือปลาย vortex finder ของเหลวอาจจะมีการ
เคลื่อนที่ออกไปดานนอกตามแนวรัศมีเพราะวามีการไหลแบบหมุนวนและที่บริเวณใกลๆ แผนปดดานบนของ
ไฮโดรไซโคลนอาจจะมีความเร็วแนวรัศมี ซึ่งมีทิศทางเขามาดานในตามแนวรัศมีอยางรุนแรง กระทําโดยตรงตอ
สวนที่ยื่นของ vortex finder ซึ่งเปนสวนที่สนับสนุนใหเกิดการไหลลัดกระแส )short circuit flow) ที่ผนังดาน
นอกของ vortex finder หรือ eddy flows ดังภาพที่ 3.7
30

ภาพที่ 3.6 ความเร็วในแนวรัศมี (v r ) ที่ตําแหนงตางๆ ในสวนกรวย ที่มา :Heiskanen. (1993). p. 165.


R R

ภาพที่ 3.7 การเกิด short circuit และ eddy flows ที่มา :Heiskanen. (1993). p. 165.

จากองคประกอบตางๆ ของความเร็วของของเหลวสามารถที่จะแสดงเปนลักษณะของภาพที่เปนตัว
แทนรูปแบบการไหลของของเหลวภายในไฮโดรไซโคลนไดดังภาพที่ 3.8
31

ภาพที่ 3.8 รูปแบบการไหลของของเหลวภายในไฮโดรไซโคลนที่มา :Heiskanen. (1993). p. 166.

3.8 ตัวแปรที่ใชในการคํานวณประสิทธิผลของไฮโดรไซโคลน
3.8.1 การแยกไหลและอัตราสวนการไหล )Flow split)อัตราสวนการแยกไหลของของไหลในไฮโดร
ไซโคลน มีความสัมพันธกับปริมาณของไหลทางดานบนและของไหลทางดานลางแสดงถึงประสิทธิผลการแยกไหล
ในเชิงปริมาณ
3.8.2 ความดันลด )Pressure Drop, ΔP)
ความดันลดเปนตัวแปรตัวแรกที่สําคัญที่ใชในการออกแบบอุปกรณไฮโดรไซโคลน ซึ่งความดันจะมีคาแปรผันตาม
อัตราการไหลของสารปอน )Feed flowrate) การหาคาความดันจะหาไดจากเครื่องมือวัดคาความดันในสวนที่มี
การไหลของของผสมเขาสูอุปกรณไฮโดรไซโคลน จากความสัมพันธระหวางความดันและอัตราการไหลสามารถ
นําไปเขียนกราฟความจุไดดังภาพที่ 3.9
32

ภาพที่ 3.9 กราฟแสดงความจุกับปริมาณอัตราการไหลของอุปกรณไฮโดรไซโคลนที่มา :Kraipech. (2002).

การเพิ่มความดันจะทําใหปริมาณของของผสมที่เขาสูไฮโดรไซโคลน มีปริมาณที่สูงขึ้นทําใหตองมีการ
ปรับเปลี่ยนรูปทรงของไฮโดรไซโคลน และอาจจะทําใหเกิดการสึกกรอนของตัวอุปกรณ

You might also like