You are on page 1of 5

รูปแบบและขัน้ ตอนการขับเคลื่อน ร่ างพระราชบัญญัติ

การจดทะเบียนคู่ชีวิต ในประเทศไทย

บารมี พานิช

วิทยานิพนธ์ นีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร


ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพัฒนาสังคม)
คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้ อม
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
2559
บทคัดย่ อ

ชื่อวิทยานิพนธ์ รูปแบบและขันตอนการขั
้ บเคลือ่ น ร่างพระราชบัญญัติ
การจดทะเบียนคูช่ ีวิต ในประเทศไทย
ชื่อผู้เขียน บารมี พานิช
ชื่อปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การบริ หารการพัฒนาสังคม)
ปี การศึกษา 2559

การศึกษานี ้ มี วัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อ ศึกษารู ปแบบและขัน้ ตอนการขับ เคลื่อ น ร่ าง


พระราชบัญญัติการจดทะเบียนคูช่ ีวิต ในประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาทัศนะต่อการนากฎหมาย ร่าง
พระราชบั ญ ญั ติ ก ารจดทะเบี ย นคู่ ชี วิ ต ของประชาชนในสัง คมไทยมาใช้ การศึ ก ษาใช้
กระบวนการวิจัยเชิ ง คุณ ภาพ โดยเน้ น สัม ภาษณ์ แ บบเจาะลึกกับ ผู้ใ ห้ ข้ อ มูล ที่ ส าคัญ 25 ราย
วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้ หลักตรรกะเทียบเคียงกับแนวคิด ทฤษฎีค วบคู่กับบริ บทและใช้ สถิ ติเชิ ง
พรรณนาประกอบ
ผลการศึกษาพบว่า
1) รู ป แบบและขัน้ ตอนการขับ เคลื่อ น ร่ า งพระราชบัญ ญั ติ ก ารจดทะเบี ย นคู่ชี วิ ต ใน
ประเทศไทย พบว่าเป็ นลักษณะการประกอบกิ จกรรมเพื่อ ส่งเสริ มให้ เกิ ดความเปลี่ยนแปลงใน
กฎหมายในระดับการขับเคลือ่ นตามรูปแบบสันติวิธีตามจารี ตกฎหมาย กล่าวคือมีในระดับ ประเทศ
โดยยึดหลักการและเหตุผลทางกฎหมาย ไม่มีการใช้ ความรุ นแรงและเคารพระเบียบแนวทางการ
จัดทากฎหมายตามข้ อกาหนดของรัฐธรรมนูญ โดยเป็ นการพิจารณาแบบเป็ นทางการ
2) ทัศนะของการประกาศใช้ กฎหมาย ร่ างพระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่ชีวิต ของ
ประชาชนในสังคมไทย ประกอบไปด้ วย ทัศนะความคิดเห็นที่ผา่ นมาจากการใช้ เหตุผลของบุคคลผู้
ทีใ่ ห้ ข้อมูลทีส่ าคัญต่อประเด็นต่างๆดังนี ้ 1) ทัศนะต่อความจาเป็ นของการมีกฎหมายการสมรสของ
บุคคลเพศเดียวกัน 2) ทัศนะต่อความพร้ อมในการนากฎหมายการสมรสของบุคคลเพศเดียวกันมา
ประกาศใช้ 3) ทัศนะต่อการยอมรับกฎหมายการสมรสของบุคคลเพศเดียวกันจากสาธารณชน 4)
ทัศนะต่อความจริ งจังของภาครัฐในการนากฎหมายการสมรสของบุคคลเพศเดียวกันมาใช้ จริ ง
และ 5) ทัศนะต่อผลกระทบจากร่ างพระราชบัญญั ติ การจดทะเบียนคู่ชีวิ ต ต่อ ครอบครั ว และ
(4)

สังคมไทย ซึ่งพบว่าผู้ที่ให้ ข้อมูลสาคัญนัน้ ล้ วนแล้ วแต่ทราบถึงผลกระทบของการไม่ได้ รับ ความ


คุ้ ม ครองจากกฎหมาย ท าให้ เ กิ ด ผลเสี ย ตามมาและสนับ สนุ น การขับ เคลื่ อ นกฎหมายร่ า ง
พระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่ชีวิตได้ อย่างจริ งจัง โดยผ่านระบบเครื อข่ายที่มีอยู่ในหน่วยงาน
กลุม่ องค์การหลายภาคส่วนที่ให้ ความร่วมมืออย่างสม่าเสมอ
ข้ อเสนอแนะสาคัญคือ การร่ วมสร้ างแนวทางการป้อ งกัน แก้ ไข และพัฒนา ด้ าน
นโยบาย ได้ แ ก่ ภ าคประชาสังคมควรส่ง เสริ มความเข้ าใจเรื่ อ งความหลากหลายทางเพศโดย
หน่วยงานรัฐและเอกชนหรื อองค์การทางกฎหมาย และสถาบันการศึกษาต้ องร่วมพัฒนาความเท่า
เทียมของมนุษย์ และสถาบันครอบครัวถือเป็ นหลักในการแก้ ไขปั ญหาด้ านการปลูกฝั งทัศนคติ ที่
เข้ าใจต่อความแตกต่างหลากหลายของเพศสภาพ ตลอดจนด้ านวิชาการ ควรร่วมสร้ างองค์ความรู้
และสร้ างความเข้ าใจที่ถูกต้ อง เพื่อประโยชน์ในการแก้ ไขปั ญหาความไม่เท่าเทียมทางเพศสภาพ
ของสังคมมนุษย์อย่างยัง่ ยืน
ABSTRACT

Title of Thesis Forms and Procedures Driven Bill of Same-sex Marriage


in Thailand.
Author Mr. Baramee Panich
Degree Master of Arts (Social Development Administration)
Year 2016

The research aims to 1) to study forms and procedures driven bill of same-sex
marriage in Thailand. 2) to examine perspective towards the law. Registration
companion bill for people used in Thailand. The study has qualitative research process.
Focus on in-depth interviews with 25 key-informants. Data analyzed using logic similar
to the concept and theory coupled with context and accompanying phenomena.
The results showed that 1) Forms and procedures driven bill of same- sex
marriage in Thailand. The results of the study were as activities to change the law. The
method of propulsion is a peaceful way. There are legal procedures of the country.
Legal principles and reasons no violence and respect the rules or regulations . Law
making use constitutional provisions formal consideration
2) The views of the enactment of the law bill of same-sex marriage in Thailand.
People in Thai society there are comments and reasoning from people who provide
important information. There are many issues. 1) Perception of necessity of same-sex
marriage law. 2) Attitude to the adoption of same-sex marriage law. 3) Comments on
the adoption of same-sex marriage law by the people. 4) Comments of the seriousness
of the government to enforce same-sex marriage laws. 5) Impact assessment bill of
same-sex marriage registration of spouse there are family members and Thai society.
The results of the study are those who provide important information. The impact is not
(6)

protected by law. There is no unfair effect and people support the drive bill of
same-sex marriage. There is a network of people in many organizations cooperating.
Suggestion is to develop a policy to prevent, correct and develop policies.
Namely civil society promote understanding sexuality. Public and private agencies or
legal organization and educational institutions please help develop human equality.
The family has protect problem solving ability that can cultivate attitudes to knowing
the heterogeneity of gender. We can invent academic good knowledge for the correct
understanding. Have a solution gendered inequalities in human society.

You might also like