You are on page 1of 89

อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)

ศึกษาเกี่ยวกับพลังงานความรอน งาน และพลังงานภายในของระบบมหภาพ

สมดุลความรอน (Thermal Equilibrium) : ไมมีการถายเทความรอน

กฎขอที่ 0 ของอุณหพลศาสตร : วัตถุสองชิ้นซึ่งอยูในสภาวะสมดุลความรอน


จะมีอุณหภูมิเทากัน

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 1


ความรอน (Heat ; Q) : พลังงานซึ่งถายเทระหวางวัตถุที่มีอุณหภูมิตางกัน
Q เปน + เมื่อระบบไดรับความรอน Q เปน - เมื่อระบบสูญเสียความรอน

งาน (Work ; W) : พลังงานซึ่งถายเทระหวางวัตถุที่มีแรงกระทําระหวางกัน


W เปน + เมื่อระบบทํางาน W เปน - เมื่อระบบไดรับงาน
G
G G F G
จาก dW = F ⋅ ds dW = ⋅ ( Ads )
A
จะได dW = P ⋅ dV

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 2


W

Vf
พื้นที่ใตกราฟ
และ W = ∫ dW = ∫ PdV ระหวาง P-V
Vi

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 3


พิจารณาการเปลี่ยนสถานะจาก i ไป f ผานเสนทาง (a) และ (b)
P i (a) P i Qb1 > 0 (b)
Qa1 < 0 Qb2 < 0
Qa2 > 0 f
Wb > 0 f
Wa > 0
V V
ΔQa = Qa1 + Qa 2 ΔQb = Qb1 + Qb 2
ΔWa = Wa ΔWb = Wb

จะเห็นไดวา ΔQ และ ΔW ที่เกี่ยวของ ขึ้นกับกระบวนการ


ระหวางสถานะเริ่มตนและสถานะสุดทาย
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 4
จากการทดลองพบวาปริมาณ ΔQ − ΔW มีคาคงที่ไมขึ้นกับกระบวนการ
ระหวางสถานะเริ่มตนและสถานะสุดทาย

นั่นคือปริมาณ ΔQ − ΔW จะแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงสมบัติภายในบางอยาง
ของระบบ ซึ่งเราจะเรียกวา พลังงานภายใน(Internal energy ; U)

สรุปไดวา การเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในของระบบ ΔU จะเกิดขึ้นไดเฉพาะ


จากการถายเทความรอนความรอน ΔQ และ/หรือการถายเทงานของระบบ ΔW
ΔU = ΔQ − ΔW
หรือ กฎขอที่ 1 ของอุณหพลศาสตร
dU = dQ − dW

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 5


ΔU = Q

ΔU = − ΔW

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 6


ในกรณีของกาซอุดมคติ
เนื่องจากอนุภาคไมมีอันตรกิริยาระหวางกัน ดังนั้นจึงไมมีพลังงานศักย
เนื่องจากอนุภาคอื่น มีเพียงพลังงานจลนเทานั้น จํานวนอนุภาค
นั่นคือ พลังงานภายในของกาซอุดมคติ U = N KE
พลังงานจลนเฉลี่ย
ของอนุภาค
จากทฤษฎีจลนของกาซ 3
KE = kT
2

ดังนั้น 3
พลังงานภายในของกาซอุดมคติ U = NkT
2
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 7
กาซอุดมคติเปลี่ยนสถานะจาก A ไป B (Case 1) และจาก C ไป D (Case 2)
กรณีใดจะมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในของกาซมากกวา

P(atm) P(atm)
(1) กรณีที่ 1 จาก A ไป B
(2) กรณีที่ 2 จาก C ไป D 4 B 4
C

(3) เทากัน 2
A
2
D
Case 1 Case 2
(4) ไมทราบ 3 9 V(m3) 3 9 V(m3)

8
ΔU = NkΔT = (Pf V f − PiVi )
22 3 3
62
8 2 2
ΔU1 = 45 atm - m3
0 20 40 60 80
M01 Sci25 8.00-9.00 am ΔU 2 = 9 atm - m 3
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 8
กาซอุดมคติเปลี่ยนสถานะจาก A ไป B (Case 1) และจาก C ไป D (Case 2)
กรณีใดจะมีการถายเทความรอนมากกวา
P(atm) P(atm)

(1) กรณีที่ 1 จาก A ไป B C


B
(2) กรณีที่ 2 จาก C ไป D 4
A
4
D
2
(3) เทากัน
2
Case 1 Case 2

(4) ไมทราบ 3 9 V(m3) 3 9 V(m3)

28 Vf ΔW1 = 18 atm - m 3
10 ΔW = ∫Vi
PdV
ΔW2 = 18 atm - m 3
52
10 จากกฏขอ 1 ΔQ = ΔU + ΔW
ΔQ1 = 45 + 18 = 63 atm - m 3
0 20 40 60
M01 Sci25 8.00-9.00 am ΔQ2 = 9 + 18 = 27 atm - m 3
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 9
ตัวอยาง ที ่ 100 oC ความดัน 1 atm (1.01x105 Pa) น้ํา 1 kg มีปริมาตร 1x10-3 m3

กลายเปนไอน้ําทั้งหมดซึ่งมีปริมาตร 1.671 m3
และความรอนแฝงการเปนไอเทากับ 2256 kJ/kg

1. ระบบนี้ทํางานเทาไร
Vf

W = ∫ dW = P ∫ dV = P(V f − Vi )
Vi

= (1.01× 105 )(1.671 − 1× 10−3 ) J

= 1.69 × 105 J

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 10


2. มีความรอนถายเทเทาไร
ΔQ = m ⋅ L = (1)(2256 × 103 ) J

= 22.56 × 105 J

3. พลังงานภายในของระบบเปลีย่ นแปลงเทาไร
ΔU = ΔQ − ΔW
= 22.56 × 105 − 1.69 × 105 J

= 20.87 × 105 J

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 11


กระบวนการทางอุณหพลศาสตรที่นาสนใจ
1. กระบวนการปริมาตรคงที่ (Constant-volume processes, Isochoric processes)
ปริมาตรคงที่ตลอดกระบวนการ P i
นั่นคือ dV = 0 dW = 0
f
จากกฏขอที่ 1 จะไดวา dU = dQ
V
ในกรณีระบบกาซอุดมคติ
⎛ 3 ⎞ = n 3 ( N k )T = n 3 RT
U = N ⎜ kT ⎟ A
⎝2 ⎠ 2 2
เลขอโวกาโด N A = 6.02 ×1023 mol-1 จํานวนโมล
คานิจของกาซ R = 8.31 J/mol ⋅ K
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 12
จะไดวา ⎛3 ⎞
dQ = dU = n⎜ R ⎟dT
⎝ 2 ⎠ ดังนั้น C = 3 R
จากการทดลอง dQ = nCV dT
V
2
เมื่อปริมาตรคงที่พบวา = 12.5 J/mol ⋅ K
CV : ความรอนจําเพาะตอโมลที่ปริมาตรคงที่
(Molar specific heat at constant volume)
จากการทดลอง กาซ CV (J/mol ⋅ K )
He 12.5
Ar 12.6
3
นั่นหมายความวา KE = kT เปนจริงอยางที่ทฤษฎีจลนของกาซทํานายไว
2
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 13
ขอสังเกต ระบบกาซอุดมคติซึ่งไมมีการเปลี่ยนแปลงจํานวนอนุภาค
การเปลี่ยนแปลงพลังงานภายใน(dU) จะขึ้นกับกับการเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิเพียงอยางเดียวเทานั้น และไมขึ้นกับกระบวนการอีกดวย

dU = nCV dT สําหรับกาซอุดมคติทุกกระบวนการ

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 14


กระบวนการใดมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในมากที่สุด

(1)
1 T1 กาซอุดมคติ
(2) T2
(3) T3
(4) 2 3
4
40
20
10
30
ΔU = nCV ΔT
0 10 20 30 40
ΔU 4 > ΔU1 = ΔU 2 > ΔU 3 = 0
M01 Sci25 8.00-9.00 am
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 15
2. กระบวนการความดันคงที่ (Constant-preessure processes, Isobaric processes)
ความดันภายนอกคงที่ตลอดกระบวนการ P
นั่นคือ P = constant f i
ในกรณีระบบกาซอุดมคติ
V
dU = nCV dT

dW = PdV = d (PV ) = nRdT

จากกฏขอที่ 1 dU = dQ − dW

nCV dT = dQ − nRdT

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 16


จะไดวา dQ = n(CV + R )dT
ดังนั้น CP = CV + R
จากการทดลอง dQ = nCP dT
เมื่อการความดันคงที่พบวา
CP : ความรอนจําเพาะตอโมลที่ความดันคงที่
(Molar specific heat at constant pressure)

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 17


3. กระบวนการความรอนคงที่ (Adiabatic processes)
เปนการเปลี่ยนแปลงอยางชา ๆ โดยไมมีการถายเทความรอนเขา-ออกจากระบบ
นั่นคือ dQ = 0 P i
จากกฏขอที่ 1 จะไดวา dU = 0 − dW
dU = − dW f
V
ในกรณีระบบกาซอุดมคติ โดย γ = CP
CV
จะไดวา P1V1γ = P2V2γ หรือ PV γ = constant
T1V1γ −1 = T2V2γ −1 หรือ TV γ −1 = constant
T1P1(1−γ ) γ = T2 P2(1−γ ) γ หรือ TP (1−γ ) γ = constant
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 18
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 19
4. กระบวนการขยายตัวอิสระ (Free expansion)
เปนกระบวนที่ไมมีการถายเทความรอน และความดันภายนอกเทากับศูนย

นั่นคือ ΔQ = 0 และ ΔW = 0
กาซ กาซสุญญากาศ
จากกฏขอที่ 1 จะไดวา ΔU = 0

ในกรณีระบบกาซอุดมคติ P i
ΔU = nCV ΔT

ดังนั้น ΔT = 0 f
V
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 20
คิดกันสนุกๆกับ Quantum Vacuum
ในควอนตัมฟสิกส สุญญากาศ หรือ Vacuum ไมใช
สถานะทีไ่ มมีอะไรอยูเลย แตเปนสถานะที่มีพลังงาน
ต่ําสุด โดย ความหนาแนนของพลังงานสุญญากาศมี
คาคงที่
E
ρ = 2 ≈ 10−30 g / cm3
Vc
Pair production ใน Quantum Vacuum
เราอาจจะพิจารณากระบวนการขยายปริมาตรของระบบ โดยพิจารณาวาการขยายตัวของสุญญากาศควอนตัม

อาจารย ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 21


Vacuum Energy มีความดันมีคาลบ
เนื่องจากสุญญากาศมีความหนาแนนพลังงานคงที่ เทากับ ρ ดังนั้นพลังงานภายในของระบบสุญญากาศจะ
เพิ่มขึ้นเมื่อปริมาตรเพิ่มขึ้น ทันทีท่ ี่เปดวาลวใหกาซของ Vacuum ขยายตัว พลังงานของระบบจะเพิม่ ขึ้น
ΔU ∝ ρΔV > 0
จากกฎขอที่ ๑ ของอุณหพลศาสตรจะไดวา
ΔU = ΔQ − W = −W , ΔQ = 0
นั่นคือ
ΔU = − ∫ PdV > 0
เนื่องจาก dV มีคามากกวาศูนยเพราะระบบขยายปริมาตร ดังนัน้ สมการขางบนจึงบอกวา Vacuum state มี
ความดันเปนคา “ลบ”
ปจจุบนั นักฟสิกสเรียก Vacuum Energy วา Dark Energy มีสวนทําใหเอกภพขยายตัว
อาจารย ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 21
พลังงานมือ Dark Energy มีอยูถ ึง 70 เปอรเซ็นตของเอกภพ

Dark Energy ทําใหเอกภพ


ขยายตัวดวยความเรง
คนพบเมื่อป 1998

นักฟสิกสยังไมทราบ
แนชัดถึงธรรมชาติของ
Dark Energy

อาจารย ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 21


5. กระบวนการอุณหภูมคิ งที่ (Isothermal processes)
ไมมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตลอดกระบวนการ
นั่นคือ dT = 0 P i
ในกรณีระบบกาซอุดมคติ
dU = nCV dT f
V
นั่นคือ dU = 0

จากกฏขอที่ 1 จะไดวา 0 = dQ − dW dQ = dW

⎛Vf ⎞ ⎛ Pi ⎞
Q = W = ∫ PdV = NkT ln⎜⎜ ⎟⎟ = NkT ln⎜ ⎟
⎜P ⎟
⎝ Vi ⎠ ⎝ f ⎠
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 21
6. กระบวนการวัฏจักร (Cyclical processes)
กระบวนการที่สถานะเริ่มตน และสถานะสุดทายเปนสถานะเดียวกัน
นั่นคือ dU = 0 P
จากกฏขอที่ 1 จะไดวา 0 = dQ − dW W
dQ = dW i f
V
40 จากกระบวนการในรูป ระบบนี้จะ
20 (1) ดูดความรอน
10
30
จากรู ป W < 0 (2) คายความรอน
ดังนั้น Q < 0 (3) ไมถายเทความรอน
0 10 20 30 40
M01 Sci25 8.00-9.00 am (4) ไมทราบ
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 22
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 23
ฟองของกาซฮีเลียม 5 โมล อยูภายใตผิวน้ํา เมื่อน้ําถูกทําใหอุณหภูมิ
ตัวอยาง
เพิ่มขึ้น 20oC ที่ความดันบรรยากาศ
1. กาซอีเลียมจะไดรับความรอนเทาไร
เปนกระบวนการความดันคงที่ ดังนั้น ΔQ = nCP ΔT
⎛3 ⎞
จะได ΔQ = (5)⎜ R + R ⎟(20)
⎝2 ⎠
= 2077.5 J
2. พลังงานภายในของกาซอีเลียนเปลีย่ นไปเทาไร
จาก ΔU = nCV ΔT
จะได ⎛3 ⎞
ΔU = (5)⎜ R ⎟(20)
⎝2 ⎠
= 1246.5 J
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 24
3. กาซฮีเลียมทํางานเทาไร
จากกฏขอที่ 1 ΔU = ΔQ − ΔW
ΔW = 2077.5 − 1246.5
= 831 J
หรือ
ΔW = ∫ PdV
แทน V =
nRT
จะได ΔW = ∫ nRdT = nRΔT
P
ΔW = (5)(8.31)(20)

= 831 J
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 25
ในกระทอมหลังหนึ่งมีอุณหภูมิ 20oC ทีค่ วามดันบรรยากาศ
ตัวอยาง
เมื่อจุดเตาผิงปรากฏวาอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเปน 25oC อากาศภายใน
กระทอมมีพลังงานภายในเปลี่ยนไปเทาใด
(1) เพิ่มขึ้น
เนื่องจากอากาศในกระทอมสามารถถายเทกับ
(2) ลดลง
อากาศภายนอกได ดังนั้นจึงไมสามารถใช
(3) เทาเดิม
สมการ ΔU = nCV ΔT ได
(4) ไมทราบ
ตองปรับปรุงเปน
40 ΔU = CV Δ(nT )
20
10
30
จาก PV = nRT
⎛ PV ⎞
จะได ΔU = CV Δ⎜ ⎟ = 0
0 10 20 30 40
M01 Sci25 8.00-9.00 am ⎝ R ⎠
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 26
ทฤษฎีการแบงเทากันของพลังงาน (Equipartition of energy theorem )

พิจารณาผลการทดลอง กาซ CV (J/mol ⋅ K )


He 12.5 3
กาซอะตอมเดี่ยว R
Ar 12.6 2

กาซอะตอมคู
N2 29.0 7
R
O2 29.1 2

จาก dU = nCV dT จะได CV = 1 dU


n dT V = const .

จากทฤษฎีจลน U = 3 nRT จะได CV


3
= R
2 2
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 27
จากผลการทดลองแสดงวากาซอะตอมคู มีพลังงานภายในไมเปนไปตามทฤษฎีจลน

แมกซเวลล เสนอวาโมเลกุลทุกชนิดจะมีจํานวนองศาเสรี(degree of freedom)


ซึ่งคือจํานวนวิธีที่โมเลกุลจะสามารถบรรจุพลังงานได
โดยแตละองศาเสรีจะบรรจุพลังงานเฉลี่ย 1 kT ตอโมเลกุล
(หรือ 1 RT ตอโมล) 2
2
ทฤษฎีการแบงเทากันของพลังงาน

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 28


จํานวนองศาเสรี
การเลื่อนตําแหนง การหมุน การสั่น รวม
กาชอะตอมเดี่ยว 3 0 0 3
กาซอะตอมคู 3 2 2 7

จากทฤษฎีการแบงเทากันของพลังงาน จะไดวากาซอะตอมคูจะมีพลังงานเฉลี่ย
เทากับ 7 kT ตอโมเลกุล หรือ 7 RT ตอโมล
2 2

นั้นคือมีพลังงานภายใน 7
U = nRT
2

ดังนั้น สําหรับกาซอะตอมคู CV
7
= R
2
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 29
กาซออกซิเจน 1 โมล (สมมุติใหเปนกาชอะตอมคูที่ไมมีการสั่น)
ตัวอยาง
ขยายตัวที่อุณหภูมิเริ่มตน 310 K จากปริมาตร 12 ลิตร เปน 19 ลิตร
1. ถากระบวนการขยายตัวนี้เปนแบบความรอนคงที่จะมีอุณหภูมิสุดทายเทาใด
γ −1
⎛ Vi ⎞
กระบวนการความรอนคงที่ TiVi γ −1
= Tf V f γ −1
Tf = Ti ⎜⎜ ⎟

⎝Vf ⎠
CP CV + R R
โดย γ = = = 1+
CV CV CV
เนื่องจากเปนกาซอะตอมคูที่ไมมีการสั่น CV = 5 R
2
7
นั่นคือ γ =
5
7 / 5−1
แทนคาจะได T f = (310)⎜ ⎟ ⎛ 12 ⎞
= 258 K
⎝ 19 ⎠
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 30
2. ถาการขยายตัวนี้เปนการขยายตัวอิสระ โดยมีความดันเริ่มตน 2.0 Pa
จะมีความดัน และอุณหภูมิสุดทายเทาไร

การขยายตัวอิสระ dT = 0

ดังนั้น Ti = T f = 310 K

จาก PV = NkT จะได PiVi = Pf V f


⎛ Vi ⎞
ดังนั้น Pf = Pi ⎜⎜ ⎟ = 2.0⎛⎜⎜ 12 ⎞⎟⎟
⎟ ⎝ 19 ⎠
⎝Vf ⎠
= 1.3 Pa

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 31


เครื่องยนตความรอน (Heat Engine)

อุปกรณซึ่งสามารถเปลี่ยนความรอนใหเปนงาน

การประดิษฐเครื่องยนตไอน้ํา นําไปสู
การปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรป

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 32


โดยหัวใจสําคัญของเครื่องยนตคือ สารทํางาน (working substance)
- เครื่องยนตไอน้ํา สารทํางานคือ น้ํา + ไอน้ํา
- เครื่องยนตเบนซิน ดีเซล สารทํางานคือ อากาศ + ละอองน้ํามัน
สารทํางานนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงเปนวัฏจักร
จากกฏขอที่ 1 ΔU = ΔQ − ΔW
0 = [Qh − Qc ] − W
จะได W = Qh − Qc
ดังนั้น ประสิทธิภาพของเครื่องยนต η
Output W Qc
η = = = 1−
Input Qh Qh
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 33
เครื่องยนตเครื่องหนึ่งรับความรอน 1000 J ที่ 300 K และคาย
ตัวอยาง ความรอน 200 J ที่ 100 K ใหงาน 800 J

1. เครื่องยนตนี้ขัดกับกฏขอที่ 1
2. เครื่องยนตนี้มีอยูจริงหรือไม
ของอุณหลศาสตรหรือไม
จากกฏขอที่ 1 จะได (1) มีจริง η = 1 − 200
(1) ขัด 1000
(2) ไมมีจริง = 0.80
(2) ไมขัด W = Qh − Qc
100
800 = 1000 − 200 ηC = 1−
300
40 = 0.67
10
20 30
เครื่องยนตนี้
0 10 20 30 40 0 10 20 30 ขัดกับกฏขอ 2
M01 Sci25 8.00-9.00 am M01 Sci25 8.00-9.00 am
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 34
P เครื่องยนตเบนซิน γ −1
ความรอนคงที่ ⎛ V2 ⎞
Qh η = 1 − ⎜⎜ ⎟⎟
⎝ V1 ⎠
Qc
ความรอนคงที่
V2 V1 V

Qh
P
ความรอนคงที่
Qc เครื่องยนตดีเซล
ความรอนคงที่ (V3 V1 ) − (V2
γ
V1 )
γ

V η = 1−
V2 V3 V1 γ (V3 V1 − V2 V1 )
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 35
P Qh เครื่องยนตไอน้ํา
P1
ความรอนคงที่
P2 Qc
V

(γ −1) γ
⎛ P2 ⎞
η = 1 − ⎜⎜ ⎟⎟
⎝ P1 ⎠

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 36


เครื่องยนตเบนซิน ดีเซลโดยทั่วไป η ~ 25%
เตาปฏิกรณนิวเคลียร η ~ 30%
เครื่องยนตไอน้ํา η ~ 10%

สรุปไดวา ไมมีเครื่องยนตใดสามารถเปลี่ยนความรอน
ใหเปนงานไดทั้งหมด : ไมมีเครื่องยนตสมบูรณแบบ
กฎขอที่ 2 ของอุณหพลศาสตร

ประสิทธิภาพของเครื่องยนตมีขีดจํากัดหรือไม

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 37


เครื่องยนตคารโนต (Carnot Engine)
Sadi Nicolas Léonard Carnot (1796-
1832)

อุณหภูมิคงที่
η = 1−
Tc ความรอนคงที่
Th
ความรอนคงที่
อุณหภูมิคงที่

ที่ชวงอุณหภูมิเดียวกัน ไมมีเครื่องยนตใด
กฎขอที่ 2 ของอุณหพลศาสตร
จะมีประสิทธิภาพสูงกวาเครื่องยนตคารโนต
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 38
เครื่องยนตคารโนตทํางานในชวงอุณหภูมิระหวาง 235oC และ
ตัวอยาง
115oC รับความรอนที่อุณหภูมิสูง 63000 J ตอรอบ
1. เครื่องยนตนี้มีประสิทธิภาพเทาไร
Tc
จาก η = 1−
Th
แทนคาจะได η = 1 − (273 + 115) = 0.236
(273 + 235)
2. เครื่องยนตนี้ทํางานเทาไรตอ 1 รอบ
W จะได
จาก η = W = η ⋅ Qh
Qh
แทนคาจะได W = (0.236)(63000) = 14900 J
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 39
เครื่องยนตคารโนตมีประสิทธิภาพ 22% ทํางานในชวงหางอุณหภูมิ
ตัวอยาง
75oC จงหาอุณหภูมิของแหลงความรอนทั้งสอง

Tc
จาก η = 1−
Th

แทนคาจะได 0.22 = 1 − Tc
Tc + 75

นั่นคือ Tc = 265.9 K

และ Th = 340.9 K

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 40


เครื่องยนตทํางานเปนวัฏจักรดังรูป
ตัวอยาง
โดยสารทํางานเปนกาซอุดมคติอะตอมเดี่ยว

1. เครื่องยนตนี้มีประสิทธิภาพเทาไร P
Pb b
Qc Qca ความรอนคงที่
จาก η = 1 − = 1−
Qh Qab
a c V
a → b กระบวนการปริมาตรคงที่
Vb 8Vb
CV
dQab = nCV dT = Vb dP
R

จะได Qab = CV Vb (Pb − Pa )


R
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 41
b → c กระบวนการความรอนคงที่

ดังนั้น PbVbγ = PcVcγ


จะได 1
Pa = γ Pb
= Pa (8Vb )
γ 8

P
Pb b
จะได ⎛ 1 ⎞ CV
Qab = ⎜1 − γ ⎟ Vb Pb
⎝ 8 ⎠ R ความรอนคงที่

a c V
Vb 8Vb
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 42
c → a กระบวนการความดันคงที่ P
Pb b
CP
dQca = nCP dT = Pa dV
R ความรอนคงที่
CP ⎛ Pb ⎞ c V
จะได Qca = ⎜ γ ⎟(Va − Vc ) a
R ⎝8 ⎠
Vb 8Vb
และ ⎛7 ⎞ CP
Qca = ⎜ γ ⎟ PbVb
⎝8 ⎠ R
7γ 5 กาซอุดมคติ
นั่นคือ η = 1− γ โดย γ =
8 −1 3 อะตอมเดี่ยว
จะได η = 0.623 หรือ 62.3 %

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 43


P
2. เครื่องยนตคารโนตจะมีประสิทธิภาพเทาไร Pb b
ถาทํางานในชวงอุณหภูมิเดียวกับเครื่องยนตนี้ ความรอนคงที่

จาก η = 1−
Tc a c V
Th Vb 8Vb
จากวัฏจักรจะไดวา Th = Tb และ Tc = Ta

ที่สถานะ a PaVa = nRTa

PaVa 1 ⎛ PbVb ⎞ Tb
Ta = = γ⎜ ⎟ = γ
nR 8 ⎝ nR ⎠ 8

นั่นคือ η = 1 − 1γ Tb = 0.969 หรือ 96.9 %


8 Tb
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 44
ตูเย็น เครื่องปรับอากาศ และ Heat pump

อุปกรณถายเทความรอนจากที่ซึ่งอุณหภูมิต่ํา
ไปยังที่ซึ่งอุณหภูมิสูงกวา
สัมประสิทธิ์การทํางานของตูเย็น : cop
Output Qc
cop = =
Input W

จากกฏขอที่ 1 จะได ΔQ = ΔW

นั่นคือ Qc
cop =
Qh − Qc

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 45


อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 46
พิจารณาตูเย็นคารโนต : สารทํางานมีการเปลี่ยนแปลงเปนวัฏจักรคารโนต
แตทิศทางตรงขามกับเครื่องยนตคารโนต
สําหรับวัฏจักรคารโนต จะไดวา Qc = Qh
Tc Th

สําหรับตูเย็นคารโนต cop =
Tc
Th − Tc

จากการทดลองพบวา ไมมีตูเย็นใดสามารถถายเทความรอนจากที่ซึ่งอุณหภูมิต่ํา
ไปสูที่ซึ่งอุณหภูมิสูงกวาไดโดยไมไดรับงาน : ไมมีตูเย็นสมบูรณแบบ
กฎขอที่ 2 ของอุณหพลศาสตร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 47


ตูเย็นคารโนตเครื่องหนึ่งภายในมีอุณหภูมิ -3oC
ตัวอยาง ทํางานโดยมอเตอร 200 วัตตอากาศภายนอกมีอุณหภูมิ 27oC
ตูเย็นนี้สามารถดูดความรอนออกจากภายในตูเย็นไดเทาไรใน 10 นาที

ตูเย็นคารโนต cop = Tc 273 − 3


= = 9
Th − Tc 27 + 3
และ Qc Qc
cop = =
W 200 × 10 × 60

จะได Qc = 9 × 200 × 10 × 60 = 1.08 × 106 J

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 48


Heat pump คารโนตเครื่องหนึ่งทํางานโดยปมความรอนจากภายนอก
ตัวอยาง
ซึ่งมีอุณหภูมิ -5oC เขาสูหองที่มีอุณหภูมิ 17oC ถามอเตอรของ
heat pump ทํางาน 1 จูล จะปมความรอนเขามาในหองไดเทาไร
Qh Qh
Heat pump คารโนต cop =
output
= =
input W Qh − Qc

Heat pump คารโนต cop =


Th 273 + 17
= = 13.18
Th − Tc 17 + 5

Qh Qh
และ cop =
W
=
1

จะได Qh = 13.18 J

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 49


เอนโทรป (Entropy) และกฏขอที่ 2 ของอุณหพลศาสตร
พิจารณาปรากฏการณตามธรรมชาติ
- เมื่อเราจับแกวน้ําที่รอน แกวน้ําจะเย็นลง มือเราจะอุนขึ้น : ความรอน
ถายเทจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงไปสูวัตถุที่มีอุณหภูมิต่ํากวา
- น้ําแข็งละลายที่อุณหภูมิหอง
- เมื่อเปดไหปลารา กลิ่นปลาราก็จะกระจายไปทั่วหอง
- การขยายตัวอิสระของกาซ (Free expansion)

สรุปไดวา กระบวนการที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
จะมีทิศทางการดําเนินไปที่แนนอน
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 50
กระบวนการผันกลับไมได : กระบวนการที่ไมสามารถยอนกลับได
(Irreversible processes) เมื่อเปลี่ยนสิ่งแวดลอมทีละนอย ๆ
เชน กระบวนการที่ดําเนินไปเองตามธรรมชาติ

กระบวนการผันกลับได : กระบวนการที่สามารถยอนกลับได
(Reversible processes) เมื่อเปลีย่ นสิ่งแวดลอมทีละนอย ๆ
ไดแกกระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบกึ่งสถิต (quasi-static processes :
ซึ่งระบบจะอยูในสภาวะสมดุลตลอดการเปลี่ยนแปลง )และไมมีการถายเท
ความรอนระหวางระบบทีม่ ีอุณหภูมิตางกัน
เชน ความรอนคงที่, อุณหภูมิคงที่

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 51


คําถาม
พิจารณากระบอกลูกสูบ ซึ่งสามารถที่จะเปนระบบ F = PA

อิสระ หรือเชื่อมตอกับแหลงความรอน อุณหภูมิ


T1 หรือ T2 ตามลําดับ กระบวนการตอไปนี้ เปน
p
T1 T2

กระบวนการที่ผันกลับไดหรือไม เพราะอะไร?
ระบบอิสระ
1) Isochoric (ปริมาตรคงที่)
ก) ผันกลับได ข) ผันกลับไมได F = PA

2) Isobar (ความดันคงที่) Q
T2
System
initially at T1
ก) ผันกลับได ข) ผันกลับไมได
ระบบสัมผัสกับแหลงความรอนภายนอก
อาจารย ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 52
คําอธิบาย
1) Isochoric (ปริมาตรคงที่) 2
ก) ผันกลับได ข) ผันกลับไมได p
1
2) Isobar (ความดันคงที่)
V
ก) ผันกลับได ข) ผันกลับไมได

T1 T2

อาจารย ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 52


เอนโทรป : S นิยาม dS =
dQ หนวย J/K
T
f
จะไดวา dQ
ΔS = ∫
i
T

จากกฏขอที่ 1 dU = dQ − dW

สําหรับกาซอุดมคติ จะไดวา nCV dT = TdS − PdV


dT dV
dS = nCV + nR
T V
f f f
dT dV
ΔS = ∫ dS = nCV ∫ + nR ∫
i i
T i
V
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 52
จะได
⎛ Tf ⎞ ⎛Vf ⎞ สําหรับ
ΔS = nCV ln⎜⎜ ⎟⎟ + nR ln⎜⎜ ⎟⎟
⎝ Ti ⎠ ⎝ Vi ⎠ กาซอุดมคติ

จะเห็นไดวา การเปลี่ยนแปลงของเอนโทรป ( ΔS ) ขึ้นกับสถานะเริ่มตน


และสถานะสุดทายเทานั้น ไมขึ้นกับกระบวนการเปลี่ยนแปลง
เชนเดียวกับพลังงานภายใน ความดัน ปริมาตร และอุณหภูมิ

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 53


กาซอุดมคติ 1 โมล ขยายตัวอยางอิสระจนมีปริมาตรเปน 2 เทา
ตัวอยาง
เอนโทรปเปลี่ยนแปลงไปเทาใด

กาซ สุญญากาศ กาซ

P i
f
ไมทราบเสนทาง
dQ ที่เกิดการเปลี่ยนแปลง
ΔS = ∫
i
T ไมสามารถอินทิเกรตได f
V
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 54
แต ΔS ไมขึ้นกับเสนทางที่เกิดการเปลี่ยนแปลง
ดังนั้นจะเชื่อมสถานะเริ่มตน (i) และสถานะสุดทาย(f) ดวยกระบวนการ
อุณหภูมิคงที่ เนื่องจากการขยายตัวอิสระอุณหภูมิไมเปลี่ยนแปลง

P i P i

f f
V V

การขยายตัวอิสระ กระบวนการอุณหภูมิคงที่

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 55


สําหรับกระบวนการอุณหภูมิคงที่ dT = 0 dU = 0

จากกฏขอที่ 1 จะได dQ = dW = PdV = nRT


dV
V
f 2V
ดังนั้น ΔS = ∫
dQ
= nR ∫
dV
= nR ln 2
i
T V
V
= 5.76 J/K

การหา ΔS ของกระบวนการผันกลับไมได สามารถทําไดโดยการ


ขอสังเกต หา ΔS ของกระบวนการกึ่งสถิตซึ่งเชื่อมระหวางสถานะเริ่มตน
และสถานะสุดทายของกระบวนการผันกลับไมได

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 56


กอนทองแดงมวล 1.5 kg สองกอนมีอุณหภูมิ 20oC และ 60oC
ตัวอยาง
อยูแยกกันดังรูป เมื่อเอาที่กั้นออกและเวลาผานไปสักพัก ทั้งสองกอน
จะมีอุณหภูมิเทากับ 40oC กระบวนการนี้จะมีเอนโทรปเปลี่ยนไปเทาไร
ถาความรอนจําเพาะของทองแดงคือ 386 J/K.kg

20oC 60oC 40oC 40oC

ผันกลับไมได

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 57


แทนกระบวนการผันกลับไมได ดวยกระบวนการกึ่งสถิต

20oC 60oC 40oC 40oC


Q Q กึ่งสถิต

Tf
⎛ Tf ⎞
f
dQ mcdT
ΔS = ∫ = ∫ T = mc ln⎜⎜⎝ Ti ⎟⎟⎠
T
จะได
i Ti

⎛ 40 + 273 ⎞
ΔS L = (1.5)(386 ) ln⎜ ⎟ = 38.23 J/K
⎝ 20 + 273 ⎠
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 58
และ
⎛ 40 + 273 ⎞
ΔS R = (1.5)(386 ) ln⎜ ⎟ = − 35.86 J/K
⎝ 60 + 273 ⎠
ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของกระบวนการนี้
ΔS process = ΔS L + ΔS R

= 38.23 + (− 35.86)
= 2.4 J/K

ถากระบวนการหนึ่งประกอบดวยกระบวนการยอย ๆ
ขอสังเกต การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของกระบวนการนั้นจะเทากับผลรวม
ของการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของกระบวนการยอย ๆ นั้น

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 59


กาซอุดมคติเปลี่ยนสถานะจาก a อุณหภูมิ T1 เปนสถานะ b และ c
ตัวอยาง
ซึ่งมีอุณหภูมิ T2 เทากัน การเปลี่ยนแปลงใดมีการเปลี่ยนแปลง
เอนโทรปมากกวา
(1) a ไป b P b T2
(2) a ไป c
(3) เทากัน T2
(4) ไมทราบ a c
T1
V

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 60


ตัวอยาง กาซอุดมคติเปลี่ยนสถานะดังรูป
กระบวนการใดมีการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปมากกวา
P
(1) a ไป b b d
(2) c ไป d
(3) เทากัน a c
(4) ไมทราบ V

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 61


เครื่องยนตคารโนตเครื่องหนึ่งทํางานที่อุณหภูมิระหวาง 850 K และ
ตัวอยาง
300 K เครื่องยนตทํางาน 1200 J ตอรอบซึ่งใชเวลา 0.25 วินาที

1. สารทํางานจะมีเอนโทรปเปลีย่ นไปเทาไรเมื่อไดรับความรอนที่อุณหภูมิสูง
f
dQh
ΔS h = ∫
i
Th

เนื่องจากเปนกระบวนการอุณหภูมิคงที่

จะได ΔS h = Qh ระบบรับความรอน
Th

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 62


W Tc
แต η = = 1−
Qh Th

1200
จะได Qh = = 1855 J
1 − 300 850

นั่นคือ ΔS h =
Qh
=
1855
= 2.18 J/K
Th 850

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 63


2. สารทํางานจะมีเอนโทรปเปลีย่ นไปเทาไรเมื่อคายความรอนที่อุณหภูมิต่ํา
เนื่องจากเปนกระบวนการอุณหภูมิคงที่เชนกัน

จะได ΔSc = − Qc ระบบคายความรอน


Tc

สําหรับกระบวนการวัฏจักร ΔU = 0

จากกฏขอที่ 1 จะไดวา ΔQ = W

Qc = Qh − W = 1855 − 1200 = 655 J

− Qc − 655
นั่นคือ ΔSc = = = − 2.18 J/K
Tc 300
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 64
หรือพิจารณาจากการที่สารทํางานจะมีเอนโทรปเทาเดิมเมื่อวัฏจักรครบรอบ
นั่นคือ ΔS = 0 = ΔS h + ΔS a1 + ΔS a 2 + ΔSc

แตกระบวนการความรอนคงที่ dQ = 0 ΔS a = 0

จะได 0 = ΔS h + ΔS c

ดังนั้น ΔSc = − 2.18 J/K

ขอสังเกต
- สําหรับทุกวัฏจักร สารทํางานจะมีเอนโทรปเทาเดิมเมื่อวัฏจักรครบรอบ
Qh Qc
- สําหรับวัฏจักรคารโนต ΔS h = − ΔSc หรือ =
Th Tc
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 65
น้ําแข็งมวล 10 กรัม อุณหภูมิ -10oC ใสลงไปในทะเลสาบซึ่งมีอุณหภูมิ
ตัวอยาง o
15 C เมื่อระบบ(น้ําแข็ง+ทะเลสาบ) เขาสูสมดุลความรอนอีกครั้ง
เอนโทรปเปลี่ยนไปเทาไร โดย Cice = 2200 J/kg ⋅ K
Cwater = 4190 J/kg ⋅ K Lice→water = 333 kJ/kg ⋅ K

ΔSice +lake = ΔSice + ΔSlake


แทนกระบวนการผันกลับไมไดดวยกระบวนการกึ่งสถิต
จะได ΔSice = ΔS −10 o C →0 o C
ice + ΔS 0o C
ice → water + ΔS 0 o C →15o C
water

โดย
273
mCice ⎛ 273 ⎞
−10 C → 0 C
= ∫
o o
ΔS ice dT = mCice ln⎜ ⎟ = 0.82 J/K
263
T ⎝ 263 ⎠

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 66


ΔSice
0 C o
=
mLice→ water
=
(
10 × 10-3 )(333 × 103 )
= 12.20 J/K
→ water
T 273
0 o C →15o C ⎛ 288 ⎞
ΔS water = mCwater ln⎜ ⎟ = 2.24 J/K
⎝ 273 ⎠
นั่นคือ ΔSice = 0.82 + 12.20 + 2.24 = 15.26 J/K
น้ําในทะเลสาบจะมีอุณหภูมิคงที่ตลอด
−10 o C → 0 o C 0o C 0 o C →15o C
ΔQ ice ΔQ ice → water ΔQ
water
ΔSlake = − − −
288 288 288
= − 14.52 J/K

ดังนั้น ΔSice+lake = 15.26 + (− 14.52 ) = 0.74 J/K


อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 67
จากตัวอยางสรุปไดวา การเปลี่ยนแปลงซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ(กระบวนการ
ผันกลับไมได) ในระบบปด เอนโทรปของระบบจะมีคาเพิ่มขึ้นเสมอ
ΔSirrev
close system
> 0

ระบบปด : ระบบซึ่งไมมีการแลกเปลี่ยนความรอนกับสภาพแวดลอม

สําหรับกระบวนการผันกลับได จะเห็นไดวา ΔS rev


system
> 0 หรือ ΔS rev
system
<0
แตกระบวนการผันกลับไดจะมีการแลกเปลี่ยนความรอนกับสิ่งแวดลอม
ทําใหระบบทีพ่ ิจารณาจะไมเปนระบบปด
ดังนั้นเพื่อจะใหเปนระบบปดจําเปนจะตองรวมสิ่งแวดลอมเขากับระบบทีเ่ ราสนใจ
นั่นคือ ระบบปด = ระบบที่เราสนใจ + สิ่งแวดลอม
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 68
จะไดวา ΔS close system = ΔS system + ΔSenvironment
dQsys dQenv
= ∫ Tsys
+ ∫
Tenv
ระบบจะมีการแลกเปลี่ยนความรอนกับสิ่งแวดลอม
จะไดวา dQsys = − dQenv

สําหรับกระบวนการผันกลับได ระบบจะสมดุลความรอนกับสิ่งแวดลอมตลอดเวลา
นั่นคือ Tsys = Tenv

จะไดวา dQsys dQsys


ΔS = ∫ − ∫
close system
rev
Tsys Tsys

ΔS rev
close system
= 0

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 69


สรุปไดวา

เอนโทรปของระบบปดจะมีคาคงที่ หรือเพิ่มขึ้นเสมอ

ΔS close system
≥ 0 กฎขอที่ 2 ของอุณหพลศาสตร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 70


การสมมูลกันของกฏขอที่ 2 ของอุณหพลศาสตรรูปแบบตาง ๆ
พิจารณาเครื่องยนตความรอน
Qh การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปทั้งหมด
ΔS h = −
Th
ΔS close system = ΔS E + ΔSc + ΔS h
ΔS E = 0
Qc Qh
Qc = −
ΔSc = Tc Th
Tc
จากกฏขอที่ 1 จะไดวา Qh = Qc + W

Qc Qc W
ดังนั้น ΔS close system
= − −
Tc Th Th

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 71


⎧1 1⎫ W
ΔS close system
= Qc ⋅ ⎨ − ⎬ −
⎩Tc Th ⎭ Th
>0 <0
แต ΔS close system ≥ 0 กฎขอที่ 2 ของอุณหพลศาสตร

ดังนั้น Qc > 0 เสมอ

ไมมีเครื่องยนตใดสามารถเปลี่ยนความรอนใหเปนงานไดทั้งหมด
: ไมมีเครื่องยนตสมบูรณแบบ
กฎขอที่ 2 ของอุณหพลศาสตร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 72


Qh
ΔS h = พิจารณาตูเย็น เครื่องปรับอากาศ
Th
ΔS E = 0
Heat pump
Qc
ΔS c = −
Tc
การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปทั้งหมด
ΔS close system = ΔS E + ΔSc + ΔS h
Qc Qh
= − +
Tc Th
จากกฏขอที่ 1 จะไดวา Qh = Qc + W
Qc Qc W
ดังนั้น ΔS close system
= − + +
Tc Th Th
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 73
⎧1 1⎫ W
ΔS close system
= − Qc ⋅ ⎨ − ⎬ +
⎩Tc Th ⎭ Th
<0
แต ΔS close system ≥ 0 กฎขอที่ 2 ของอุณหพลศาสตร

ดังนั้น W > 0 เสมอ

ไมมีตูเย็นใดสามารถถายเทความรอนจากที่ซึ่งอุณหภูมิต่ํา
ไปสูที่ซึ่งอุณหภูมิสูงกวาไดโดยไมไดรับงาน : ไมมีตูเย็นสมบูรณแบบ
กฎขอที่ 2 ของอุณหพลศาสตร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 74


ประสิทธิภาพของเครื่องยนต
พิจารณาเครื่องยนต X ซึ่งสมมุติวามีประสิทธิภาพสูงกวาเครื่องยนตคารโนต
นําเครื่องยนต X มาทํางานใหกับตูเย็นคารโนตดังรูป
จาก η X > ηC
TH จะได QHC > QHX
ความรอนที่ TH ไดรับ
X C
Q H
Q H

Q = QHC − QHX > 0


X C
W และจากกฏขอที่ 1
Q X
L
Q C
L
(
Q = QHC − W − ) (Q X
H −W )
TL Q = QLC − QLX
ความรอนที่ TL สูญเสีย
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 75
TH TH
QHX QHC
Q

X C XC
W
ตูเย็น
QLX QLC Q สมบูรณแบบ
TL TL

แตเราไดพิสูจนแลววาไมมีตูเย็นสมบูรณแบบ ดังนั้น η X > ηC ไมจริง


ที่ชวงอุณหภูมิเดียวกัน ไมมีเครื่องยนตใด
กฎขอที่ 2 ของอุณหพลศาสตร
จะมีประสิทธิภาพสูงกวาเครื่องยนตคารโนต
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 76
เอนโทรป (Entropy) : กลศาสตรสถิติ
การอธิบายคุณสมบัติของระบบมหภาพ
กลศาสตรสถิติ
โดยพิจารณาจากสวนประกอบในระดับจุลภาพ
(Statistical Mechanics)
เชน ทฤษฎีจลนของกาซ

เริ่มจากการพิจารณาระบบกาซอุดมคติ โดยพิจารณาการจัดเรียงของอนุภาค
ในสถานะตาง ๆ

พิจารณาอนุภาค 6 ตัว อยูในกลองฉนวน อนุภาคทุกตัวมีคุณสมบัติเหมือนกัน


แตสามารถจําแนกได โดยในขณะใดขณะหนึ่งอนุภาคแตละตัวอาจอยูในครึ่ง
กลองใดก็ไดดังรูป

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 77


สถานะ จํานวนสถานะยอย (W) โอกาสที่จะพบ
(6 , 0) W = 6C6 = 1 1.65%
(5 , 1) W = 6 C5 = 6 9.38%
(4 , 2) W = 6C 4 = 15 23.44%
(3 , 3) W = 6C3 = 20 31.25%

(2 , 4) W = 6C 2 = 15 23.44%

(1 , 5) W = 6C1 = 6 9.38%

(0 , 6) W = 6C0 = 1 1.65%
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 78
ถามีอนุภาค 100 ตัว อยูในกลอง N
CR =
N!
R!( N − R )!
จํานวนสถานะยอย
W (50,50 ) = 100C50 = 1.01× 10 29
เมื่ออนุภาคเทากันทั้งสองฝง
จํานวนสถานะยอย
W (100,0 ) = 100C100 = 1
เมื่ออนุภาคอยูรวมกันฝงเดียว
1
โอกาสที่จะพบสถานะ (100,0) มีประมาณ ~ 1 × 10 − 29
1.01 × 10 29
ถาใชเวลาในการพิจารณาสถานะของกาซครั้งละ 1 นาโนวินาที
จะตองใชเวลาประมาณ 3× 1012 ป จึงจะพบสถานะ (100,0) สักครั้งหนึ่ง
เวลาดังกลาวมากกวาอายุของเอกภพประมาณ 700 เทา
ในขณะที่โอกาสที่จะพบอนุภาคอยูทั่ว ๆ มีเกือบ 100%
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 79
ดังนั้น จึงเปนไปไมไดเลยทีจ่ ะพบกาชไปรวมกันที่สวนใดสวนหนึ่ง
สําหรับกาซในภาชนะทั่ว ๆ ไป ( > 1024 อนุภาค)

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 80


สมการเอนโทรปของโบลทซมานน
Ludwig Boltzmann (1870) เสนอวา
S = k log W

โดย k = 1.38 × 10−23 J/K คาคงที่ของโบลทซมานน


W : จํานวนสถานะยอย
ของสถานะที่พิจารณา

หลุมฝงศพของโบลทซมานน
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 81
กาซอุดมคติ n โมล ขยายตัวอยางอิสระจนมีปริมาตรเปน 2 เทา
ตัวอยาง
จะมีเอนโทรปเปลี่ยนแปลงเทาไร
สมมุติวากาซ n โมล มี N อนุภาค
ที่สถานะเริ่มตนกาซรวมตัวอยูดานหนึ่งของกลอง (N,0)
นั่นคือ Wi =
N!
= 1
( N!)(0!)
จะไดวา Si = k ln Wi = 0
ที่สถานะสุดทายกาซจะกระจายอยูทั่วทั้งกลอง (N/2, N/2)
N!
นั่นคือ Wf =
( N 2)!( N 2)!
จะไดวา S f = k ln W f = k [ln ( N !) − 2 ln (( N 2 )!)]
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 82
เนื่องจาก N มีคามาก
ln ( N !) ≈ N (ln N ) − N Stirling’s approximation
⎡ ⎛N ⎞ N⎤
จะได Sf = k ⎢ N ln ( N ) − N − N ln⎜ ⎟ − ⎥
⎣ ⎝ 2⎠ 2⎦
= Nk ln 2

= nR ln 2
นั่นคือ การเปลี่ยนแปลงเอนโทรป ΔS = S f − Si
= nR ln 2
ถา n = 1 โมล
จะได ΔS = 5.76 J/K เชนเดียวกับที่เคยคํานวณในตัวอยางที่ผานมา
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 83
จากตัวอยางสรุปไดวา
ระบบจะเปลี่ยนแปลงไปสูสถานะที่มีเอนโทรปสูงสุด
นั่นหมายความวาเอนโทรปของระบบจะมีคาคงที่ หรือเพิ่มขึ้นเสมอ
ไมเคยลดลง ซึ่งก็สอดคลองกับกฏขอที่ 2 ของอุณหพลศาสตร

การที่สถานะหนึ่งมีสถานะยอยเปนจํานวนมากสามารถแปลความหมายไดวา
สถานะนั้นมี “ความไมเปนระเบียบ” มากนั่นเอง นั่นคือเอนโทรปแสดงถึง
ความไมเปนระเบียบของระบบ

ดังนั้นกฏขอที่ 2 ของอุณหพลศาสตร สามารถกลาวไดอีกอยางวา


“ระบบจะเปลี่ยนแปลงไปสูความไมเปนระเบียบสูงสุด” นั่นเอง

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทักษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อุณหพลศาสตร 84

You might also like