You are on page 1of 5

การศึกษาเปรียบเทียบการทุจริตเลือกตั้งขององค์ การบริหารส่ วนตําบล

และเทศบาลในจังหวัดชลบุรี

ทัตดนัย คุ้มครอง

วิทยานิพนธ์ นีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร


ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การเมืองและยุทธศาสตร์ การพัฒนา)
คณะพัฒนาสั งคมและสิ่ งแวดล้ อม
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
2559
บทคัดย่ อ

ชื่ อวิทยานิพนธ์ การศึกษาเปรี ยบเทียบการทุจริ ตเลือกตั้งขององค์การบริ หารส่ วนตําบล


และเทศบาลในจังหวัดชลบุรี
ชื่ อผู้เขียน นายทัตดนัย คุม้ ครอง
ชื่ อปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การเมืองและยุทธศาสตร์ การพัฒนา)
ปี การศึกษา 2559

การศึ ก ษา การศึ ก ษาเปรี ยบเที ยบการทุ จริ ตเลื อกตั้ง ขององค์ก ารบริ หารส่ วนตํา บลและ
เทศบาลในจังหวัดชลบุรี ทําการศึกษาเชิ งคุณภาพ (Qualitative Research) มีวตั ถุ ประสงค์ใน
การศึกษาเพื่อศึกษารู ปแบบการทุจริ ตเลือกตั้งโดยเปรี ยบเทียบระหว่างองค์การบริ หารส่ วนตําบล A
(นามสมมุติ) และเทศบาลตําบล B (นามสมมุติ) และเพื่อหาแนวทางการแก้ไข และป้ องกันปั ญหา
การทุ จริ ตเลื อกตั้งในรู ป แบบต่า ง ๆ ผูศ้ ึก ษาได้ศึ กษาข้อมูล จากเอกสารต่า ง ๆ ที่ เกี่ ยวข้องและ
รวบรวมข้อมูลจากผูใ้ ห้ขอ้ มูลที่สําคัญทั้งหมด 12 คน โดยใช้แนวการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก รวมถึง
การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่ วม ผลการศึกษา พบว่า การใช้หวั คะแนน ระบบอุปถัมภ์ การวางแผน
การเลือกตั้ง เป็ นลักษณะทัว่ ไปของการเลือกตั้งทุกแห่ งที่จะต้องมี และหากในองค์การบริ หารส่ วน
ตําบล A และเทศบาล B มีการใช้หวั คะแนน ระบบอุปถัมภ์ การวางแผนการเลือกตั้งมีการใช้ในทาง
ที่ผดิ ส่ งผลต่อการทําการทุจริ ตการเลือกตั้ง และพบว่า รู ปแบบการทุจริ ตเลือกตั้งขององค์การบริ หาร
ส่ วนตําบล A มีรูปแบบการทุจริ ตการเลือกตั้งการซื้ อเสี ยง การโกงแบบย้ายคนเข้าและออก การจัด
ให้มีคนของตนเป็ นคณะกรรมการเลือกตั้ง และในส่ วนของเทศบาล B มีรูปแบบการทุจริ ตการ
เลื อกตั้งรู ปแบบการซื้ อเสี ยง การตลาดการเมือง และการใช้อาํ นาจรัฐ และเมื่อทําการเปรี ยบเทียบ
รู ปแบบการทุจริ ตการเลือกตั้งระหว่างองค์การบริ หารส่ วนตําบล A และเทศบาล B พบว่า มีรูปแบบ
การทุจริ ตการเลื อกตั้งที่เหมือนกันและแตกต่างกัน รู ปแบบการทุจริ ตการเลือกตั้งที่เหมือนกัน คือ
รู ป แบบการทุ จริ ตการซื้ อเสี ย ง ส่ วนที่ รูปแบบการทุจริ ตการเลื อกตั้งที่ แตกต่ า งกัน คือ องค์ก าร
บริ หารส่ วนตําบล A มีรูปแบบการย้ายคนเข้าและย้ายคนออก รู ปแบบ การจัดให้มีคนของตนใน
กรรมการเลือกตั้ง รู ปแบบการใช้อิทธิ พล ในขณะที่ เทศบาล B ไม่มี และในส่ วนของเทศบาล B
(4)

มีส่วนที่รูปแบบการทุจริ ตการเลือกตั้งที่แตกต่างกัน คือ รู ปแบบการใช้การตลาดการเมือง รู ปแบบ


การใช้อาํ นาจรัฐ ในขณะที่ องค์การบริ หารส่ วนตําบล A ไม่มี
ABSTRACT

Title of Thesis A Comparative Study of Election Frauds Between Tambon


Administrative Organization and Municipality in Chonburi Province
Author Mr. Thutdanai Khumkrong
Degree Master of Arts (Politics and Development Strategy)
Year 2016

This thesis is to study the comparison between the fraud behind Chonburi’s Tambon
Administrative Organization and Municipality’s election. The objective of this thesis is to study
the form of fraud by comparing between Tambon Administrative Organization (A) and
Municipality (B) and finding the solution to solve and prevent the corruption problems in
different forms. The writer has conduct information from related research documents,
interviewing informants in depth, observing and participating. The outcome of this research is
that, in general, it is common that election has to have canvasser system, patron client system,
election campaign. If Tambon Administrative Organization (A) and Municipality (B) faultily uses
canvasser system, patron client system, election campaign which resulted in fraud of the election.
The form of corruption from Tambon Administrative Organization (A) is to buy votes, relocate
people in and out and also using their people as the election’s commission. As for Municipality
(B), the form of corruption is to buy votes, political marketing and also using the government’s
authorities. As a result, by comparing the form of fraud from both Tambon Administrative
Organization (A) and Municipality (B), they are both similarities and differences between both
election types. The similar form of fraud is the buying of votes from Tambon Administrative
Organization (A) and Municipality (B). The different form of fraud is that Tambon
Administrative Organization (A) has the relocation of people in and out and also in the form of
using their people as the election commissions which Municipality (B) does not. Although,
(6)

Municipality (B) has use political marketing and using the government’s authorities, which
Tambon Administrative Organization (A) does not.

You might also like