You are on page 1of 1

Development of After Sun Gel based on Chitosan and Cucumber Fruit

การพัฒนาผลิตภัณฑ์รูปแบบเจลสาหรับผิวหลังออกแดดจากไคโตซานและผลแตงกวา
นสภ.สุรีย์ภรณ์ หทัยงาม, นสภ.ณัฐธิดา แดงสุวรรณ, นสภ.เมตตาพร ตุ้ยดง, นสภ.วรัญญา แปงแก้ว
โครงงานวิจัยทางเภสัชศาสตร์ สาขาบริบาลเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2561
บทคัดย่อ ผลการศึกษา
ตารางที่ 1 การประเมินความพึงพอใจที่มีต่อผลิตภัณฑ์
วัตถุประสงค์: การศึกษานี้เป็นการศึกษาเพื่อพัฒนาตารับเจลจากไคโตซานผสมผงผลแตงกวา สูตรที/่ ส่วนประกอบในตารับ สี กลิ่น เนื้อสัมผัส ลักษณะเนื้อเจล
วิธีการศึกษา: ศึกษาการพัฒนาตารับเจลจากโคโตซานไม่ผสมและผสมผงผลแตงกวา โดยใช้ผงผลแตงกวาที่ความเข้มข้นร้อยละ 5 3 4 ลักษณะใสและเนื้อสัมผัสเนียน กระจายตัว
2% w/w Chitosan + 0.5% w/w Sodium alginate
10 โดยน้าหนัก ทาการเปรียบเทียบความเข้มข้นของโคโตซานที่มีมวลโมเลกุล สูงและเปรียบเทียบชนิด ความเข้มข้นของสาร บนผิวได้ดี ซึมลงสู่ผวิ ได้ง่าย
เพิ่มความหนืด ได้แก่ โซเดียมอัลจิเนต (Sodium alginate) และ ไฮดรอกซีโพรพิลเมทิลเซลลูโลส (Hydroxypropylmethylcellulose, 5 2 3 ลักษณะใสและเนื้อสัมผัสเนียน กระจายตัวบน
2% w/w Chitosan + 1% w/w Sodium alginate
HPMC) ความเข้ ม ข้ น ร้ อ ยละ 0.5, 1 และ 2 โดยน้ าหนั ก พั ฒ นาต ารั บ โดยวิ ธี ก ารกระจายและการห่ อ หุ้ ม (Encapsulation) ผิวได้ดี แต่มีความหนืดมาก ซึมลงสู่ผวิ ได้ยาก
ผงผลแตงกวา และทาการประเมินสมบัติ ทางกายภาพของผลิตภั ณฑ์ ได้แก่ ลั กษณะเนื้อเจล สี ความหนืด ความสามารถ 5 2 1 ลักษณะใสและเนื้อสัมผัสเนียน เหนียว
2% w/w Chitosan + 2% w/w Sodium alginate
ซึมลงสู่ผวิ ได้ยาก
ในการกระจาย ค่าความเป็นกรดด่าง
5 3 3 ลักษณะใสและเนื้อสัมผัสเนียน กระจายตัวบน
ผลการศึกษา: การเตรียมยาพื้นเจลไคโตซานที่ความเข้มข้นร้อยละ 2 โดยน้าหนักโดยไม่ผสมผงผลแตงกวา มีลักษณะใส 2% w/w Chitosan + 0.5% w/w HPMC
ผิวได้ดี แต่มีความหนืดมาก ซึมลงสู่ผิวได้ยาก
เป็ น เนื้ อ เดี ย วกั น ไม่ มี สี มี ค วามเป็ น กรด ด่ า ง เท่ า กั บ 5.42 มี ค วามหนื ด เหมาะสมเมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ เจลไคโตซาน 2% w/w Chitosan + 1% w/w HPMC 5 3 2 ลักษณะใสและเนื้อสัมผัสเนียน เหนียว ซึมลง
ที่ความเข้มข้นร้อยละ 1.5, 2.5 และ 3 โดยน้าหนัก แต่ยังพบว่าเจลที่ได้มีความหนืด ต่า การเติม HPMC และโซเดียมอัล จิเนต 2% w/w Chitosan + 2% w/w HPMC 5 3 1 สู่ผิวได้ยาก
ความเข้ ม ข้ น ร้ อ ยละ 0.5 โดยน้ าหนัก ท าให้ ย าพื้น เจลดั งกล่ าวมี ค วามหนื ด เพิ่ ม ขึ้ น และการกระจายตั ว ดี ขึ้ น และเนื้ อ สั ม ผั ส 5 4 4
เป็นที่พึงพอใจมากที่สุด เมื่อทาการผสมผงผลแตงกวาในยาพื้นเจลไคโตซาน พบว่าความคงตัวทางกายภาพลดลง เนื้อ เจล 2% w/w Chitosan + 0.5% w/w Sodium alginate
มีลักษณะเป็นของเหลว สีเขียวอ่อน จึงทาการห่อหุ้มผงผลแตงกวาด้วยโซเดียมอัล จิเนตความเข้มข้นร้อยละ 2 โดยน้าหนัก + Encapsulate (2% w/w Sodium alginate + 10%
ลักษณะใส มีเม็ดแคปซูลสีเขียวอ่อน ทรงกลม
ร่วมกับโพลิไวนิลไพโรริโดน (Polyvinylpyrrolidone K90, PVP K90) ความเข้มข้นร้อยละ 3 โดยน้าหนัก พบว่าเนื้อเจลมีลักษณะใส w/w Cucumber fruit)
ผิวเรียบ เนือ้ สัมผัสเนียน แผ่กระจายบนผิวได้ดี
เป็นเนื้อเดียวกัน มีความคงตัวเพิ่มขึ้น สามารถเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 27±5 องศาเซลเซียสได้ 24 ชั่วโมง 2% w/w Chitosan + 0.5% w/w Sodium alginate 5 4 4 ซึมลงสู่ผิวได้ง่าย
สรุปผลการศึกษา: ตารับที่มีความคงตัวและลักษณะกายภาพที่เหมาะสมเมื่อเปรียบเทียบกับตารับ อื่นๆในการศึกษานี้ ได้แก่ + Encapsulate (2% w/w Sodium alginate + 3%
สูตรตารั บที่ เตรี ยมโดยใช้ ไคโตซานร้ อยละ 2 โดยน้าหนัก โซเดีย มอัลจิ เนตร้อยละ 0.5 โดยน้าหนัก เป็นสารเพิ่ มความหนื ด w/w PVP K90 + 10% w/w Cucumber fruit)
และห่อหุ้มผงแตงกวาด้วยโซเดียมอัลจิเนตร้อยละ 2 โดยน้าหนักและ PVP K90 ร้อยละ 3 โดยน้าหนัก มีลักษณะเนื้อเจลใส หมายเหตุ: 5 = พึงพอใจมากที่สุด, 4 = พึงพอใจมาก, 3 = พึงพอใจปานกลาง, 2 = พึงพอใจน้อย, 1 = พึงพอใจน้อยที่สุด
เป็นเนื้อเดียวกัน มีความหนืด 21,630±1,252.49 เซนติพอยส์ มีค่าการกระจาย 2.00±0.05 เซนติเมตร มีค่าความเป็นกรด ด่าง
5.5 แต่อย่างไรก็ตามอาจต้องทาศึกษาการพัฒนาสูตรดังกล่าวต่อไปในด้านความคงตัวของผลิตภัณฑ์

บทนา
ประเทศไทยมีอากาศร้อนชื้น อุณหภูมิ สูงเฉลี่ยอยู่ในช่วงระหว่าง 35.5-39.9 องศาเซลเซียสตลอดทั้งปี จึง มีโอกาสสูง
ในการเกิดโรคผิวหนังจากแสงแดด เนื่องจากการสัมผัสรังสีอัลตราไวโอเลตจากแสงแดดเป็นระยะเวลานาน ทาให้เกิดผิวไหม้แดด
(sunburn) ซึ่ ง อาการผิ ว ไหม้ แ ดดจากรั ง สี ยู วี บี ที่ พ บบ่ อ ยได้ แ ก่ ผิ ว มี ลั ก ษณะสี แ ดง เจ็ บ และพุ พ องบริ เ วณ ผิ ว หนั ง สามารถ
รูปที่ 1 ผงผลแตงกวาหลังผ่านการ รูปที่ 2 ผลิตภัณฑ์เจลไคโตซานผสมผงผลแตงกวา ที่มีส่วนผสมของ
ใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ใ ห้ ค วามรู้ สึ ก เย็ น ทาผิ ว หลั ง จากสั ม ผั ส แสงจากดวงอาทิ ต ย์ เช่ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ รู ป แบบเจลช่ ว ยเพิ่ ม ความชุ่ ม ชื้ น
ทาให้แห้งแบบแช่เยือกแข็ง (Freeze drying) Chitosan gel base 2% w/w + encapsulate (2% w/w sodium alginate
ให้แก่ผิวหนังได้ การใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของสารจากธรรมชาติเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการใช้ผลิตภัณฑ์ลดอาการผิวไหม้จาก
+ 10% w/w cucumber fruit + 3% w/w PVP K90)
แสงแดด
ไคโตซานเป็นพอลิเมอร์กึ่งสังเคราะห์ที่ได้มาจากวัตถุดิบทางธรรมชาติ เช่น หัวกุ้ง เปลือกกุ้ง กระดองปู ย่อยสลายได้ตาม ภาพใต้กล้องจุลทรรศน์ ภาพใต้กล้องจุลทรรศน์แบบสเตอริโอ
ธรรมชาติ ในปัจจุบันนิยมนามาใช้ทางการศึกษาและงานวิจัยทางการแพทย์อย่างแพร่หลาย พบรายงานการวิจัยไคโตซานสามารถ
ช่ ว ยลดการอั ก เสบทางผิ ว หนั ง ในหนู ซึ่ ง เป็ น แนวทางที่ ส ามารถใช้ กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ใ ช้ ภ ายนอกส าหรั บ ผิ ว ที่ มี ก ารอั ก เสบ
และการใช้ส่วนผสมจากผลแตงกวา (Cucumis sativus Linn.) ในผลิตภัณฑ์รูปแบบเจลอาจสามารถช่วยปลอบประโลมผิวที่เกิดการ
อัก เสบ ลดอาการบวมบริ เ วณผิ ว หนั งและช่ ว ยกั ก เก็ บ น้ าให้ ผิ ว หนัง ได้ เนื่ องด้ ว ยผลแตงกวามี ส ารส าคั ญ ประกอบด้ ว ยกรด
แอสคอร์บิก (Ascorbic acid) และสารคิวเคอร์บิทาซิน (Cucurbitacin)
ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจการพัฒนาตารับผลิตภัณฑ์รูปแบบเจลสาหรับผิวหลังออกแดดจากไคโตซานและผลแตงกวาซึ่งได้มา รูปที่ 3 Chitosan gel base รูปที่ 4 ผลิตภัณฑ์เจลไคโตซาน รูปที่ 5 Chitosan gel base
จากธรรมชาติช่วยเพิ่มมูลค่าของไคโตซานและแตงกวา เป็นทางเลือกสาหรับผู้บริโภคในการใช้ผลิตภัณฑ์หลังสัมผัสแสงแดด 2% w/w รูปที่ 6 ผลิตภัณฑ์เจลไคโตซาน
ผสมผงผลแตงกวา 2% w/w ผสมผงผลแตงกวา
ระเบียบวิธีวิจัย
รูปที่ 7 ผลิตภัณฑ์เจลไคโตซานผสมผงผลแตงกวา ที่มีส่วนผสมของ Chitosan gel base 2% w/w
รูปแบบการศึกษา: การวิจัยเชิงทดลองทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory experimental study) + encapsulate (2% w/w sodium alginate + 10% w/w cucumber fruit + 3% w/w PVP K90)
ระยะเวลา: 1 มกราคม - 31 มีนาคม พ.ศ.2562 เมื่อเก็บที่อุณหภูมิ 27±5 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง
สถานที่: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
การเตรียมสูตรตารับ ตารางที่ 2 แสดงความหนืด ค่าการกระจายและความเป็นกรดด่าง
1 คัดเลือกหาสูตรตารับที่เหมาะสม โดยเปรียบเทียบความเข้มข้นของไคโตซาน ทดสอบความหนืด ความหนืด ค่าการกระจาย
สูตรที/่ ส่วนประกอบในตารับ ความเป็นกรดด่าง
ค่าการกระจายตัว ความเป็นกรดด่างและประเมินความพึงพอใจต่อลักษณะเนื้อเจล (เซนติพอยส์) (เซนติเมตร)
2% w/w Chitosan 18875.67±741.16 1.53±0.05 5.22
เติม EDTA, 2% w/w Chitosan + 0.5% w/w Sodium alginate 24292.67±1032.506 1.73±0.15 5.22
ละลายไคโตซาน 1.5,2,2.5 และ 3% w/w เติม 0.5, 1 และ 2 % w/w paraben conc 2% w/w Chitosan + 1% w/w Sodium alginate 29996±865.4092 1.56±0.05 5.22
ใน 3% w/w lactic acid HPMC หรือ sodium alginate และ TEA 2% w/w Chitosan + 2% w/w Sodium alginate 32052.33±970.41 1.5±0.1 5.22
2% w/w Chitosan + 0.5% w/w HPMC 28652.33±892.02 2.03±0.05 5.22
2 ขั้นตอนการเตรียมผลแตงกวาในรูปแบบผงแห้ง (ผลแตงกวาจากจังหวัดพะเยา) 2% w/w Chitosan + 1% w/w HPMC 35729.67±1464.13 1.53±0.05 5.22
2% w/w Chitosan + 2% w/w HPMC 38861±1620.32 1.43±0.05 5.22
หั่นผล 2% w/w Chitosan + 0.5% w/w HPMC + 10% w/w
ล้าง 5961±1397 4.00±0.05 5.22
แตงกวาเป็น กรองผ่าน Cucumber fruit
แตงกวา
ผ้าขาวบาง 2% w/w Chitosan + 0.5% w/w Sodium alginate +
ให้สะอาด ชิ้นเล็กๆ 24292.67±1032.506 1.73±0.15 5.21
ปั่น Encapsulate (2% w/w Sodium alginate)
ปอกเปลือก แช่เยือกแข็งทีอ่ ุณหภูมิ -30 ๐ C
ด้วยเครื่องทาความเย็นหมุนเวียน 2% w/w Chitosan + 0.5% w/w Sodium alginate +
(Evaporator EYE PFR-1000) ระเหยแห้งด้วยเครื่องทาแห้งโดยการแช่เยือกแข็ง Encapsulate (2% w/w Sodium alginate + 10% w/w 17504±5142.14 2.10±0.05 5.32
3 การเตรียมเจลไคโตซานผสมผงผลแตงกวา (Freeze dryer EYELA FDU-2110 ) Cucumber fruit)
กระจายไคโตซาน 1 g ใน PG 10 ml จากนั้นเติม lactic acid 20 ml 2% w/w Chitosan + 0.5% w/w Sodium alginate +
แล้วนาไปตัง้ ไว้บนเครื่องกวนแม่เหล็กจนละลายเป็นเนื้อเดียวกัน Encapsulate (2% w/w Sodium alginate + 3% w/w PVP 21630±1252.49 2.00±0.05 5.49
K90 + 10% w/w Cucumber fruit)
เติม EDTA 5 ml จากนั้นเติม paraben concentrate 5 ml

ปรับ pH ให้อยูใ่ นช่วง 5.5-6.0 สรุปผลการศึกษา


จากการศึกษาพบว่าตารับที่มีความตัวและลักษณะกายภาพที่เหมาะสมที่สุด คือ ตารับที่เตรียมโดยใช้ ไคโตซาน
เติม sodium alginate ร้อยละ 0.5 โดยน้าหนัก
ร้อยละ 2 โดยน้าหนัก โซเดียมอัลจิเนต เป็นสารเพิ่มความหนืด ร้อยละ 0.5 โดยน้าหนัก และห่อหุ้มผงแตงกวาด้วย
เตรียมผงผลแตงกวาความเข้มข้นร้อยละ 10 โดยน้าหนัก ในรูปแบบเอนแคปซูเลชั่น โซเดียมอัลจิเนต ร้อยละ 2 โดยน้าหนักและ PVP K90 ร้อยละ 3 โดยน้าหนัก โดยมีลักษณะลักษณะใส มีเม็ดแคปซูลสีเขียว
ด้วย Sodium alginate ความเข้มข้นร้อยละ 2 โดยน้าหนัก ร่วมกับ PVP K90 ความเข้มข้นร้อยละ 3 โดยน้าหนัก อ่อน ทรงกลม ผิวเรียบ เนื้อสัมผัสเนียน แผ่กระจายบนผิวได้ดี ดังรูปที่ 2 มีความหนืด 21,630±1,252.49 เซนติพอยส์
ทดสอบลักษณะทางกายภาพเจลไคโตซานผสมผงผลแตงกวา มีค่าการกระจาย 2.00±0.05 เซนติเมตร มีค่าความเป็นกรด ด่าง 5.5 แต่เจลไม่มีความคงตัว มีลักษณะเป็นของเหลว
ความหนืดลดลง มีสีเขียวขุ่น ดังรูปที่ 7 เนื่องจากในสารละลายผงผลเเตงกวา มีส่วนประกอบของสารที่มีประจุบวก เช่น
ความหนืด (viscosity) ความสามารถในการกระจาย ความเป็นกรดด่าง (pH) โดยใช้เครื่อง pH meter ฟอสเฟส แมกนีเซียม และแมงกานีส ซึ่งมีผลทาให้โครงสร้างของผนังห่อหุ้มที่เกิดจากแคลเซียมคลอไรด์เสียสภาพ
ด้วยเครื่อง Viscometer ยี่หอ้ Brookfield (spreadability) (Sartorius รุน่ Ub-10 meter kit 115 VAC, USA) เนื่องจากฟอสเฟสอาจสามารถเข้าจับกับไอออนที่มีประจุลบในผนังที่ห่อหุ้มได้ โดยทาปฏิกิริยายึดเหนี่ยวระหว่างประจุที่ตรง
หมายเหตุ PG: Propylene glycol, EDTA: Ethylene diamine tetraacetic acid, TEA: Triethanolamine ข้ามกัน (Ionic interaction) ส่งผลให้โครงสร้างผนังห่อหุ้มเสียสภาพไปและความคงตัวของเจลลดลง อาจต้องทาศึกษาการ
กิตติกรรมประกาศ พัฒนาสูตรดังกล่าวต่อไปในด้านความคงตัวของผลิตภัณฑ์
คณะผู้ วิ จั ย ขอขอบพระคุ ณ คณะเภสั ช ศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย พะเยาที่ ก ารสนั บ สนุ น งบประมาณและสถานที่ ใ นการท าวิ จั ย เอกสารอ้างอิง
ขอขอบพระคุณอาจารย์พิมพ์ชนก จรุงจิตร ที่ให้คาปรึกษาและแนะนา รวมถึงเจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์ประจาห้องปฏิบัติการคณะเภสัช 1. Nilsen-Nygaard J, Strand S, Varum K, Draget K, T. Nordgard C. Chitosan: Gels and Interfacial Properties2015. 552-79 p.
ศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย พะเยาทุ ก ท่ า นที่ ใ ห้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ในการใช้ อุ ป กรณ์ เครื่ อ งมื อ รวมถึ ง เทคนิ ค การทดลองต่ า งๆ ตลอดจน 2. Mukherjee PK, Nema NK, Maity N, Sarkar BK. Phytochemical and therapeutic potential of cucumber. Fitoterapia. 2013;84:227-36.
คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่ให้ความอนุเคราะห์เครื่องมือและเจ้าหน้าที่ในการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ทาแห้งแบบแช่เยือกแข็ง จนงานวิจัย 3. Nasrin F, Bulvul IJ, Aktar F, Rashid MA. Anti-inflammatory and antioxidant activities of cucumis sativus leaves. Bangladesh pharmaceutical journal. 2015;18(2):169-73.
ลุล่วงไปได้ด้วยดี

You might also like