You are on page 1of 41

CHILDHOOD OBESITY

Pannarai srisuwan
Phayao hospital
สถานการณ์
¢ ปั จจุบนั จากการสารวจสุขภาพประชาชนไทยครัง8 ที ; 4 พ.ศ. 2551-2552 พบว่า
ภาวะน้าหนักเกินและอ้วนในเด็กมีความชุกเพิม; ขึน8 โดยเด็กอายุ 1-5 ปี เท่ากับร้อย
ละ 8.5 เด็กอายุ 6-11 ปี เท่ากับร้อยละ 8.7 และในเด็กอายุ 12-14 ปี เท่ากับ
ร้อยละ 11.9
การวินิจฉัยโรคอ้วนในเด็ก
¢ 1. เพือ; ป้ องกันความอ้วนไม่ให้ดาํ เนินต่อไปจนเป็ นผูใ้ หญ่และเป็ นสาเหตุให้เกิด
โรคอื;น ๆ ตามมา
¢ 2. เพือ; หาสาเหตุอน;ื ๆ ของโรคอ้วน เช่นพันธุกรรม โรคต่อมไร้ทอ่ แม้จะพบได้
น้อย แต่เป็ นสาเหตุทร;ี กั ษาได้เป็ นส่วนใหญ่
¢ 3. ความอ้วนมีผลให้ความเชือ; มันในตั; วเองของเด็กและวัยรุน่ ทีอ; ว้ นลดลง ซึง; จะมี
ผลต่อความสุขและความสําเร็จของชีวติ ในอนาคต
BODY MASS INDEX (BMI)

BMI = นํา( หน ัก
(สว่ นสูงเป็นเมตร)2

¢ นํ า BMI ทีไ; ด้ไปเปรียบเทียบกับเด็กอายุและเพศเดียวกัน

¢ BMI > 85 percentile ถือว่า overweight

BMI > 95 percentile ถือว่า obesity


¢ BMI ยังขึน8 กับ เชือ8 ชาติ เพศ และ pubertal status และมีความสัมพันธ์กบั
ภาวะแทรกซ้อนของโรคอ้วนทัง8 ความดันโลหิตสูง
SEVERITY

¢ % WH = (น้าหนักตัว (กิโลกรัม) x 100 )/ น้าหนักอ้างอิงตามเกณฑ์สว่ นสูง

overweight >120-140 %

obesity >140-200 %

Morbid obesity >200%


สาเหตุของโรคอ้วน
— พ่อหรือแม่อว้ น
— นิสยั การบริโภคไม่ถกู ต้อง
— ออกกําลังกายไม่เพียงพอและไม่สมํ;าเสมอ
— สภาพแวดล้อมทีส; ะดวกสบายในการใช้ชวี ติ ประจําวันทําให้มกี ารใช้กาํ ลังงาน
น้อย มีผลต่อการสะสมไขมันในร่างกาย และเด็กทีด; โู ทรทัศน์ เล่นคอมพิวเตอร์
และหรือ เล่นเกมส์มากเกินวันละ 2-3 ชัวโมง มี ; ผลทําให้อว้ น และทําให้
ปฏิสมั พันธ์กบั ผูอ้ น;ื
— การเปลีย ; นแปลงภาวะโภชนาการของทารกหลังเกิด
— การไม่ได้กนิ นมแม่และกินนมผงตัง8 แต่หลังเกิด
— การศึกษาของพ่อแม่และเศรษฐานะของครอบครัว
— วิธกี ารเลีย8 งดูทส;ี ง่ เสริมให้เด็กมีพฤติกรรมการกินทีไ; ม่มขี อบเขตหรือข้อจํากัด
ให้เด็กกินทัง8 ข้าว นม ขนมขบเคีย8 ว และเครือ; งดืม; ในปริมาณมาก

ENDOGENOUS OBESITY
¢ พบร้อยละ 10
¢ มีบางส่วนทีส ; ามารถแก้ไขได้ ได้แก่กลุม่ อาการโรคทางพันธุกรรมทีม; ลี กั ษณะทางกาย
ทีผ; ดิ ปกติ เช่น Prader-Willi syndrome หรือสาเหตุจากโรคในระบบต่อมไร้
ท่อ เช่น Cushing syndrome หรือ hypothyroidism โรคดังกล่าวนี8มกั
มีลกั ษณะทางคลินิกเฉพาะคือ
¢ Short stature

¢ Abnormal distribution of fat

¢ Presence of sign of virilization: acne, hirsutism

¢ Purple striae

¢ Hypertension


Hormonal causes Diagnostic clues

Hypothyroidism Increased TSH, decreased


thyroxine (T4) levels

Hypercortisolism Abnormal dexamethasone


suppression test,
Increased 24 hour urine free
cortisol

Primary hyperinsulinism Increased plasma insulin and


C-peptide levels

Pseudohypoparathyroidism Hypocalcemia,
hyperphosphatemia, increased PTH

Acquired hypothalamic Presence of hypothalamic


tumor, infection, syndrome
trauma,vascular lesion Genetic syndromes
Genetic syndromes Associated characteristic
Prader Willi Obesity, unsatiable appetite, mental retardation,
hypogonadism,
strabismus

Laurence Moon/ Obesity, mental retardation, pigmentary retinophathy,


hypogonadism, spastic paraplegia

Alstrom Obesity, retinitis pigmentosa, deafness, diabetes mellitus

Cohen Truncal obesity, mental retardation, hypogonadism, hypotonia

Turner's Short stature, undifferentiated gonads, cardiac abnormalities,


webbed neck, obesity, 45, X genotype

Beckwith-Wiedeman Gigantism, exomphalos, macroglossia, visceromegaly

Sotos' Cerebral gigantism, physical overgrowth, hypotonia,


delayed motor and cognitive development

Weaver Infant overgrowth syndrome, accelerated skeletal maturation,


unusual facies
GENE ASSOCIATIONS
¢ Leptin เกีย; วข้องกับการรักษาสมดุลของพลังงานในร่างกาย
ภาวะทีม; ี Leptin น้อยหรือสมองไม่ตอบสนองต่อสารของ Leptin จะทําให้เกิด
— Insulin resistance
— ร่างกายสร้าง Growth hormone และ Thyroid hormone ลดลง
¢ การเจริญเติบโตช้า แต่กนิ จุ ร่างกายใช้น8ําตาลกลูโคสและไขมันไม่เต็มที ; ทําให้ม ี
ไขมันในเลือดสูงขึน8 มีความดันโลหิต และ มีพฒ ั นาการเข้าสูว่ ยั หนุ่มสาวช้า

HISTORY TAKING
¢ อายุทเ;ี ริม; อ้วน หากอ้วนตัง8 แต่น้อยกว่า 5 ปี อาจมีโรคทางพันธุกรรม
¢ ประวัตก ิ ารรับประทานอาหาร บริโภคนิสยั และการรับประทานอาหารย้อนหลังใน
24 ชัวโมง การออกกํ
; าลังกาย การทํากิจวัตรประจําวัน
¢ ประวัตค ิ รอบครัว ประวัตกิ ารเลีย8 งดู
¢ ประวัตก ิ ารกินยา เนื;องจากยาบางอย่างอาจทําให้อว้ นเช่น ยารักษาจิตประสาท ยากัน
ชัก ยาแก้แพ้
¢ ประวัตวิ า่ มีการอุดกัน 8 ทางเดินหายใจ เช่น มีนอนกรน หรือ มีปัญหานังหลั
; บเวลาเรียน
หรือไม่
¢ ประเมินทางด้านจิตใจเพือ ; ช่วยบอกความพร้อมและความร่วมมือของเด็กและของ
ครอบครัวในการรักษาโรค
PHYSICAL EXAMINATION
¢ ความรุนแรงของโรคอ้วน ความสูง
¢ การกระจายของไขมันว่าเป็ นแบบ truncal, peripheral หรือ
generalized
¢ ระดับพัฒนาการ

¢ ขนาดของ tonsil

¢ ขนาดของต่อมไทรอยด์

¢ อาการแสดงของ insulin resistance ได้แก่ acanthosis nigricans


เป็ นต้น
¢ Tanner stage of genitalia
¢ Skin fold thickness,Waist-hip ratio
LAB INVESTIGATION
¢ แพทย์อาจตรวจเลือดเพือ; ดูวา่ มีโรคเบาหวาน หรือมีความผิดปกติของไขมันในเลือด
ซึง; อาจเกีย; วข้องกับความเสีย; งทางโรคหัวใจได้
¢ การตรวจพิเศษเพือ ; แยกโรคอืน; ๆเช่น
Endocrine:
Thyroidfunctiontest,
sexhormone,
parathyroidhormone
Ultrasound /MRI
DNA
Leptin
COMPLICATION
1.RESPIRATION SYSTEM
¢ Obstructive spleep apnea(OSA) อาจพบร่วมกับต่อมทอนซิลและอดีนอยด์
โต
¢ ปั ญหาจากทางเดินหายใจถูกอุดกัน 8 ในขณะนอนหลับมักจะนอนกรน หรือหยุดหายใจขณะ
หลับ
¢ ปั สสาวะรดทีน ; บในเวลากลางวัน บางรายเรียนหนังสือไม่รเู้ รือ; ง
; อน และชอบนังหลั
; ว้ นมาก อาจมีกอ้ นไขมันพอกและกดทับบริเวณหน้าอก ทําให้ปอดขยายได้จาํ กัด
¢ ด็กทีอ
เกิดกลุม่ อาการ พิกวิกเกียน (Pickwickian syndrome) คือ ทําให้หายใจช้า มี
ก๊าซคาร์บอน ไดออกไซด์คงในเลื
ั; ; บเวลากลางวัน และหยุดหายใจเป็ นช่วงๆ ตาม
อด นังหลั
ด้วยเลือดข้น ขาดออกซิเจน หัวใจโตและอาจเสียชีวติ กะทันหันได้

2.GASTROINTESTINAL SYSTEM
¢ 1.Non alcoholic fatty liver
ี าการ หรือ ปวดท้องด้านขวาร่วมกับกับตับโต ตรวจพบ AST,ALT สูง
¢ อาจไม่มอ

¢ Diagnosis:Ultrasound / liver biopsy


¢ บางตําราแนะนําตรวจคัดกรองระดับ AST,ALT ในเด็กอายุมากกว่า 10 ปี ทเ;ี ริม
; มี
BMI>95
¢ 2.Gall stone

¢ 3.Gastroesophageal reflux

¢ 4.Constipation


3.ENDROCRINE SYSTEM
¢ DM typeII
¢ แนะนํ าคัดกรอง fasting plasma glucose ในเด็กอายุ 10ปี ที;
overweight ร่วมกับปั จจัยเสีย; งคือ1.เบาหวานในครอบครัว 2.มีโรคหรือปั จจัย
เสีย; งอืน; ๆเช่น polycystic ovary syndrome,acanthosis nigrican
และตรวจซํ8าทุก 2 ปี
¢ มักเกิดจากภาวะดือ 8 อินซูลนิ ทําให้เกิดการสะสมของferr fatty acid ในตับ และ
ตับอ่อน กล้ามเนื8อ glucose uptake ลดดลง เพิม; insulin ทําให้
triglyceride เพิม; ขึน8 ไขมันสะสมเพิม; ขึน8 เกิดเป็ นmetabolic syndrome

3.ENDROCRINE SYSTEM
¢ Polycystic ovary syndrome นํ8าหนักเกิน ประจําเดือนผิดปกติ มีสวิ ขน
ดก พบacanthosis nigricans มักพบร่วมกับ ภาวะดือ8 อินซุลนิ เบาหวาน และ
metabolic syndrome
¢ Precocious puberty


4.NEUROLOGICAL SYSTEM

¢ เสีย; งต่อ psudotumor cerebri อาจมีอาการปวดศรีษะ กลัวแสง เห็นภาพ
ซ้อน สูญเสียการมองเห็น
5.CARDIOVASCULAR SYSTEM
¢ 5.1ความดันโลหิตสูง พบได้รอ้ ยละ 10-30 ของเด็กอ้วนโดยไม่ขน8ึ กับอายุ เพศ
และระยะเวลาทีอ; ว้ น ในผูใ้ หญ่พบมีความสัมพันธ์โดยตรงระหว่างความดันโลหิตสูง
กับ BMI และนํ8าหนักทีเ; พิม; ขึน8 ประวัตกิ ารเป็ นโรคหัวใจและหลอดเลือดตัง8 แต่อายุ
น้อยๆ ในครอบครัว ภาวะไขมันในเลือดสูง ภาวะความดันโลหิตสูง การสูบบุหรี ; การ
เป็ นโรคเบาหวานในครอบครัว และพฤติกรรมการดํารงชีวติ แบบสบาย
¢ ดูลกั ษณะการกระจายของไขมัน สามารถบอกถึงความเสีย; งทีจ; ะเกิดโรคหัวใจและ
หลอดเลือดได้ แบ่งเป็ น
¢ 1.central obesity มีการสะสมของไขมันทีบ ; ริเวณ abdomen และ
viscera (truncal obesity) พบร่วมกับความดันโลหิตสูง ภาวะไขมันใน
เลือดสูง และ glucose intolerance
¢ 2.peripheral obesity มีการสะสมของไขมันทีบ ; ริเวณสะโพกและก้น


6.MUSCULOSKELATAL SYSTEM
¢ Orthopedic complication เนื;องจากการทีม; นี 8ําหนักมาก ทําให้มอี ตั รา
เสีย; งต่อการเกิดปั ญหาทาง orthopedic เพิม; ขึน8 ได้แก่ tibial torsion,
bowed legs, slipped capital femoral epiphysis (โดยเฉพาะใน
เด็กชาย) เป็ นความผิดปกติของข้อสะโพกทีพ; บได้บอ่ ยทีส; ดุ ในเด็กวัยรุน่ ทําให้ม ี
อาการปวดข้อสะโพกและข้อเข่าจากการทีม; นี 8ําหนักมาก
7.SKIN
¢ Skin disease เด็กอ้วนมักมีปัญหาด้านผิวหนังได้บอ่ ยโดยเฉพาะบริเวณ deep
skin fold ได้แก่ heat rash, intertrigo, monilial dermatitis
และ acanthosis nigricans
¢ Acanthosis nigricans คือการทีผ ; วิ หนังบริเวณรอยพับมีการหนาตัวและสี
คลํ8าเข้มขึน8 ได้แก่บริเวณรักแร้ ขาหนีบ และบริเวณรอบคอ มีความสัมพันธ์กบั ภาวะ
glucose intolerance ในเด็กและวัยรุน่ ทีอ; ว้ น หรือพบได้เป็ นร้อยละ 56-92
ในเด็กและวัยรุน่ ทีอ; ว้ นและเป็ นโรคเบาหวานประเภทที ; 2
8. PSYCHOSOCIAL SEQUALE

¢ เป็ นผลกระทบทีพ; บได้บอ่ ยทีส; ดุ ในเด็กอ้วน ควรประเมินปั ญหาทางด้านจิตใจ ได้แก่


อาการซึมเศร้า มีทศั นคติต่อรูปร่างตัวเองไม่ด ี มักถูกเพือ; นล้อเลียน ทําให้ไม่มคี วาม
มันใจในตั
; วเอง และไม่กล้าเข้าสังคม มักแยกตัวจากเพือ; นฝูง พบมีความสัมพันธ์
โดยตรงกับภาวะอ้วนและการไม่เชือ; มันในตนเอง โดยเฉพาะในวั
; ยรุน่
¢ สังคมมักเห็นคนอ้วนว่าเป็ นคนเกียจคร้าน ปั ญญาอ่อน ทําอะไรเชือ ; งช้า เด็กอืน; ๆมัก
มีทศั นคติทไ;ี ม่ดตี ่อเพือ; นทีอ; ว้ นแม้แต่ในชัน8 อนุบาล
แนวทางการวินิจฉัยภาวะ METABOLIC SYNDROME
¢ เด็กอายุน้อยกว่า 10 ปี : ไม่มเี กณฑ์การวินิจฉัย ยกเว้นในรายทีม; ปี ระวัตคิ รอบครัวเป็ น
โรคเบาหวานชนิดที ; 2 ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ หรือมีความดันโลหิตสูง
¢ เด็กและวัยรุน ่ อายุ10 ปี ถงึ น้อยกว่า 16 ปี : ถือว่ามีภาวะ metabolic
syndrome ถ้ามี
¢ • ภาวะอ้วนลงพุง โดยมีเส้นรอบเอวมากกว่า 90 เปอร์เซนไทล์

¢ ร่วมกับเกณฑ์ต่อไปนี8อย่างน้อย 2 ข้อ

¢ 1) Triglyceride > 150 มก./ดล.

¢ 2) HDL-cholesterol < 40 มก./ดล

¢ 3) ความดัน systolic > 130 มม.ปรอท หรือค่า diastolic > 85 มม.ปรอท

¢ 4) มีระดับนํ8าตาลหลังงดอาหาร > 100 มก./ดล. หรือเป็ นเบาหวาน

่ ทีอ; ายุ16 ปี ขึน8 ไป: ใช้เกณฑ์เดียวกับในผูใ้ หญ่


¢ วัยรุน
แนวทางการวินิจฉัยภาวะ METABOLIC SYNDROME ใน
เด็กอายุมากกว่า 16 ปี
¢ • ภาวะอ้วนลงพุง โดยในคนเอเชียถือว่ามีภาวะอ้วนลงพุงถ้าผูช้ ายมีรอบเอว> 90 ซม.
(36 นิ8ว)
้ ญิงมีรอบเอว > 80 ซม. (32 นิ8ว)
¢ หรือผูห

¢ ร่วมกับเกณฑ์ต่อไปนี8อย่างน้อย 2 ข้อ:

¢ 1) Triglyceride > 150 มก./ดล.

¢ 2) HDL-cholesterol < 40 มก./ดล ในผูช ้ าย หรือ < 50 มก./ดล ในผูห้ ญิง


¢ 3) ความดัน systolic > 130 มม.ปรอท หรือค่า diastolic > 85 มม.ปรอท

¢ 4) ระดับ นํ8 าตาลในเลือดหลังงดอาหาร> 100 มก./ดล. หรือเป็ นเบาหวาน


TREATMENT
การรักษา
¢ วิธที ด;ี ที ส;ี ดุ คือการป้ องกันและเริม; ตัง8 แต่วยั เด็กเล็ก เพราะฉะนัน8 ในการตรวจทีค; ลินิกเด็ก
ดี ควรเน้นกับพ่อแม่วา่ เด็กทีก; นิ นมขวดมีโอกาสทีจ; ะได้รบั อาหารมากเกินไป ไม่ควรบังคับให้เด็ก
กินมากเกิน และไม่จาํ เป็ นต้องกินนมจนหมด การเลีย8 งลูกด้วยนมแม่และการให้อาหารเสริมช้าทํา
ให้แนวโน้มทีจ; ะเป็ นเด็กอ้วนลดลง
¢ เด็กอายุมากกว่า 2 ปี สามารถใช้ skim milk แทน whole milk ได้อย่าง
ปลอดภัย ไม่ควรให้อาหารหรือขนมหวานเป็ นรางวัลหรือทําให้เด็กสบายใจ เมือ; กินอาหารเสร็จ
ควรให้ผลไม้จะดีกว่าการกินขนมหวาน
¢ ในครอบครัวควรรูว้ า่ อาหารสุขภาพทีม; จี าํ นวนไขมันน้อยกว่าร้อยละ 30 ของจํานวน
แคลอรีทงั 8 หมด
¢ สุดท้ายพ่อแม่ควรจํากัดการดูทวี ขี องเด็ก และสนับสนุนให้มกี ารออกกําลังกายหรือมี
กิจกรรมนอกบ้าน
¢ เมือ; เด็กอ้วนแล้ว ควรพยายามลดนํ8าหนักอย่างจริงจัง โดยมีเป้ าหมายลดนํ8าหนักอย่างช้าๆ
และให้เด็กมีอตั ราการเจริญเติบโตทีป; กติ เพือ; ไม่ให้เด็กรูส้ กึ เครียดหรือท้อใจ โดยลดนํ8าหนักไม่
ควรเกิน 0.5-1 kg / เดือน
CONCEPT OF TREATMENT
¢ 1. weight maintenance ควบคุมนํ8าหนักตัวเมือ; ไม่มภี าวะแทรกซ้อน
เนื;องจากเด็กยังมีการเจริญเติบโตเมือ; ตัวสูงขึน8 และควบคุมนํ8าหนักตัวไม่ให้มากขึน8
¢ weight reductionลดนํ8 าหนักตัวเมือ ; มีภาวะแทรกซ้อนในเด็กอายุมากกว่า 7
ปี
¢ 2.ปรับพฤติกรรม

¢ 3.รักษาและแก้ไขภาวะแทรกซ้อนหรือภาวะผิดปกติทเ;ี กิดร่วมกับนํ8 าหนักเกินและ


โรคอ้วน ร่วมกับการรักษาและควบคุมนํ8าหนัก
DIETARY MANAGEMENT
AAP แนะนําให้เด็กอายุ 6-12 ปี ควบคุมอาหารให้มีพลังงานให้อยู่ในcatabolic
phase แต่ไม่น้อยกว่า 1200kcal/day
ลดอาหารทีDมีพลังงานสูงแต่คณ ุ ค่าทางโภชนาการตําD เช่นนํHาอัดลม ขนมขบเคีHยว
เพิDมการบริโภคผัก ผลไม้ อาหารเส้นใย
ทานธัญพืชขัดสีน้อยแทนข้าวขาว
บริโภคปลาทีDมีไขมันสูงโดยการย่างหรือนึD ง2 ครังH ต่อสัปดาห์
ลดปริมาณเกลือและอาหารสําเร็จรูป
ใช้นํHามันพิชทีDไม่มีไขมันอิDมตัวและtrans fat ตําD แทนไขมันสัตว์
¢ ควรบันทึกการกินอาหารทุกชชนิดทัง8 ชนิด จํานวนของอาหาร เพือ ; ประโยชน์ในการ
ประเมินแบบแผนการกิน เพือ; ให้คาํ แนะนําเกีย; วกับจํานวนอาหารและแคลอรีต่อวันทีค; วร
ได้
PHYSICAL ACTIVITY

¢ เพือ; เพิม; การใช้พลังงาน และอัตราการเผาผลาญ และเปลีย; นไขมันไปเป็ นกล้ามเนื8อ
¢ ออกกําลังกาย โดยเพิม ; ระดับขึน8 อย่างช้า ๆ แนะนําให้ผปู้ ่ วยออกกําลังกาย 3-5 วันต่อ
อาทิตย์เป็ นอย่างน้อย ระยะเวลาการออกกําลังกายระดับเบาๆ ถึงปานกลางควรเป็ นเวลา
ประมาณ 20-30 นาที
¢ ลักษณะของการออกกําลังกายควรเป็ นชนิดทีใ; ช้กล้ามเนื8อมัดใหญ่สามารถรักษาระดับ
เป็ นจังหวะต่อเนื;องได้นานๆ เช่น การวิง; การขีจ; กั รยาน ว่ายนํ8า
¢ ให้ผป ู้ ่ วยเพิม; การเคลือ; นไหวของร่างกาย โดยอาศัยกิจวัตรประจําวันเพือ; เพิม; การใช้
พลังงาน เช่น เดิน หรือ ขึน8 ลงบันไดแทนทีจ; ะใช้ลฟิ ต์ เป็ นต้น
¢ ควรจํากัดการดูทวี ไี ม่ควรเกิน 1-2 ชัวโมงต่ ; อวัน
BEHAVIOR MODIFICATION

¢ การปรับเปลีย; นพฤติกรรมการบริโภคและการดํารงชีวติ โดยให้ผปู้ ่ วยเฝ้ าระวังตนเองทัง8
เรือ; งอาหารและการออกกําลังกาย
¢ ให้ความรูเ้ รือ ; งอาหารแก่เด็กและครอบครัวทัง8 อาหารสุขภาพและอาหารทีม; เี ส้นใย สร้าง
ทัศนคติการกินทีถ; กู ต้อง
¢ ควรจํากัดจํานวนอาหารทีม ; ใี นบ้าน และทีจ; ะทําให้มนี 8ําหนักเพิม; ขึน8
¢ กินอาหารทุกครัง8 ตามเวลาทีโ; ต๊ะอาหารเท่านัน 8 และควรเสิรฟ์ อาหาร 1 ครัง8 เท่านัน8
¢ พ่อแม่ไม่ควรบังคับให้เด็กกินอาหารจนหมด

¢ เปลีย ; นอุปนิสยั การกินอาหาร เคีย8 วอาหารให้ละเอียดและกลืนช้า ๆ


¢ ครอบครัวควรมีสว ่ นร่วมในการรักษาโรคอ้วนในเด็ก โดยจัดอบรมให้ความรูแ้ ก่ผปู้ กครอง
เพือ; ให้มสี ว่ นร่วมในการวางแผนดูแลเรือ; งการกินอาหาร การออกกําลังกาย และให้
กําลังใจแก่ลกู



การป้ องกันการเกิดโรคอ้วนในเด็ก
— 1.ติดตามการเจริญเติบโตของเด็กเป็ นระยะๆและติดตามนํ8าหนักและส่วนสูงกับ
กราฟการเจริญเติบโต ตามเพศและอายุ หากการเจริญเติบโตปกติ เส้นกราฟจะ
ขนานไปกับเส้นเฉลีย; ของค่าปกติ เปอร์เซนไทบ์ท ;ี 50) ไม่เกินเปอร์เซนไทล์ท9;ี 7
— 2.การวัดรอบเอว และเทียบกับค่าทีม; กี ารกําหนดเส้นรอบเอว (วัดผ่านสะดือ)
— 3.งดอาหารทีใ; ห้กาํ ลังงาน/พลังงานสูง เช่น แป้ ง ไขมัน นํ8าตาล
— 4.ให้เด็กมีการเคลือ; นไหวและใช้พลังงานเสมอ ไม่เอาแต่นงดู ั ; โทรทัศน์หรือเล่นเกมส์
นานๆ
— 5.เปลีย; นทัศนคติวา่ เด็กอ้วนน่ารักและพยายามเลีย8 งให้อว้ น
— 6.พ่อแม่ผปู้ กครองควรปฏิบตั เิ ป็ นตัวอย่างในเรือ; งการรับประทานอาหาร การออก
กําลังกาย และควรมีกจิ กรรมร่วมกัน ทีท; าํ ให้มกี ารเคลือ; นไหวมากกว่านังดู
; โทรทัศน์
หรือเล่นเกมส์นาน ๆ
—
ทารก (อายุ 0-12 เดือน)

¢ 1.ให้นมแม่อย่างเดียวตัง8 แต่แรกเกิดถึง 6 เดือน ไม่ตอ้ งให้อาหารอืน; แม้แต่น้า
¢ 2. เริม; ให้อาหารตามวัยเมือ; อายุ 6 เดือน ควบคูไ่ ปกับนมแม่*
¢ 3. เพิม; จานวนมือ8 อาหารตามวัยเมือ; อายุลกู เพิม; ขึน8 จนครบ 3 มือ8 เมือ; ลูกอายุ 10-12 เดือน
¢ 4. ให้อาหารตามวัยทีม; คี ณุ ภาพและครบ 5 หมู ่ ทุกวัน
¢ 5. ค่อย ๆ เพิม; ปริมาณ และความหยาบของอาหารขึน8 ตามอายุ
¢ 6. ให้อาหารรสธรรมชาติ หลีกเลีย; งการปรุงแต่งรส
¢ 7. ให้อาหารสะอาดและปลอดภัย
¢ 8. ให้ดม;ื น้าสะอาด งดเครือ; งดืม; รสหวานและน้าอัดลม
¢ 9. ฝึกวิธดี ม;ื กินให้สอดคล้องกับพัฒนาการตามวัย
¢ 10. เล่นกับลูก สร้างความผูกพัน หมันติ ; ดตามการเจริญเติบโตและพัฒนาการ




เด็กเล็ก (อายุ 1- 5 ปี )

¢ 1. ให้อาหารมือ8 หลัก 3 มือ8 และอาหารว่างไม่เกิน 2 มือ8 ต่อวัน
¢ 2. ให้อาหารครบ 5 หมู ่ แต่ละหมูใ่ ห้หลากหลาย เป็ นประจาทุกวัน
¢ 3. ให้นมแม่ต่อเนื;องถึงอายุ 2 ปี เสริมนมรสจืดวันละ 2-3 แก้ว
¢ 4. ฝึ กให้กน ิ ผัก ผลไม้สดจนเป็ นนิสยั
¢ 5. ให้อาหารว่างทีม ; คี ณ
ุ ภาพ
¢ 6. ฝึ กให้กน ิ อาหารรสธรรมชาติ ไม่หวานจัด มันจัด และเค็มจัด
¢ 7. ให้อาหารสะอาดและปลอดภัย
¢ 8. ให้ดม;ื น้าสะอาด หลีกเลีย; งเครือ; งดืม; ปรุงแต่งรสหวานและน้าอัดลม
¢ 9. ฝึ กวินยั การกินอย่างเหมาะสมตามวัยจนเป็ นนิสยั
¢ 10. เล่นกับลูก สร้างความผูกพัน หมันติ ; ดตามการเจริญเติบโตและพัฒนาการ

ข้อปฏิบตั กิ ารกินอาหารเพือ; สุขภาพทีด; ขี องคนไทย


¢ 1. รับประทานอาหารครบ 5 หมู ่ แต่ละหมูใ่ ห้หลากหลายและหมันดู; แลน้าหนักตัว
¢ 2. รับประทานข้าวเป็ นอาหารหลัก สลับกับอาหารประเภทแปูงเป็ นบางมือ8
¢ 3. รับประทานพืชผักให้มาก และรับประทานผลไม้สดเป็ นประจา
¢ 4. รับประทานปลา เนื8อสัตว์ไม่ตดิ มันไข่ และถัวเมล็
; ดแห้งเป็ นประจา
¢ 5. ดืม; นมให้เหมาะสมตามวัย
¢ 6. รับประทานอาหารทีม; ไี ขมันแต่พอสมควร
¢ 7. หลีกเลีย; งการรับประทานอาหารรสหวานจัด
¢ 8. รับประทานอาหารทีส; ะอาด ปราศจากการปนเปื8 อน
¢ 9. งดหรือลดเครือ; งดืม; ทีม; แี อลกอฮอล์
¢

You might also like