You are on page 1of 56

บทความที่2

การตรวจสอบโดยวิธีถา ยภาพดวยรังสี
(Radiographic Examination)

T - 210 ขอบเขต
วิธีการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีตามที่ไดอธิบายไวในบทความนี้ ใชสําหรับการตรวจสอบวัสดุ
ซึ่งรวมถึงชิ้นงานหลอและรอยเชือ่ มจะตองใชรวมกับบทความที่ 1 ความตองการทั่วไป (General Requirements)
คําจํากัดความของศัพทเทคนิคที่ใชในบทความนี้จะปรากฏในภาคผนวกบังคับ V (Mandatory Appendix V)
ความตองการที่จําเพาะเจาะจงสําหรับผลิตภัณฑพิเศษ เทคนิคพิเศษ และการประยุกตพิเศษจะปรากฏใน
ภาคผนวกบังคับอื่นๆของบทความนี้ดังแสดงในสารบัญ ความตองการเพิ่มเติมเหลานี้จะตองถูกบังคับใชดวย
เมื่อภาคผนวกเกี่ยวของกับการตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวยรังสีที่ดําเนินการ

T – 220 ความตองการทัว่ ไป
T – 221 ความตองการที่เกีย่ วกับเอกสารแนะนําขั้นตอนการตรวจสอบ
T – 221.1 เอกสารแนะนําขัน้ ตอนการตรวจสอบ การตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวยรังสีจะตอง
ดําเนินการเปนไปตามเอกสารแนะนําขั้นตอนการตรวจสอบ ขั้นตอนการตรวจสอบแตละขั้นตอนจะตอง
ประกอบรวมดวยขอมูลดังตอไปนี้
(ก) ชนิดของวัสดุและชวงความหนา
(ข) ชนิดของไอโซโทป (isotope) หรือความตางศักยสูงสุดของรังสีเอกซที่ใช
(ค) ระยะทางระหวางแหลงกําเนิดรังสีถึงวัสดุ (ระยะทาง D ในหัวขอ T – 274.1)
(ง) ระยะทางจากผิวดานแหลงกําเนิดรังสีของวัตถุถึงแผนฟลม (ระยะทาง d ในหัวขอ T – 274.1)
(จ) ขนาดของแหลงกําเนิดรังสี (ขนาด F ในหัวขอ T – 274.1)
(ฉ) ยี่หอ และประเภทของฟลม
(ช) ชนิดของสกรีน (screen) ที่ใช
T – 221.2 การพิสูจนใหเห็นจริงของขั้นตอนการตรวจสอบ การพิสูจนใหเห็นจริงของความทึบแสง
ของแผนฟลม (Density) และภาพของไอคิวไอ (image quality indicator - IQI) ตามขอกําหนดของเอกสารแนะนํา
ขั้นตอนการตรวจสอบสําหรับฟลมภาพ การตรวจสอบจริง หรือฟลมภาพยืนยันเทคนิคจะตองถือวาเปนหลักฐาน
ยืนยันความสอดคลองและเปนไปตามขอกําหนดของขัน้ ตอนการตรวจสอบ

T – 222 การเตรียมพื้นผิว
T – 222.1 ชิ้นงานหลอ พื้นผิวของชิ้นงานหลอจะตองเปนไปตามความตองการสําหรับคุณลักษณะ
เฉพาะของวัสดุที่เกีย่ วของหรือสวนรหัสทีอ่ างอิง รวมถึงเงื่อนไขเพิ่มเติมที่จําเปนสําหรับกระบวนการที่
เหมาะสมใดๆในระดับที่จะทําใหภาพจากฟลมภาพที่ไดรับอันเนื่องมาจากความขรุขระของผิวจะตองไมบดบัง
หรือทําใหเกิดความสับสนกับภาพของความไมตอเนือ่ งใดๆ
T – 222.2 รอยเชื่อม รอยเกล็ดเชือ่ มหรือความไมสม่ําเสมอของผิวรอยเชือ่ มทั้งดานใน (ถาเขาถึงได)
และดานนอกจะตองกําจัดทิง้ ไปโดยกระบวนการที่เหมาะสมใดๆในระดับที่จะทําใหภาพจากฟลมภาพที่ไดรับ
อันเนื่องมาจากความขรุขระของพื้นทีผ่ ิวจะตองไมบดบังหรือทําใหเกิดความสับสนกับภาพของความไมตอเนื่อง
ใดๆ
พื้นผิวที่ขัดเรียบของรอยเชือ่ มตอแบบชนอาจจะเรียบเสมอกับวัสดุเดิม หรืออาจจะมีแนวนูนของรอย
เชือ่ มตอตามสมควร โดยที่สวนโคงนูนจะตองไมสูงเกินขอกําหนดของสวนรหัสทีอ่ างอิง

T – 223 การกระเจิงดานหลังของรังสี
ตัวอักษรตะกั่ว “B” ที่มีขนาดความสูงอยางนอย 13 มม. (1/2 นิ้ว) และมีความหนาอยางนอย 1.5 มม. (1/6
นิ้ว) จะตองถูกยึดติดไวดานหลังของซองที่ใสฟลมแตละอันในระหวางการฉายรังสีเพื่อใชพิจารณาวามีการ
กระเจิงดานหลังของรังสีเขาสูฟลมหรือไม

T – 224 ระบบการระบุเอกลักษณ
จะตองมีระบบสําหรับใชเพื่อทําใหเกิดการระบุเอกลักษณที่ถาวรบนฟลมภาพที่สามารถสอบทานไปถึง
สัญญา ชิ้นงาน รอยเชือ่ มหรือตะเข็บเชือ่ ม หรือหมายเลขของชิน้ งานอยางเหมาะสม นอกจากนีต้ องมีสญ
ั ลักษณ
หรือชือ่ ของบริษัทที่ตรวจสอบและวันที่ของการตรวจสอบฟลมภาพปรากฏชัดเจนและถาวรบนฟลมภาพดวย
ระบบของการระบุเอกลักษณนี้ไมจําเปนตองเปนขอมูลที่ปรากฏบนฟลมภาพ ในทุกๆกรณีขอมูลเหลานี้จะตอง
ไมบดบังพื้นทีข่ องการตรวจสอบที่สนใจ

T – 225 การเฝาตรวจขีดจํากัดของความทึบแสงของแผนฟลม
จะตองใชเครือ่ งมือวัดความทึบแสง (Densitometer) หรือฟลมภาพเปรียบเทียบของชิ้นงานขั้นบันได
(step wedge comparison film) เพื่อประเมินคาความทึบแสงของแผนฟลม

T – 226 ขอบเขตของการตรวจสอบ
ขอบเขตของการตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวยรังสีจะตองถูกระบุไวโดยสวนรหัสทีอ่ า งอิง

T – 230 เครื่องมือและวัสดุ
T – 231 ฟลม
T – 231.1 การเลือกฟลม ฟลมภาพจะตองใชฟลมสําหรับการตรวจสอบดวยรังสีทางอุตสาหกรรม
T – 231.2 การลางฟลม จะตองใชมาตรฐาน SE – 999 คําแนะนํามาตรฐานสําหรับการควบคุมคุณภาพ
ของกระบวนการลางฟลมสําหรับการตรวจสอบดวยรังสี หรือใชขอความวรรคที่ 23 – 26 ของ มาตรฐาน SE - 94
คําแนะนํามาตรฐานสําหรับการตรวจสอบดวยรังสี เพือ่ เปนคําแนะนําสําหรับกระบวนการลางฟลม

T – 232 สกรีนเพิ่มความทึบแสง (Intensifying Screens)


สกรีนเพิ่มความทึบแสง สามารถถูกนํามาใชเมื่อดําเนินการตรวจสอบดวยรังสีตามขอกําหนดของ
บทความนี้

T – 233 รูปแบบของไอคิวไอ (Image Quality Indicator - IQI)


T – 233.1 รูปแบบของไอคิวไอมาตรฐาน ไอคิวไอจะตองเปนแบบรู (hole type) หรือแบบเสนลวด
(wire type) ไอคิวไอแบบรูจะตองถูกผลิตและทําเครือ่ งหมายสอดคลองกับขอกําหนดหรือทางเลือกทีอ่ นุญาตไว
ตามมาตรฐาน SE – 1025 ไอคิวไอแบบเสนลวดจะตองถูกผลิตและทําเครือ่ งหมายสอดคลองกับขอกําหนดหรือ
ทางเลือกที่อนุญาตไวตามมาตรฐาน SE – 747 ยกเวนสําหรับหมายเลขของเสนลวดที่ใหญทสี่ ุดหรือหมายเลข
กํากับอาจยกเวนได ไอคิวไอตามมาตรฐาน ASME จะตองมีลักษณะตามขอกําหนดในตารา T – 233.1 สําหรับ
ไอคิวไอแบบรู และขอกําหนดในตาราง T – 233.2 สําหรับไอคิวไอแบบเสนลวด
T – 233.2 รูปแบบทางเลือกของไอคิวไอ ไอคิวไอจะตองถูกออกแบบและผลิตขึ้นสอดคลองกับ
ขอกําหนดของมาตรฐานระดับชาติและระดับนานาชาติ สามารถนํามาใชตามขอกําหนดของขอ (ก) และ (ข)
และขอกําหนดของวัสดุตามหัวขอ T – 276.1
(ก) ไอคิวไอแบบรู ความไวเสมือนของไอคิวไอ (Equivalent IQI Sensitivity – EPS) ที่คํานวณไดตาม
มาตรฐาน SE – 1025 ภาคผนวก XI จะตองมีคาเทากับหรือดีกวาทีก่ ําหนดไวสําหรับไอคิวไอแบบรูมาตรฐาน
(ข) ไอคิวไอแบบเสนลวด ไอคิวไอแบบเสนลวดที่เปนทางเลือกจะตองมีขนาดเสนผานศูนยกลางของ
เสนลวดทีส่ ําคัญจะตองเทากับหรือเล็กกวาที่กําหนดไวสาํ หรับไอคิวไอแบบเสนลวดมาตรฐาน

T – 234 สถานที่สําหรับตรวจพินจิ ฟลมภาพ


สถานที่สําหรับตรวจพินิจฟลมภาพจะตองมีแสงสวางสลัวโดยมีความเขมของแสงที่จะไมทําใหเกิดการ
สะทอน เงา หรือการ บนฟลมภาพซึ่งจะรบกวนตอกระบวนการตรวจผล อุปกรณที่ใชเพือ่ ตรวจพินิจฟลมภาพ
สําหรับการตรวจผลจะตองมีแหลงกําเนิดแสงที่สามารถปรับความเขมไดใหเพียงพอสําหรับมองเห็นรูที่กําหนด
ของไอคิวไอ หรือ เสนลวดที่กําหนดของไอคิวไอ สําหรับชวงความทึบแสงทีก่ ําหนดสภาพการตรวจพินิจนั้น
แสงจากบริเวณขอบโดยรอบของฟลมภาพหรือแสงที่ทะลุผานสวนทีม่ ีความทึบแสงนอยจะตองไมรบกวนกับ
การตรวจผลฟลมภาพ
ตาราง T – 233.1
เครื่องหมาย ความหนา และเสนผานศูนยกลางของรูสําหรับไอคิวไอแบบรู
(Hole – type IQI designation, Thickness, and Hole Diameters)

ตาราง T – 233.2
เครื่องหมาย เสนผานศูนยกลางเสนลวด และหมายเลขเสนลวด
(Wire IQI Designation, Wire Diameter ,and wire identity)
T – 260 การสอบเทียบ
T – 261 ขนาดของแหลงกําเนิดรังสี
T – 261.1 การยืนยันขนาดของแหลงกําเนิดรังสี เอกสารของผูผ ลิตเครือ่ งมือหรือผูจําหนายเครือ่ งมือ
เชน คูมือทางเทคนิค กราฟการสลายตัวของไอโซโทป (decay curve) หรือเอกสารทีร่ ะบุถึงขนาดทีแ่ ทจริงหรือ
ขนาดที่ใหญทสี่ ุดของแหลงกําเนิดรังสี หรือจุดโฟกัส (focal spot) จะสามารถยอมรับเปนการยืนยันขนาดของ
แหลงกําเนิดรังสี
T – 261.2 การหาขนาดของแหลงกําเนิดรังสี เมื่อไมมเี อกสารของผูผ ลิตเครื่องมือหรือผูจําหนาย
เครือ่ งมือ การหาขนาดของแหลงกําเนิดรังสีสามารถกระทําไดดังนี:้
(ก) เครื่องเอกซเรย สําหรับเครือ่ งเอกซเรยที่สามารถใชงานดวยความตางศักยนอ ยกวาหรือเทากับ 500
กิโลโวลท (kV) ขนาดของจุดโฟกัสสามารถพิจารณาโดยวิธีการใชรูเข็ม (pinhole method)1 หรือพิจารณาตาม
ขอกําหนดของมาตรฐาน SE -1165 วิธีการทดสอบมาตรฐานสําหรับการวัดขนาดของจุดโฟกัสของหลอดเอกซ
เรยอุตสาหกรรมโดยวิธีการใชรูเข็ม
(ข) แหลงกําเนิดรังสีอริ ิเดียม 192 สําหรับอิริเดียม 192 ขนาดของแหลงกําเนิดรังสีสามารถพิจารณา
ตามขอกําหนดของมาตรฐาน SE – 114 วิธีการทดสอบมาตรฐานสําหรับการจัดขนาดของจุดโฟกัสของแหลง
กําเนิดรังสีอุตสาหกรรมอิริเดียม 192

1
Nondestructive Testing Handbook, Volume I , First Edition, pp. 14.32 -14.33,”Measuring Focal Sport Size”
Also, pp. 20 – 21 of Radiography in Modern Industry, Fourth Edition.

T – 262 เครื่องมือวัดความทึบแสง และฟลมภาพเปรียบเทียบของชิ้นงานขั้นบันได


T – 262.1 เครือ่ งมือวัดความทึบแสง เครื่องมือวัดความทึบแสงจะตองไดรับการเปรียบเทียบอยางนอย
ทุกๆ 90 วันในระหวางการใชงานดังตอไปนี้:
(ก) จะตองใช national standard step tablet หรือฟลมภาพเปรียบเทียบของชิ้นงานขั้นบันไดมาตรฐานซึ่ง
สามารถสอบทานจาก national standard step tablet และมีความทึบแสงเปนขั้นอยางนอย 5 ขัน้ ในชวงความทึบ
แสงอยางนอยจาก 1.0 ถึง 4.0 ฟลมภาพเปรียบเทียบของชิ้นงานขั้นบันไดจะตองไดรับการตรวจพิสูจนโดยการ
เปรียบเทียบภายใน 1 ปกับnational standard step tablet กอนนํามาใชครั้งแรก ฟลมภาพจะตองเก็บรักษาไวใน
ซองกันแสงและน้ําที่จัดมาใหโดยผูผ ลิต ฟลมภาพเปรียบเทียบของชิ้นงานขั้นบันไดสามารถใชโดยไมตอ งตรวจ
พิสูจนเปนระยะเวลา 1 ป ตั้งแตนํามาเปดซองใชงาน โดยที่ตอ งอยูภายในชวงระยะเวลาจัดเก็บตามที่ผูผลิต
กําหนด
(ข) จะตองดําเนินการตามขัน้ ตอนที่กําหนดไวของผูผลิตเครือ่ งวัดความทึบแสง
(ค) จะตองอานคาลําดับขัน้ ความทึบแสงที่ใกลเคียงกับ 1.0, 2.0, 3.0 และ 4.0 จาก national standard step
tablet หรือฟลม ภาพเปรียบเทียบของชิ้นงานขั้นบันได
(ง) เครื่องวัดความทึบแสงจะยอมรับไดถา คาความทึบแสงทีอ่ านไดมคี าความคลาดเคลื่อนไมมากกวา
± 0.05 หนวยความทึบแสงจากคาความทึบแสงทีร่ ะบุไวบน national standard step tablet หรือ ฟลมภาพ
เปรียบเทียบของชิ้นงานขั้นบันได
T – 262.2 ฟลมภาพเปรียบเทียบของชิ้นงานขั้นบันได ฟลมภาพเปรียบเทียบของชิ้นงานขั้นบันได
จะตองตรวจพิสูจนกอ นการใชงานครั้งแรก ยกเวนเมือ่ ผูผ ลิตไดตรวจพิสูจนแลวดังตอไปนี้:
(ก) ความทึบแสงของฟลมภาพเปรียบเทียบของชิน้ งานขั้นบันไดจะตองตรวจพิสูจนโดยใชเครือ่ งวัด
ความทึบแสงที่ไดรับการปรับเทียบแลว
(ข) ฟลมภาพเปรียบเทียบของชิ้นงานขั้นบันไดจะยอมรับไดถาคาความทึบแสงทีอ่ านไดมีความ
คลาดเคลือ่ นไมมากกวา ±0.1 หนวยความทึบแสงจากคาความทึบแสงจริงที่ระบุไวบนฟลมภาพเปรียบเทียบของ
ชิ้นงานขั้นบันได
T – 262.3 การตรวจพิสจู นตามกําหนดเวลา
(ก) เครื่องวัดความทึบแสง การตรวจสอบเพื่อตรวจพิสจู นตามกําหนดเวลาของเครือ่ งวัดความทึบแสง
จะตองดําเนินการตามทีก่ ําหนดไวในหัวขอ T - 262.1 ที่เวลาเริ่มตนของแตละกะหลังจากการใชงานอยางตอ
เนื่องมา 8 ชั่วโมง หรือหลังจากการเปลี่ยนแปลงของชองรับแสง ขึ้นกับวาสิ่งใดเกิดขึน้ กอน
(ข) ฟลมภาพเปรียบเทียบของชิ้นงานขั้นบันได การตรวจพิสูจนเพื่อตรวจสอบจะตองดําเนินการเปน
ประจําทุกป ตามหัวขอ T – 262.2
T - 262.4 การจัดทําเอกสาร
(ก) เครื่องวัดความทึบแสง การเปรียบเทียบเครื่องวัดความทึบแสงทีก่ ําหนดไวในหัวขอ T – 262.1
จะตองบันทึกเปนเอกสาร แตคาที่อานไดจริงสําหรับแตละขั้นไมตอ งบันทึกไว การตรวจสอบเพื่อตรวจพิสูจน
ตามกําหนดเวลาที่กําหนดไวในเวลาที่กําหนดไวในหัวขอ T – 262.1(ก) ไมตองบันทึกไวเปนเอกสาร
(ข) ฟลมภาพเปรียบเทียบชิน้ งานขั้นบันได การตรวจพิสูจนฟลมภาพเปรียบเทียบของชิ้นงานขั้นบันได
ที่กําหนดไวในหัวขอ T – 262.1 (ก) จะตองบันทึกเปนเอกสาร แตคาทีอ่ านไดจริงสําหรับแตละขันตอนไมตอ ง
บันทึกไว
(ค) ฟลมภาพเปรียบเทียบของชิ้นงานขั้นบันได การตรวจพิสูจนฟลมภาพเปรียบเทียบของชิ้นงาน
ขั้นบันไดทีก่ ําหนดไวในหัวขอ T – 262 และ T -262.3 (ข) จะตองบันทึกเปนเอกสาร แตคาทีอ่ านไดจริงสําหรับ
แตละขั้นไมตอ งบันทึกไว

T – 270 การตรวจสอบ
T – 271 เทคนิคการถายภาพดวยรังสี
เทคนิคการถายภาพผนังเดียว (single–wall exposure technique) จะตองนํามาดําเนินการสําหรับการ
ตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีเสมอถากระทําได เมือ่ มีขอ จํากัดไดไมสามารถใชเทคนิคการถายภาพผนัง
เดียวไดจะตองใชเทคนิคการถายภาพผนังคู (double–wall exposure technique) จํานวนของการถายภาพที่
เพียงพอจะตองดําเนินการเพือ่ พิสูจนใหเห็นจริงวาการครอบคลุมพื้นทีท่ ี่ตองการสามารถกระทําได
T – 271.1 เทคนิคการถายภาพผนังเดียว สําหรับเทคนิคการถายภาพผนังเดียว กัมมันตภาพรังสีจะทะลุ
ผานวัสดุหรือรอยเชื่อมเพียงผนังเดียว ซึ่งจะถูกตรวจพินิจเพื่อการยอมรับจากฟลมภาพ
T – 271.2 เทคนิคการถายภาพผนังคู เมือ่ มีขอจํากัดทําใหไมสามารถใชเทคนิคการถายภาพผนังเดียวได
จะตองใชเทคนิคถายภาพผนังคู เทคนิคใดเทคนิคหนึ่งดังตอไปนี:้
(ก) การตรวจพินิจผนังเดียว (single–wall viewing) สําหรับวัสดุและรอยเชือ่ มในชิน้ สวนตางๆ เทคนิค
การถายภาพดวยรังสีสามารถกระทําไดโดยใหกัมมันตภาพรังสีทะลุผานผนังสองผนัง และทําการตรวจพินิจ
เฉพาะรอยเชือ่ มและวัสดุทอี่ ยูผนังดานที่ติดกับแผนฟลม (film–side wall) บนฟลมภาพเพือ่ การยอมรับ เมือ่
ตองการการครอบคลุมทีส่ มบูรณสําหรับรอยเชือ่ มและวัสดุตามแนวเสนรอบวง จะตองถายภาพดวยรังสีอยาง
นอย 3 ภาพ ทีท่ ํามุม 120 องศา ซึ่งกันและกัน
(ข) การตรวจพินิจผนังคู (double–wall viewing) สําหรับวัสดุและรอยเชื่อมในชิ้นงานที่มีเสนผาน
ศูนยกลางภายนอกนอยกวาหรือเทากับ 89 มม. (3½ นิ้ว) เทคนิคการถายภาพดวยรังสีสามารถกระทําไดโดยให
กัมมันตภาพรังสีทะลุผานผนังสองผนังและกระทําการตรวจพินิจรอยเชือ่ มและวัสดุที่อยูในผนังทัง้ สองบนฟลม
ภาพดวยกันเพื่อการยอมรับ สําหรับการตรวจพินิจผนังคูจะตองใชการวางไอคิวไอดานใกลแหลงกําเนิดรังสี
(source–side IQI) จะตองดําเนินการอยางระมัดระวังเพือ่ ใหมั่นใจวา ความไมคมชัดทางเรขาคณิต (geometric
unsharpness) ที่ตองการไมเกินขีดกําหนด ถาไมสามารถดําเนินการใหมีความไมชดั ทางเรขาคณิตตามกําหนดได
จะตองใชการตรวจพินิจผนังเดียว
(1) สําหรับรอยเชือ่ ม ลําของรังสีอาจเยื้องจากระนาบของรอยเชือ่ มดวยมุมเอียงมากเพียงพอที่จะแยก
ภาพของรอยเชือ่ มสวนทีอ่ ยูด านใกลแหลงกําเนิดรังสีและดานใกลแผนฟลมออกจากกันเพือ่ ไมใหมกี ารซอนทั้ง
ของพื้นที่ที่จะตรวจผล เมือ่ ตองการการครอบคลุมทีส่ มบูรณสําหรับรอยตอแตละรอยตอจะตองถายภาพดวย
รังสีอยางนอย 2 ภาพที่ทํามุม 90 องศา ซึ่งกันและกัน
(2) สําหรับทางเลือก รอยเชือ่ มสามารถถูกถายภาพดวยรังสีโดยทีล่ ําของรังสีอยูในตําแหนงซึ่งทําให
ภาพของผนังทั้งสองผนังซอนทับกัน เมือ่ ตองการครอบคลุมที่สมบูรณสําหรับรอยตอจะตองถายภาพดวยรังสี
อยางนอย 3 ภาพ ที่ทํามุม 60 องศา หรือ 120 องศา ซึ่งกันและกัน
(3) จะตองถายภาพดวยรังสีเพิ่มเติมถาการถายภาพดวยรังสีไมสามารถครอบคลุมพืน้ ที่ตามตองการเมื่อ
ใชจํานวนต่ําที่สุดของการถายภาพดวยรังสีตามที่ระบุไวในหัวขอ (ข) (1) และ(ข) (2)

T – 272 พลังงานของกัมมันตภาพรังสี
พลังงานของกัมมันตภาพรังสีที่ใชสําหรับเทคนิคการถายภาพดวยรังสีจะตองสามารถทําใหเกิดความทึบ
แสงและภาพของไอคิวไอตามขอกําหนดของบทความนี้

T – 273 ทิศทางของกัมมันตภาพรังสี
ทิศทางของแนวกึ่งกลางของลําของรังสีจะตองพุงไปยังพื้นที่ที่ตองการตรวจสอบเมือ่ สามารถกระทําได
T – 274 ความไมคมชัดทางเราขาคณิต
T – 274.1 การคํานวณความไมคมชัดทางเรขาคณิต
ความไมคมชัดทางเรขาคณิตของฟลมภาพจะตองคํานวณตามความสัมพันธตอ ไปนี้

Ug  Fd
D
เมื่อ=
Ug = ความไมคมชัดทางเรขาคณิต
F = ขนาดของแหลงกําเนิดรังสี: ขนาดที่โตทีส่ ุดของแหลงกําเนิดรังสีหรือโฟกัสประสิทธิผล
(effective focal spot) ในระนาบตั้งฉากกับระยะทาง D จากรอยเชื่อมหรือชิ้นงานที่จะถูกถายภาพดวยรังสี
D = ระยะทางจากแหลงกําเนิดรังสีไปถึงรอยเชือ่ มหรือชิ้นงานที่จะถูกถายภาพดวยรังสี
d = ระยะทางจากดานใกลแหลงกําเนิดรังสีของรอยเชือ่ มหรือชิน้ งานทีจ่ ะถูกถายภาพดวยรังสี
D และ d จะตองวัดจากบริเวณกึ่งกลางของพื้นที่ที่ตอ งการตรวจสอบ

หมายเหตุ: สําหรับทางเลือกสามารถใชแผนภาพ (monograph) ดังแสดงไวในมาตรฐาน SE – 94 แนวปฏิบัติ


มาตรฐานสําหรับการตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวยรังสี

T – 274.2 ขอบเขตของความไมคมชัดทางเรขาคณิต คาแนะนําสูงสุดสําหรับความไมคมชัดทาง


เรขาคณิตกําหนดดังตอไปนี:้

วัสดุ Ug
ความหนา มม. (นิ้ว) คาสูงสุด มม. (นิ้ว)
นอยกวา 50 (2) 0.51 (0.020)
50 – 70 (2 – 3) 0.76 (0.030)
75 – 100 (3 – 4) 1.02 (0.040)
มากกวา 100 (มากกวา 4) 1.78 (0.070)
หมายเหตุ: ความหนาของวัสดุ คือความหนาที่ใชพิจารณาเลือกไอคิวไอ

T – 275 เครื่องหมายกําหนดตําแหนง (Location Markers)


เครือ่ งหมายกําหนดตําแหนง ดังแสดงในรูปที่ T – 275 ซึ่งจะตองปรากฏในภาพบนแผนฟลมจะตอง
กําหนดไวบนชิ้นงานไมใชกาํ หนดบนซองใสฟลม (cassette) ตําแหนงของเครือ่ งหมายกําหนดตําแหนงจะตอง
ถูกทําเครือ่ งหมายอยางถาวรบนพื้นผิวของชิ้นงานที่ถกู ถายภาพดวยรังสีเมือ่ กระทําได หรือกําหนดบนแผนผัง
(map) ในลักษณะทีก่ ําหนดใหสามารถสอบทานตําแหนงของพื้นที่ที่ตองการตรวจสอบบนฟลมภาพกลับไปยัง
ตําแหนงบนชิน้ งานไดตลอดชวงเวลาที่กําหนดไวในการจัดเก็บฟลมภาพ จะตองจัดเตรียมใหปรากฏหลักฐาน
ในฟลมภาพเพื่อแสดงวาบริเวณทีต่ องการตรวจสอบถูกครอบคลุมตามตองการ เครือ่ งหมายกําหนดตําแหนง
จะตองจัดวางไวดังตอไปนี้ :
T – 275.1 การตรวจพินิจผนังเดียว
(ก) เครื่องหมายสําหรับดานใกลแหลงกําเนิดรังสี เครือ่ งหมายกําหนดตําแหนงจะตองวางไวบนพื้นผิว
ดานใกลแหลงกําเนิดรังสีเมื่อทําการถายภาพดวยรังสี ดังตอไปนี:้
(1) ชิ้นงานแบนหรือรอยตอตามแนวยาวของชิ้นงานทรงกระบอกหรือชิ้นงานทรงกรวย
(2) ชิ้นงานผิวโคงหรือชิ้นงานทรงกลมซึ่งดานเวาของชิน้ งานหันเขาหาแหลงกําเนิดรังสี และ
เมื่อระยะทางจากแหลงกําเนิดรังสีไปถึงชิน้ งานมีคานอยกวาคารัศมีภายในของชิ้นงาน
(3) ชิ้นงานผิวโคงหรือชิ้นงานทรงกลม ซึ่งดานนูนของชิน้ งานหันเขาหาแหลงกําเนิดรังสี
(ข) เครือ่ งหมายสําหรับดานใกลแผนฟลม
(1) เครื่องหมายกําหนดตําแหนงจะตองวางไวบนดานใกลแผนฟลมเมือ่ ทําการตรวจสอบโดย
วิธีถายภาพดวยรังสีไมวาชิ้นงานผิวโคงหรือชิ้นงานทรงกลมที่มีดานเวาหันเขาหาแหลงกําเนิดรังสี และเมือ่
ระยะทางจากแหลงกําเนิดรังสีไปถึงชิ้นงานยาวกวาคารัศมีภายในของชิ้นงาน
(2) ทางเลือกสําหรับการวางเครือ่ งหมายกําหนดตําแหนงทางดานใกลแผนฟลมตามหัวขอ T –
275.1 (ก) (1) เครื่องหมายกําหนดตําแหนงสามารถถูกวางไวบนดานใกลแผนฟลมเมื่อฟลม ภาพแสดงการ
ครอบคลุมเกินเครือ่ งหมายกําหนดตําแหนง ดังขอบเขตทีแ่ สดงใหเห็นในรูปสเก็ตที่ T – 275 (e) และเมื่อทาง
เลือกนี้ไดถูกบันทึกไวสอดคลองตามหัวขอ T – 291
(ค) เครื่องหมายสําหรับดานใดๆ เครือ่ งหมายกําหนดตําแหนงสามารถวางไวบนดานใกลแหลงกําเนิด
รังสีหรือดานใกลแผนฟลมเมื่อดําเนินการถายภาพดวยรังสีไมวาชิ้นงานผิวโคงหรือชิ้นงานทรงกลมซึ่งมีดานเวา
หันเขาหาแหลงกําเนิดรังสี และระยะทางจากแหลงกําเนิดรังสีไปถึงชิน้ งานเทากับคารัศมีภายในของชิ้นงาน
T – 275.2 การตรวจพินิจผนังคู สําหรับการตรวจพินิจผนังคูจะตองวางเครือ่ งหมายใกลกับรอยเชือ่ ม
อยางนอยหนึ่งแหงหรือวางบนชิน้ งานในพืน้ ที่ที่ตรวจสอบสําหรับฟลมภาพแตละฟลม
T – 275.3 การทําแผนผังการกําหนดตําแหนงของเครื่องหมายกําหนดตําแหนง เมือ่ ไมสามารถเขาถึง
หรือมีขอ กําหนดอื่นๆทําใหไมสามารถทําการวางเครื่องหมายดังทีร่ ะบุไวในหัวขอ T – 275.1 และ T – 275.2
แผนผังทีร่ ะบุระยะทางของการวางเครือ่ งหมายกําหนดตําแหนงจะตองแนบรวมกับฟลมภาพเพือ่ แสดงวาการ
ตรวจสอบครอบคลุมอยางสมบูรณ
รูปที่ T – 275 ภาพสเก็ตตําแหนงของเครื่องหมายกําหนดตําแหนง
T – 276 การเลือกไอคิวไอ
T – 276.1 วัสดุ ไอคิวไอจะตองเลือกจากวัสดุผสมกลุม เดียวกันหรือเกรดเดียวกันดังระบุไวใน
มาตรฐาน SE – 747 ถาสามารถกระทําได หรือกลุมวัสดุผสมเกรดซึ่งมีการดูดซับรังสีนอยกวาวัสดุที่ถูก
ตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสี
T – 276.2 ขนาด ไอคิวไอที่ถูกกําหนดรูหรือเสนลวดที่จําเปนจะตองถูกกําหนดไวในตาราง T – 276
ไอคิวไอแบบรูที่หนาขึ้นหรือบางลงสามารถนํามาทดแทนสําหรับชวงความหนาใดๆที่ระบุไวในตาราง T – 276
โดยจะตองมีความไวของไอคิวไอเทียบเทาเดิมตามหัวขอ T – 283.2
(ก) รอยเชือ่ มที่มีการเสริม (welds with reinforcements) ความหนาที่ใชในการพิจารณาไอคิวไอจะคิด
จากความหนาระบุของผนังเดียว บวกกับความหนาประมาณการของการเสริมรอยเชือ่ มทีซ่ ึ่งไมหนาเกินกวา
คาสูงสุดทีอ่ นุญาตไวโดยสวนรหัสทีอ่ างอิง วงแหวนหรือแผนประกบดานหลังจะตองไมนํามาพิจารณาเปน
สวนหนึ่งของความหนาในการเลือกไอคิวไอ การวัดความหนาของการเสริมรอยเชื่อมจริงๆไมจําเปน
(ข) รอยเชื่อมที่ไมมีการเสริม ความหนาที่ใชในการพิจารณาหาไอคิวไอจะคิดจากความหนาระบุผนัง
เดียว วงแหวนหรือแผนประกบดานหลังจะตองไมนํามาพิจารณาเปนสวนหนึ่งของความหนาของรอยเชือ่ มใน
การเลือกไอคิวไอ
T – 276.3 รอยเชื่อมทีเ่ ชื่อมตอวัสดุตา งชนิดหรือรอยเชื่อมตอที่ใชโลหะเชื่อมตางชนิด เมือ่ โลหะเชือ่ ม
เปนกลุมโลหะผสมหรือเกรดซึ่งมีการดูดซับรังสีแตกตางไปจากแผนโลหะ การเลือกวัสดุไอคิวไอจะตอง
พิจารณาจากโลหะเชื่อมใหสอดคลองตามหัวขอ T -276.1 เมื่อขีดจํากัดของความทึบแสงตามหัวขอ T – 282.2
ไมสามรถกระทําไดโดยการใชไอคิวไอหนึ่งชุดและพื้นที่ซึ่งความทึบแสงถูกยกเวนคือบริเวณรอยตอของโลหะ
เชือ่ มและแผนโลหะ การเลือกวัสดุสําหรับไอคิวไอที่ตอ งใชเพิ่มเติมจะตองพิจารณาจากโลหะแผนใหสอดคลอง
ตามหัวขอ T – 276.1
ตาราง T- 276 การเลือก ไอคิวไอ

T – 277 การใชไอคิวไอเพื่อเฝาตรวจการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสี
T – 277.1 การจัดวางไอคิวไอ
(ก) ไอคิวไอดานใกลแหลงกําเนิดรังสี ไอคิวไอจะตองจัดวางบนดานใกลแหลงกําเนิดรังสีของชิ้นงาน
ที่จะถูกตรวจสอบ ยกเวนสําหรับเงื่อนไขที่ระบุไวในหัวขอ T – 277.1 (ข)
เมื่อเนือ่ งจากลักษณะของชิ้นงานหรือลักษณะของรอยเชื่อมหรือขนาดทําใหไมเหมาะที่จะจัดวางไอคิว
ไอบนชิ้นงานหรือรอยเชื่อม ไอคิวไอสามารถจัดวางบนบล็อกที่แยกตางหาก บล็อกทีแ่ ยกตางหากจะตองทํามา
จากวัสดุชนิดเดียวกันหรือวัสดุที่มลี ักษณะถายภาพดวยรังสีเหมือนกันดังกําหนดไวในมาตรฐาน SE – 1025 และ
สามารถใชเพือ่ ชวยในการจัดรางไอคิวไอ ไมมีขอจํากัดเกี่ยวกับความหนาของบล็อกที่แยกตางหาก ถา
ขอกําหนดในความคลาดเคลือ่ นของความทึบแสงทีไ่ อคิวไอและพื้นทีท่ ี่สนใจ ตามหัวขอ T – 282.2 กระทําได
(1) ไอคิวไอบนดานใกลแหลงกําเนิดรังสีของบล็อกที่แยกตางหากจะตองจัดวางใหไมใกลกับฟลม
มากกวา ดานใกลแหลงกําเนิดรังสีของชิ้นงานที่จะถูกตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสี
(2) บล็อกที่แยกตางหากจะตองจัดวางใหใกลชดิ มากทีส่ ุดกับชิน้ งานที่ถูกตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวย
รังสี
(3) เมื่อใชไอคิวไอแบบรู ขนาดของบล็อกจะตองโตกวาขนาดของไอคิวไอ เพือ่ ที่วาภาพของไอคิวไอ
จะตองมองเห็นอยางนอยสามดานบนฟลมภาพ
(ข) ไอคิวไอดานใกลแผนฟลม เมือ่ การเขาถึงทําใหไมสามารถใชมอื จัดวางไอคิวไอบนดานใกล
แหลงกําเนิดรังสี ไอคิวไอจะตองจัดวางบนดานใกลแผนฟลมชิดกับชิน้ งานที่ถกู ตรวจสอบ จะตองใชตัวอักษร
ตะกั่ว “F “ จัดวางใกลกับหรือบนไอคิวไอแตจะตองไมบดบังรูทสี่ ําคัญเมื่อใชไอคิวไอแบบรู
(ค) การจัดวางไอคิวไอสําหรับรอยเชือ่ ม – ไอคิวไอแบบรู ไอคิวไอสามารถจัดวางไวชิดกับหรือบน
รอยเชือ่ ม หมายเลขกํากับและตัวอักษร “F “ ที่ใชจะตองไมอยูในพืน้ ที่ที่ตรวจสอบยกเวนเมือ่ ลักษณะทางเรขา
คณิตทําใหไมสามารถกระทําได
(ง) การจัดวางไอคิวไอสําหรับชิ้นงานอื่นๆที่ไมมีรอยเชื่อม ไอคิวไอทีม่ ีหมายเลขกํากับและตัวอักษร
“F “ที่ใชสามารถจัดวางไวในพื้นที่ที่ตรวจสอบได
T – 277.2 จํานวนของไอคิวไอ เมือ่ ใชซองใสฟล มหนึ่งซองหรือมากกวาสําหรับการถายภาพดวย
รังสี จะตองมีภาพของไอคิวไออยางนอยหนึ่งภาพบนอยูบ นฟลมภาพแตละฟลมภาพ ยกเวนตามทีก่ ําหนดไวใน
ขอ (ข) ตอไปนี้
(ก) ไอคิวไอหลายอัน ถาดําเนินการใหเปนไปตามหัวขอ T – 282 โดยใชไอคิวไอมากกวาหนึ่งอัน
ไอคิวไอหนึ่งอันจะตองเปนตัวแทนสําหรับพื้นที่ที่ตรวจสอบซึ่งบางทีส่ ุด และไอคิวไออีกตัวหนึ่งที่เปนตัวแทน
สําหรับพืน้ ที่ทตี่ รวจสอบซึ่งหนาที่สุด ความทึบแสงในชวงกลางของฟลมภาพจะตองถือวามีความทึบแสงที่
ยอมรับได
(ข) กรณีพิเศษ 3
(1) สําหรับชิน้ งานทรงกระบอก เมือ่ แหลงกําเนิดรังสีถูกจัดวางไวบนแนวแกนของชิ้นงาน
สําหรับการถายภาพผนังเดียวจะตองใชไอคิวไอสามอันจัดวางประมาณ 120 องศา แยกหางจากกัน ดังเงือ่ นไข
ดังตอไปนี:้
(ก) เมื่อพื้นทีค่ รบเสนรอบวงจะถูกตรวจสอบโดยการถายภาพดวยรังสีโดยใชซองใสฟลมหนึ่ง
ซองหรือมากกวา หรือ ;
(ข) เมื่อสวนใดสวนหนึ่งหรือหลายสวนของเสนรอบวง มีความยาวระหวางสวนปลายของสวน
ที่อยูด านนอกสุดกาวมากกวาหรือเทากับ 240 องศา ถูกถายภาพดวยรังสีโดยใชซองใสฟล มหนึ่งซองหรือมากกวา
การเพิ่มแผนฟลมอาจจําเปนเพื่อใหไดระยะของไอคิวไอที่กําหนดไว
(2) สําหรับชิน้ งานทรงกระบอกเมือ่ แหลงกําเนิดรังสีถูกจัดวางไวบนแนวแกนของชิน้ งาน
สําหรับการถายภาพผนังเดียวจะตองมีไอคิวไออยางนอยสามอัน โดยมีไอคิวไอหนึง่ อันจัดวางไวทุกๆสวนปลาย
ของชวงของเสนรองวงที่ถูกตรวจสอบโดยการถายภาพดวยรังสี และมีไอคิวไอหนึ่งอันจัดวางไวในบริเวณ
กึ่งกลางของชวงภายใตเงื่อนไขดังตอไปนี;้
(ก) เมื่อสวนหนึ่งของเสนรอบวงมีความยาวมากกวา 120 องศา และนอยกวา 240 องศา ถูก
ตรวจสอบโดยการถายภาพดวยรังสีโดยใชซองใสฟลมเพียงหนึ่งซองหรือ;
(ข) เมื่อสวนหนึ่งหรือหลายสวนของเสนรอบวงซึ่งมีความยาวระหวางสวนปลายของสวนทีอ่ ยู
ดานนอกสุดของสวนกางนอยกวา 240 องศา ถูกตรวจสอบโดยการถายภาพดวยรังสีโดยใชซองใสฟล มมากกวา
หนึ่งซอง
(3) ในหัวขอ (1) และ (2) ขางตนที่ซึ่งสวนของรอยเชือ่ มตามแนวยาวที่เชือ่ มตอกันกับรอยเชือ่ ม
ตามเสนรอบวงถูกตรวจสอบโดยการถายภาพดวยรังสีไปพรอมๆกับรอยเชือ่ มตามเสนรอบวง จะตองมีไอคิวไอ
เพิ่มเติมหนึ่งอันสําหรับรอยเชือ่ มตอตามแนวยาวแตละรอยทีส่ วนปลายของสวนซึ่งอยูไกลทีส่ ุดจากรอยเชื่อมตอ
กับรอยเชือ่ มตามเสนรอบวงที่ถูกตรวจสอบโดยการถายภาพดวยรังสี
(4) สําหรับชิน้ งานทรงกลมที่ซึ่งแหลงกําเนิดรังสีถูกจัดวางที่จุดศูนยกลางของชิ้นงานสําหรับ
การถายภาพผนังเดียวจะตองมีไอคิวไออยางนอยสามอันวางเวนระหวางกันประมาณ 120 องศา ตามเงื่อนไข
ตอไปนี;้
(ก) เมื่อเสนรอบวงที่ครบสมบูรณถกู ตรวจสอบโดยการถายภาพดวยรังสีโดยใชซองใสฟลม
หนึ่งซองหรือมากกวา หรือ;
(ข) เมื่อสวนหนึ่งหรือหลายสวนของเสนรอบวงซึ่งมีความยาวระหวางสวนปลายของสวนทีอ่ ยู
ดานนอกสุดของสวนกลาง 240 องศา หรือมากกวาถูกตรวจสอบโดยการถายภาพดวยรังสีโดยใชซองใสฟล ม
หนึ่งซองหรือมากกวา การเพิ่มแผนฟลมอาจจําเปนเพื่อใหไดระยะของไอคิวไอที่กําหนดไว
(5) สําหรับชิน้ งานทรงกลมที่ซึ่งแหลงกําเนิดรังสีถูกจัดวางที่จุดศูนยกลางของชิ้นงานสําหรับ
การถายภาพผนังเดียวจะตองมีไอคิวไออยางนอยสามอัน โดยมีไอคิวไอหนึ่งอันจัดวางไวที่สวนปลายแตละ
ปลายของชวงการถายภาพดวยรังสีของเสนรอบวง และมีไอคิวไอหนึ่งอันจัดวางไวในบริเวณกึ่งกลางของชวง
ภายใตเงือ่ นไขตอไปนี:้
(ก) เมื่อสวนหนึ่งของเสนรอบวงมีความยาวมากวา 120 องศา และนอยกวา 240 องศาถูก
ตรวจสอบโดยการถายภาพดวยรังสีโดยการถายภาพดวยรังสีโดยใชซองใสฟลมเพียงหนึ่งซอง หรือ;
(ข) เมื่อสวนหนึ่งหรือหลายสวนของเสนรอบวงมีความยาวระหวางสวนปลายของสวนที่อยู
ดานนอกสุดของสวนกางนอยกวา 240 องศา ถูกตรวจสอบโดยการถายภาพดวยรังสีโดยใชซองใสฟล มมากวา
หนึ่งซอง
(6) ในหัวขอ (4) และ (5) ขางตนที่ซึ่งรอยเชือ่ มอื่นๆถูกตรวจสอบโดยการถายภาพดวยรังสี
พรอมๆกับรอยเชื่อมตามเสนรอบวง จะตองมีไอคิวไอเพิ่มเติมหนึ่งอันจัดวางบน รอยเชือ่ มตออื่นๆแตละรอย
(7) สําหรับสวนของชิ้นงานแบนหรือโคง เชน ellipsoidal, torispherical , toriconical , elliptical
เปนตน ทีซ่ ึ่งแหลงกําเนิดรังสีถูกจัดวางไวตั้งฉากกับจุดกึง่ กลางของความยาวของรอยเชือ่ มสําหรับการถายภาพ
ผนังเดียว เมือ่ ใชซองใสฟล มมากกวาสามซอง จะตองมีไอคิวไอสามอันโดยไอคิวไอหนึ่งอันจะถูกจัดวางไวที่
สวนปลายแตละปลายของชวงการถายภาพดวยรังสี และไอคิวไอหนึ่งอันจัดวางไวประมาณกึ่งกลางของชวง
(8) เมื่อชิ้นงานถูกเรียงเปนแถววงกลมถูกตรวจสอบโดยการถายภาพดวยรังสี จะตองมีไอคิวไอ
อยางนอยหนึ่งอันปรากฏบนภาพของชิ้นสวนแตละชิ้น
(9) เพื่อใหสามารถเก็บรักษาบันทึกขอมูลไดตอ เนือ่ งรวมถึงการถายภาพดวยรังสีครั้งตอๆไป
ฟลมภาพทั้งหมดที่แสดงไอคิวไอซึ่งผานขอกําหนดทางเทคนิคตามหัวขอ (1) ถึง (7) ขางตนจะตองเก็บรักษาไว
T – 277.3 แผนซิม (Shim) ใตไอคิวไอแบบรู สําหรับการเชือ่ มตอจะตองจัดวางแผนชิมซึ่งเปนวัสดุที่มี
คุณสมบัติทางการถายภาพดวยรังสีเหมือนกับโลหะเชือ่ มไวระหวางชิน้ งานและไอคิวไอเมือ่ จําเปน ทั้งนี้เมือ่ ให
ความทึบแสงของการถายภาพดวยรังสีทั่วทั้งพื้นที่ที่ตรวจสอบมีคาไมนอยกวา 15 % จากคาความทึบแสงของการ
ถายภาพดวยรังสีทะลุผานไอคิวไอ
ขนาดของแผนชิมจะตองโตกวาขนาดของไอคิวไอเพือ่ ใหสามารถมองเห็นขอบอยางนอยสามดานของ
ภาพไอคิวไอในฟลมภาพ

T – 280 การประเมินผล (EVALUATION)


T – 281 คุณภาพของฟลมภาพ
ฟลมภาพทั้งหมดจะตองปราศจากจากรอยทางกล รอยทางเคมี หรือรอยอื่นๆในลักษณะที่รอยเหลานีจ้ ะ
ไมบดบังและทําใหสับสนกับภาพของความไมตอเนือ่ งไพที่ที่ตรวจสอบของชิ้นงานที่ถูกถายภาพดวยรังสี รอย
เหลานี้ รวมถึงแตไมจํากัดเฉพาะรอยตอไปนี้;
(ก) รอยฝา (fogging)
(ข) รอยบกพรองจากกระบวนการลางฟลม เชน รอยริ้ว (streaks) รอยน้ํา (watermarks) หรือคราบเคมี
( chemical stains)
(ค) รอยขีดขวน (scratches) รอยนิ้วมือ รอยหนีบกด (crimps) รอยความสกปรก (dirtiness) รอยไฟฟา
สถิตย (static marks) smudges หรือ tears
(ง) รอยบงชี้ปลอมที่เกิดจากสกรีนที่บกพรอง
T – 282 ความทึบแสงของการถายภาพดวยรังสี
T – 282.1 ขีดจํากัดของความทึบแสง ความทึบแสงของภาพของแผนไอคิวไอแบบรูที่เหมาะสมหรือ
บริเวณใกลเคียงกับเสนลวดที่กําหนดของไอคิวไอแบบเสนลวดและพื้นที่ที่ตรวจสอบจะตองมีคาต่าํ สุด 1.8
สําหรับการตรวจพินิจแบบฟลมเดียว (single film viewing) สําหรับฟลม ภาพทีถ่ ายดวยแหลงกําเนิดรังสีเอกซ
และมีคาต่ําสุด 2.0 สําหรับฟลมภาพที่ถายดวยแหลงกําเนิดรังสีแกมมา สําหรับการตรวจพินิจแบบผสมผสาน
ของการถายภาพแบบหลายฟลม (composite film viewing) ฟลมแตละฟลมของชุดผสมผสานจะตองมีความทึบ
แสงต่ําทีส่ ุด 1.3 ความทึบแสงสูงที่สุดจะตองเทากับ 4.0 สําหรับทั้งการตรวจพินิจแบบฟลมเดียวหรือการตรวจ
พินิจแบบผสมผสาน ความคลาดเคลือ่ นของความทึบแสงจากความแปรปรวนระหวางคาที่อานไดของเครือ่ งวัด
ความทึบแสงยอมใหมีคาได 0.05
T – 282.8 ความแปรปรวนของความทึบแสง
(ก) ทั่วไป ถาความทึบแสงของฟลมภาพที่ตําแหนงใดๆทั่วทั้งพื้นที่ทตี่ รวจสอบแปรปรวนไปมากกวา
– 15% หรือ +30% จากคาความทึบแสงผานแผนของไอคิวไอแบบรูหรือพื้นที่ใกลกับเสนลวดที่กําหนดของไอคิว
ไอแบบเสนลวด ภายในชวงความทึบแสงต่ําที่สุด/สูงทีส่ ุดที่ยอมรับดังระบุไวในหัวขอ T – 282.1 ดังนั้นจะตอง
ใชไอคิวไอเพิม่ อีก 1 อันสําหรับพื้นที่ที่ยกเวนแตละพืน้ ที่และจะตองถายภาพดวยรังสีใหม เมือ่ คํานวณความ
แปรปรวนของความทึบแสงที่ยอมรับ คาทีค่ ํานวณไดสามารถปดใหเปนทศนิยม 0.1 ที่ใกลที่สดุ ภายในชวงทีร่ ะบุ
ไวในหัวขอ T – 282.1
(ข) การใชชิม เมื่อใชชิมกับไอคิวไอแบบรู ขอจํากัดของความทึบแสง + 30% ของขอ (ก) ขางตน
สามารถเกินได และขอกําหนดความทึบแสงต่ําทีส่ ุดของหัวขอ T – 282.1 ไมถูกบังคับใชสําหรับไอคิวไอเมือ่
ความไวของไอคิวไอสอดคลองตามที่กําหนดไวของหัวขอ T – 283.1

T – 283 ความไวของไอคิวไอ (IQI Sensitivity)


T – 283.1 ความไวทีต่ องการ การตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวยรังสี จะตองกระทําดวยเทคนิคที่ให
ความไวเพียงพอที่จะแสดงภาพของไอคิวไอทีถ่ ูกกําหนดรู และรู 2T หรือ เสนลวดที่กําหนดของไอคิวไอแบบ
เสนลวด ฟลม ภาพจะตองแสดงหมายเลขกํากับและตัวอักษรของไอคิวไอ ถาภาพของไอคิวไอทีถ่ กู กําหนดรู
และ รู2T หรือเสนลวดที่กําหนดไมสามารถปรากฏบนฟลม ใดๆในเทคนิคที่ใชหลายฟลม แตปรากฏในการตรวจ
พินิจแบบผสมผสานของการถายภาพแบบหลายฟลม การตรวจผลจะอนุญาตใหเฉพาะการตรวจพินิจแบบ
ผสมผสานของการถายภาพแบบหลายฟลม
T – 283.2 ความไวของไอคิวไอแบบรูเทียบเทา ไอคิวไอแบบรูที่บางกวาหรือหนากวาไอคิวไอที่กําหนด
สามารถใชทดแทนไดถาสามารถใหความไวของไอคิวไอเทียบเทาหรือดีกวาดังระบุไวในตาราง T – 283 และ
ขอกําหนดอืน่ ๆทั้งหมดสอดคลองตามกําหนด ความไวของไอคิวไอเทียบเทาที่แสดงในแถวใดๆของตาราง
T – 283 ซึ่งจะมีไอคิวไอและรูที่ตอ งการ ความไวของไอคิวไอที่ดีกวาแสดงในแถวใดๆของตาราง T – 283 ซึ่ง
อยูเ หนือแถวของความไวของไอคิวไอเทียบเทา ถาไอคิวไอและรูทกี่ ําหนดไมปรากฏในตาราง สามารถใชแถว
ของไอคิวไอทีบ่ างกวาถัดจากตาราง T – 283 เพื่อกําหนดความไวของไอคิวไอเทียบเทาได
ตาราง T – 283 ไวของไอคิวไอแบบรูเทียบเทา

T -284 การกระเจิงดานหลังมากเกินไป
ถาภาพจางๆของตัวอักษร”B” ดังระบุไวในหัวขอ T – 223 ปรากฏบนภาพพื้นหลังที่เขมกวาของฟลม
ภาพแสดงวาการปองกันการกระเจิงดานหลังไมเพียงพอ และฟลมภาพจะตองถือวายอมรับไมได ภาพเขมของ
ตัวอักษร “B” บนพื้นหลังที่จางกวาจะเปนเหตุใหไมยอมรับ

T - 285 การประเมินผลโดยผูผลิต
ผูผลจะตองรับผิดชอบสําหรับการตรวจทบทวน (Review) การตรวจผล (interpretation) การประเมิลผล
(evaluation) และการยอมรับ(acceptance) ของฟลมภาพที่สมบูรณ เพือ่ ใหมั่นใจวาสอดคลองกับขอกําหนดตางๆ
ของบทความที่ 2 และสวนรหัสทีอ่ างอิง เพื่อเปนการชวยเสริมตอการตรวจทบทวนและประเมินผล เอกสาร
เทคนิคการถายภาพดวยรังสีตามที่กําหนดไวโดยหัวขอ T – 291 จะตองทําเสร็จสมบูรณกอ นการประเมินผล
แบบฟอรมการตรวจทบทวนฟลมภาพตามที่กําหนดไวโดยหัวขอ T – 292 จะตองทําเสร็จสมบูรณในระหวางการ
ประเมินผล การจัดทําเอกสารรายละเอียดของเทคนิคการถายภาพดวยรังสีและแบบฟอรมการตรวจทบทวนฟลม
ภาพ จะตองควบรวมกับฟลม ภาพ การยอมรับจะตองกระทําเสร็จสมบูรณกอนการนําเสนอฟลมภาพและ
เอกสารควบรวมใหแกผูตรวจสอบ

T – 290 การจัดทําเอกสาร
T – 291 รายละเอียดของเอกสารเทคนิคการถายภาพดวยรังสี
ผูผลิตจะตองจัดเตรียมและบันทึกรายละเอียดของเทคนิคการถายภาพดวยรังสี สําหรับรายละเอียดที่
นอยที่สุดจะตองมีขอ มูลดังตอไปนี้
(ก) การระบุเอกลักษณ ดังกําหนดไวตามหัวขอ T – 224
(ข) แผนที่ที่มีการบอกขนาดของการจัดวางเครือ่ งหมายกําหนดตําแหนง ที่สอดคลองตามหัวขอ T –
275.3
(ค) จํานวนของฟลมภาพ
(ง) ความตางศักดิ์ของรังสีเอกซหรือชนิดของไอโซโทปที่ใช
(จ) ขนาดของแหลงกําเนิดรังสี (F ตามหัวขอ T – 274.1)
(ฉ) ชนิดของวัสดุพื้นและความหนา ความหนาของรอยเชื่อม ความหนาของสวนโคงนูนของรอยเชื่อม
เมื่อกระทําได
(ช) ระยะทางระหวางแหลงกําเนิดรังสีถึงวัตถุ (D ตามหัวขอ T – 274.1)
(ซ) ระยะทางจากผิวดานแหลงกําเนิดรังสีของวัตถุถึงแผนฟลม (d ตามหัวขอ T – 274.1)
(ญ) ผูผลิตฟลม และชนิด/ประเภทของฟลมตามผูผ ลิตกําหนด
(ฒ) จํานวนของฟลมในซองใสฟลมแตละซอง
(ฏ) การถายภาพผนังเดียวหรือผนังคู
(ฎ) การตรวจพินิจผนังเดียวหรือผนังคู

T – 292 แบบฟอรมการตรวจทบทวนฟลม ภาพ


ผูผลิตจะตองจัดเตรียมแบบฟอรมการตรวจทบทวนฟลมภาพ สําหรับรายละเอียดทีน่ อยทีส่ ุดจะตองมี
ขอมูลตอไปนี้
(ก) รายการระบุถึงตําแหนงของฟลมภาพแตละฟลม
(ข) ขอมูลที่กาํ หนดไวในหัวขอ T – 291 เปนสวนหนึ่งของแบบฟอรม (by inclusion) หรือโดยการ
อางอิง
(ค) การประเมินผลและการวิเคราะห(disposition) ของวัสดุ หรือรอยเชือ่ มที่ตรวจสอบ
(ง) การระบุชื่อของตัวแทนของผูผลิตซึ่งเปนผูย อมรับฟลมภาพขั้นสุดทาย
(จ) วันที่ของการประเมินผลของผูผ ลิต
บทความที่ 2
ภาคผนวกบังคับ

ภาคผนวก I – การตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีแบบเคลื่อนที่ (In–motion Radiography)


I – 210 ขอบเขต
การตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวยรังสีแบบเคลือ่ นที่เปนเทคนิคของการตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวย
รังสีที่ซึ่งชิน้ งานที่ถูกตรวจสอบและ/หรือแหลงกําเนิดรังสีมีการเคลือ่ นที่ในระหวางการถายภาพ
การตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวยรังสีสามารถกระทํากับรอยเชื่อมไดเมือ่ การจัดเตรียมที่ดัดแปลง
เพิ่มเติมกับการดําเนินการในบทความที่ 2 กระทําโดยครบถวน

I – 220 ความตองการทัว่ ไป
I – 223 ตําแหนงของสัญลักษณสําหรับการตรวจจับการกระเจิงดานหลัง
(ก) สําหรับรอยเชือ่ มตามแนวยาว ตัวอักษรตะกั่ว “B” จะตองถูกยึดติดไวดานหลังของซองใสฟล ม แต
ละซอง หรือติดไวเปนชวงระยะหางเทาๆ กันไมเกินกวา 914 มม. (36 นิ้ว) แลวแตวาระยะใดสั้นกวา
(ข) สําหรับรอยเชือ่ มตามเสนรอบวง ตัวอักษรตะกั่ว “B” จะตองถูกยึดติดไวดา นหลังของซองใสฟล ม
แตละชวงหนึ่งในสี่ของเสนรอบวง หรือติดไวเปนชวงระยะหางไมเกินกวา 914 มม. (36 นิ้ว) แลวแตวาระยะใด
สั้นกวา

I – 260 การเปรียบเทียบ
I – 263 ความกวางของลํารังสี
ความกวางของลํารังสีจะตองถูกควบคุมโดยใชไดอะแฟรมโลหะ เชน ตะกั่ว ไดอะแฟรมสําหรับระดับ
พลังงานทีเ่ ลือกใชจะตองมีความหนาอยางนอยทีส่ ุดเทากับ 10 เทา ของคาความหนาครึ่งปริมาณรังสี (half value
layer)
ความกวางของลํารังสีดังแสดงในรูปที่ I – 263 จะตองพิจารณาใหสอดคลองกับ

c( F  a )
w a
b
เมื่อ
w = ความกวางของลํารังสีทดี่ านใกลแหลงกําเนิดรังสีของรอยเชือ่ มในทิศทางของการเคลื่อนที่
a = ความกวางของซองเปดในไดอะแฟรมในทิศทางของการเคลือ่ นที่ Formatted: Font: Italic, Complex Script Font:
Italic
b = ระยะทางจากแหลงกําเนิดรังสีถึงดานชิดกับรอยเชื่อมของไดอะแฟรม Formatted: Font: Italic, Complex Script Font:
Italic
c = ระยะทางจากดานชิดรอยเชือ่ มของไดอะแฟรมถึงดานใกลกับแหลงกําเนิดรังสีของผิวรอยเชื่อม Formatted: Font: Italic, Complex Script Font:
F = ขนาดของแหลงกําเนิดรังสี: ขนาดทีโ่ ตที่สุดของแหลงกําเนิดรังสีหรือขนาดจุดโฟกัสในระนาบตั้ง Italic

ฉากกับระยะทาง b + c จากรอยเชือ่ มที่จะถูกถายภาพดวยรังสี Formatted: Font: Italic, Complex Script Font:


Italic
I – 270 การตรวจสอบ
I – 274 ความไมคมชัดทางเรขาคณิตและความไมคมชัดเนื่องจากการเคลื่อนที่
I – 274.1 ความไมคมชัดทางเรขาคณิต ความไมคมชัดทางเรขาคณิตสําหรับการตรวจสอบโดยวิธี
ถายภาพดวยรังสีแบบเคลือ่ นที่จะตองพิจารณาสอดคลองตามหัวขอ T – 274.1
I – 274.2 ความไมคมชัดเนื่องจากการเคลื่อนที่ ความไมคมชัดเนือ่ งจากการเคลือ่ นทีข่ องฟลมภาพ
จะตองพิจารณาสอดคลองตามสมการ:
UM=  wd
D
เมื่อ
UM = ความไมชัดเนือ่ งมาจากการเคลือ่ นที่
w = ความกวางของลํารังสีทดี่ านใกลกับแหลงกําเนิดรังสีของรอยเชือ่ มในทิศทางของการเคลือ่ นที่
พิจารณาดังที่กาํ หนดไวในหัวขอ I – 263
d = ระยะทางจากดานใกลกับแหลงกําเนิดรังสีของรอยเชือ่ มทีถ่ ูกตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีไป
ยังแผนฟลม
D = ระยะทางจากแหลงกําเนิดรังสีไปยังรอยเชือ่ มที่ถูกตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสี
I – 274.3 ขีดจํากัดของความไมคมชัด คาแนะนําสูงสุดสําหรับความไมคมชัดทางเราขาคณิตและความ
ไมคมชัดเนือ่ งจากการเคลื่อนที่กําหนดไวในหัวขอ T – 274.2

I – 275 เครื่องหมายกําหนดตําแหนง
เครือ่ งหมายกําหนดตําแหนง จะตองถูกจัดวางไวใกลกับรอยเชื่อมที่ขอบของแตละซองใสฟลมและตอง
เปนชวงระยะทางประมาณเทาๆกันไมเกินกวา 381 มม. (15 นิ้ว)

I – 277 การจัดวางและจํานวนของไอคิวไอ
(ก) สําหรับรอยเชือ่ มตามแนวยาว ไอคิวไอแบบรูจะตองจัดวางไวใกลกับและอยูบนแตละดานของรอย
เชือ่ ม หรือบนรอยเชื่อมที่จุดเริ่มตนและจุดสิ้นสุดของรอยเชือ่ ม และทีร่ ะยะทางหางเปนชวงๆประมาณไมเกิน
914 มม. (36 นิ้ว) หรือสําหรับซองใสฟล มแตละซอง เมือ่ ใชไอคิวไอแบบเสนลวดจะตองจัดวางไวบนรอยเชือ่ ม
โดยใหความยาวของเสนลวดตั้งฉากกับความยาวของรอยเชือ่ มและจัดวางใหมีระยะหางดังที่กําหนดไวขางตน
สําหรับไอคิวไอแบบรู
(ข) สําหรับรอยเชือ่ มตามเสนรอบวง ไอคิวไอแบบรูจะตองจัดวางใกลกับและอยูบนแตละดานของรอย
เชือ่ ม หรือบนรอยเชื่อมในแตละชวงหนึ่งในสี่ของเสนรอบวง หรือจัดวางกันระยะหางไมเกินกวา 914 มม. (36
นิ้ว) แลวแตวาระยะใดจะสั้นกวา เมื่อใชไอคิวไอแบบเสนลวดจะตองจัดวางไวบนรอยเชือ่ มโดยใหความยาว
ของเสนลวดตัง้ ฉากกับความยาวของรอยเชือ่ มและจัดวางใหมีระยะหางดังที่กําหนดไวขางตนสําหรับไอคิวไอ
แบบรู

I – 279 พื้นทีซ่ ึ่งถูกซอมแซม


เมื่อตองการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีกับพื้นที่ซงึ่ ถูกซอมแซม ความยาวของฟลมที่ใชจะตองมี
ความยาวอยางนอยเทากับความยาวของชวงระยะเครือ่ งหมายกําหนดตําแหนงเดิม
ภาคผนวก II – การตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริง (Real–time Radioscopic Examination)
II – 210 ขอบเขต
การตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริงจะใหภาพผลลัพธทันทีโดยมีขีดความสามารถที่จะ
ติดตามการเคลือ่ นที่ของชิ้นงานที่ถูกตรวจสอบ การตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริงจะรวมถึง
การตรวจสอบที่ซึ่งการเคลือ่ นที่ของชิน้ งานที่ถูกตรวจสอบตองจํากัดไว (โดยปกติมกั หมายถึงการตรวจสอบโดย
วิธีถายภาพดวยรังสีแบบใกลเวลาจริง (near real–time radioscopy)
การตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริงสามารถกระทําไดกับชิน้ งานตางๆรวมถึงชิ้นงาน
หลอและรอยเชือ่ ม เมือ่ การจัดเตรียมที่ดดั แปลงเพิ่มเติมกับการดําเนินการในบทความที่ 2 ดังที่ระบุไวใน
ภาคผนวกนี้กระทําโดยครบถวน มาตรฐาน SE – 1255 จะตองนํามาใชรวมกับภาคผนวกนีด้ ังระบุไวโดยการ
อางอิงที่เจาะจงในขอความวรรคที่เกี่ยวของ มาตรฐาน SE – 1416 ใหขอมูลเพิ่มเติมซึ่งสามารถใชสําหรับการ
ตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริงของรอยเชือ่ ม

II – 220 ความตองการทัว่ ไป
วิธีการของการตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริงสามารถใชสําหรับการตรวจสอบชิน้ งาน
โลหะชนิดเฟอรรัส (ferrous) หรือชนิดนอนเฟอรรสั (non ferrous) และรอยเชือ่ ม

II – 221 ขอกําหนดของขั้นตอนการตรวจสอบ
จะตองมีเอกสารขั้นตอนการตรวจสอบ ซึ่งจะตองมีขอ มูลอยางนอยที่สดุ ดังตอไปนี้ (มาตรฐาน SE –
1255, 5.2):
(ก) วัสดุและชวงความหนา
(ข) การรับรองเครือ่ งมืออุปกรณ
(ค) แผนการสแกนชิน้ งานตรวจสอบ
(ง) พารามิเตอรของการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสี
(จ) พารามิเตอรของการประมวลผลภาพ
(ฉ) พารามิเตอรของการแสดงภาพ
(ช) การเก็บรักษาภาพ

II – 230 เครื่องมืออุปกรณและวัสดุ
II – 231 การบันทึกของการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริง
ขอมูลของการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริงจะตองถูกบันทึกและเก็บไวบนวีดิโอเทป
จานแมเหล็ก หรือจานออฟติก (optical disk)

II – 235 ชิ้นงานปรับเทียบ (Calibration Block)


ชิ้นงานปรับเทียบจะตองทํามาจากวัสดุชนิดเดียวกันและมีรูปแบบผลิตภัณฑเดียวกันกับชิ้นงานที่ถูก
ตรวจสอบ ชิน้ งานปรับเทียบสามารถเปนชิ้นงานที่ถกู ตรวจสอบจริง หรือสามารถถูกผลิตขึ้นเพื่อจําลองชิ้นงาน
ที่ถูกตรวจสอบที่มีความไมตอเนือ่ งที่ทราบ
II – 236 รูปแบบทดสอบคูเสนและชิ้นลิ่มขั้นบันไดที่ไดรับการปรับเทียบ (Calibrated Line Pair Test Pattern
and Step Wedge)
รูปแบบคูเสน จะตองใชงานโดยไมมีตัวดูดซับรังสีเพิ่มเติมเพื่อที่จะใชประเมินความละเอียดของระบบ
ชิ้นลิ่มขั้นบันไดจะตองใชงานเพือ่ ประเมินความไวของคอนทราสของระบบ
ชิ้นลิ่มขั้นบันไดตองทํามาจากวัสดุชนิดเดียวกับวัตถุที่ถูกตรวจสอบ ซึ่งมีขั้นบันไดเทากับ 100% 99%
98% และ 97% ของความหนาทั้งสวนทีห่ นาที่สุดและสวนที่บางที่สดุ ของเนือ้ วัสดุทถี่ ูกตรวจสอบ ขั้นบันได
เพิ่มเติมอื่นๆก็สามารถมีได

II – 237 ระดับสมรรถนะเทียบเทา (Equivalent Performance Level)


ระบบซึ่งแสดงความละเอียดตามตําแหนงพื้นที่เทากับ 3 คูเสนตอมิลลิเมตร (line pairs per millimeter –
lp/mm.) ความไวของคอนทราสของสวนที่บางของชิ้นงานเทากับ 3% และความไวของคอนทราสของสวนที่
หนาของชิ้นงานเทากับ 2% จะมีระดับสมรรถนะเทียบเทากับ 3% -2% -3 lp/mm.

II – 260 การปรับเทียบ
การปรับเทียบระบบจะตองดําเนินการในสภาวะหยุดนิง่ (static mode) โดยจะตองสอดคลองเปนไปตาม
ความละเอียดของรูปแบบทดสอบคูเสน ความไวของคอนทราสของชิ้นลิ่มขั้นบันไดและการตรวจหาความไม
ตอเนือ่ งของชิน้ งานปรับเทียบที่จําเปนเพื่อใหเปนไปตามขอกําหนดของไอคิวไอของหัวขอ T – 276

II – 263 การวัดสมรรถนะของระบบ
พารามิเตอร แสดงสมรรถนะของระบบการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริง จะตอง
พิจารณาตั้งแตเริ่มตนและเฝาตรวจอยางสม่าํ เสมอเมือ่ ระบบถูกใชงานเพื่อใหมั่นใจวาไดผลลัพธที่สม่ําเสมอ
สมรรถนะของระบบจะตองถูกเฝาตรวจในชวงเวลาทีก่ าํ หนดไวอยางเพียงพอที่จะทําใหความนาจะเปนที่จะเกิด
ความเปลี่ยนแปลงของสมรรถนะตามเวลาเปนไปไดนอยที่สุด การทดสอบสมรรถนะของระบบจําเปนตองใช
ชิ้นงานปรับเทียบรูปแบบทดสอบคูเสนและชั้นลิ่มขั้นบันได
เทคนิคการวัดสมรรถนะของระบบจะตองจัดทําเปนมาตรฐานเพือ่ วาการดําเนินการจะตองสามารถ
กระทําซ้าํ ๆกันไดตามชวงระยะเวลาที่กําหนด

II – 264 การวัดพรอมกับชิ้นงานปรับเทียบ
ชิ้นงานปรับเทียบจะตองจัดวางในตําแหนงเดียวกับชิ้นงานจริง และจัดใหเคลื่อนที่ผานดวยระยะและ
ความเร็วของการเคลือ่ นที่เหมือนกับที่จะตองใชกับชิ้นงานจริงเพื่อแสดงใหเห็นจริงถึงการตอบสนองของระบบ
ในสภาวะเคลือ่ นที่ (dynamic mode)

II – 270 การตรวจสอบ
II – 275 องคประกอบของระบบ (System Configuration)
ระบบการตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริงจะตองประกอบดวยองคประกอบอยางนอย
ที่สุด ดังตอไปนี้;
(ก) แหลงกําเนิดรังสี (radiation source)
(ข) ระบบทําใหเกิดการเคลือ่ นที่ (manipulation system)
(ค) ระบบตรวจหา (detection system)
(ง) ระบบประมวลผลขอมูล (information processing system)
(จ) ระบบแสดงภาพ (image display system)
(ฉ) ระบบบันทึกขอมูล (record archiving system)

II – 280 การประมวลผล
II – 286 แฟกเตอรที่มผี ลกระทบตอสมรรถนะของระบบ
คุณภาพของสมรรถนะของระบบการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริง ถูกพิจารณาจาก
สมรรถนะโดยรวมขององคประกอบที่กําหนดไวในหัวขอ II – 278 (พิจารณามาตรฐาน SE – 1255, 6.1
ประกอบ)
เมื่อใชไอคิวไอแบบเสนลวด ระบบการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริงอาจแสดงความ
ไวที่ไมสมมาตร ดังนั้นแกนของเสนผานศูนยกลางเสนลวดจะตองจัดวางใหอยูในแนวแกนที่มีความไวนอย
ที่สุดของระบบ

II – 290 การจัดทําเอกสาร
II – 291 ขอมูลของการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริง
เพื่อชวยใหการตรวจผลถูกตองสําหรับขอมูลการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริง ราย
ละเอียดของเทคนิคที่ใชจะตองควบคูกับขอมูลเสมอ อยางนอยทีส่ ุดขอมูลจะตองประกอบดวยขอมูลที่กําหนด
ในหัวขอ T – 291 เมื่อเปนไปได หัวขอ II – 221 และขอมูลตอไปนี้;
(ก) การระบุถึงผูดาํ เนินงาน (operator identification)
(ข) ขอมูลของการทดสอบสมรรถนะของระบบ

II – 292 การประเมินผลโดยผูผลิต
กอนการนําเสนอขอมูลการตรวจสอบตอผูตรวจเพื่อการตรวจรับ ขอมูลการตรวจสอบจะตองไดรบั การ
ตรวจผลโดยผูผลิตใหสอดคลองตามสวนรหัสทีอ่ างอิง ผูผลิตจะตองบันทึกการตรวจผลและจําแนกสภาพของ
แตละรอยเชื่อมที่ถูกตรวจสอบในแบบฟอรมการตรวจผลโดยวิธีถายภาพดวยรังสีประกอบกับขอมูลการตรวจ
สอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสี
ภาคผนวก III – การวัดเก็บ การแสดงผล และการเก็บบันทึกภาพดิจติ ลั สําหรับการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวย
รังสีและการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริง (digital Image Acquisition,
Display, and Storage for Radiography and Radioscopy)
III – 210 ขอบเขต
การวัดเก็บ การแสดผลและการเก็บบันทึกภาพดิจิตัล สามารถประยุกตใชกับการตรวจสอบโดยวิธถี าย
ภาพดวยรังสีและการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริง เมื่อภาพแบบอนาลอกถูกแปลงใหเปน
แบบดิจิตัลแลวขอมูลสามารถแสดงผล ประมวลผล quantified เก็บขอมูล นํากลับมาใช และแปลงกลับเปนแบบ
แอนาลอกไดตัวอยางเชน ฟลม หรือวีดิทศั น
ภาพดิจิตัลของผลลัพธจากการตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวยรังสีและการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวย
รังสีแบบเวลาจริงจะตองดําเนินการใหสอดคลองกับการจัดเตรียมทีถ่ ูกดัดแปลงตามบทความที่ 2 ดังที่ระบุไวใน
ภาคผนวกนี้

III – 220 ความตองการทัว่ ไป


III – 221 ความตองการสําหรับเอกสารแนะนําขั้นตอนการตรวจสอบ
ตองมีเอกสารแนะนําขั้นตอนการตรวจสอบ ซึ่งอยางนอยที่สดุ จะตองมีพารามิเตอรแสดงสมรรถนะของ
ระบบดังตอไปนี้;
(ก) พารามิเตอรของการแปลงภาพเปนดิจิตัล (image digitizing parameters) – modulation transfer
function (MTF), ความละเอียดของคูเสน (line pair resolution), ความไวของคอนทราส (contrast
sensitivity) , และ dynamic range
(ข) พารามิเตอรของการแสดงภาพ (image display parameters) – format, คอนทราส และการขยาย
(ค) พารามิเตอรของการประมวลผล (image processing parameters) ที่ใช
(ง) การเก็บบันทึก (storage) – การระบุเอกลักษณ (identification) การบีบอัดขอมูล (data compression)
ตัวกลางในการเก็บบันทึกขอมูล (media) รวมถึงการระมัดระวังที่จําเปนในการหลีกเลี่ยงการสูญเสีย
ขอมูล
(จ) รูปแบบของเอาตพุตแอนาลอก (Analog output format)

III – 222 ภาพรอยบกพรองดั้งเดิม (Original Image Artifacts)


รอยบกพรองใดๆที่ถูกระบุในภาพดั้งเดิม จะตองบันทึกหรือทําเครื่องหมายไวบนภาพดิจิตัล

III – 230 วัสดุและเครื่องมืออุปกรณ


III – 231 บันทึกของภาพดิจิตัลจากการตรวจสอบโดยวิธีการถายภาพดวยรังสี
ขอมูลภาพดิจิตัลจากการตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวยรังสีจะตองบันทึกและเก็บบันทึกไวในเทปวีดิ
ทัศน แผนจานแมเหล็ก หรือแผนจานออฟติก

III – 234 การพิจารณาตรวจพินจิ


ภาพดิจิตัลจะตองถูกตัดสินโดยการตรวจพินิจเปรียบเทียบคุณภาพของภาพที่เทาเทียมกับคุณภาพของ
ภาพดั้งเดิมเมือ่ ทําการแปลงเปนแบบดิจิตลั
III – 236 รูปแบบทดสอบคูเสนทางแสงและความทึบแสงของชิ้นลิ่มขั้นบันไดทีไ่ ดรับการปรับเทียบ (Calibrated
Optical Line Pair Test Pattern and Optical Density Step Wedge)
รูปแบบทดสอบคูเสนที่มีคาความทึบแสงอยูร ะหวาง 0.1 ถึง 4.0 จะตองถูกใชเพือ่ ประเมิน modulation
transfer function (MTF) ของระบบ ความทึบแสงของชิ้นลิ่มขั้นบันไดจะตองใชเพือ่ ประเมินความไวของคอนท
ราสของระบบ

III – 250 การจัดเก็บและการเก็บบันทึกภาพ


III – 25 พื้นทีท่ ี่สนใจ
สวนใดๆของขอมูลภาพสามารถถูกแปลงเปนแบบดิจิตลั และเก็บบันทึกโดยใหขอ มูลที่ถูกแปลงเปน
แบบดิจิตัลและถูกเก็บบันทึก รวมถึงพื้นที่ที่ตองการตามที่ระบุไวโดยสวนรหัสทีอ่ างอิง

III – 258 องคประกอบของระบบ


ระบบการวัดเก็บ การแสดงผล และการเก็บบันทึกภาพดิจิตัลสําหรับการตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวย
รังสีและการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริง อยางนอยที่สุดจะตองประกอบรวมดังตอไปนี;้
(ก) ระบบการแปลงเปนดิจิตัล (digitizing system)
(ข) ระบบแสดงภาพ (display system)
(ค) ระบบประมวลผลภาพ (image processing system)
(ง) ระบบเก็บบันทึกภาพ (image storage system)

III – 260 การปรับเทียบ


ระบบฯ จะตองถูกปรับเทียบสําหรับ modulation transfer function (MTF), dynamic range และความไว
ของคอนทราส (contrast sensitivity)

III – 263 การวัดสมรรถนะของระบบฯ


พารามิเตอรแสดงสมรรถนะของระบบฯดังระบุไวในหัวขอ III – 221 จะตองถูกพิจารณาตั้งแตตอน
เริ่มตน และเฝาตรวจอยางสม่ําเสมอเมือ่ ระบบฯถูกใชงานเพื่อใหมั่นใจวาผลลัพธจะสม่ําเสมอ สมรรถนะของ
ระบบฯจะตองถูกเฝาตรวจเมื่อตอนเริ่มตนและตอนสิน้ สุดของแตละกะเพื่อลดความนาจะเปนของการแปรเปลีย่ น
ของสมรรถนะตามเวลาใหนอยทีสุด

III – 280 การประเมินผล


III – 286 แฟกเตอรที่มีผลกระทบตอสมรรถนะของระบบฯ
คุณภาพของสมรรถนะของระบบฯจะถูกพิจารณาโดยการรวมสมรรถนะขององคประกอบทีร่ ะบุไวใน
หัวขอ III – 258
III – 287 รอยบกพรองที่เกิดจากระบบฯ
ภาพแบบดิจิตัลจะตองปราศจากรอยบกพรองที่เกิดจากระบบฯในบริเวณพื้นที่ทสี่ นใจซึ่งจะบดบังหรือ
ทําใหสับสนกับภาพของความไมตอเนือ่ งใดๆในภาพแอนาลอกดั้งเดิม

III – 290 การจัดทําเอกสาร


III – 291 ขอมูลของเทคนิคของการสรางภาพแบบดิจิตัล
เพื่อชวยใหการตรวจผลของขอมูลการตรวจสอบแบบดิจิตอลถูกตอง รายละเอียดของเทคนิคที่ใชจะตอง
ควบคูกับขอมูลเสมอ อยางนอยทีส่ ุดขอมูลจะตองประกอบดวยขอมูลที่กําหนดไวในหัวขอ T - 291 เมื่อเปนไป
ได หัวขอ III – 221 หัวขอ III – 222 และขอมูลตอไปนี้ :
(ก) การระบุถึงผูดาํ เนินงาน (operator identification)
(ข) ขอมูลของการทดสอบสมรรถนะของระบบฯ

III – 292 การประเมินผลโดยผูผลิต


กอนการนําเสนอขอมูลการตรวจสอบตอผูตรวจเพื่อการตรวจรับ ขอมูลการตรวจสอบแบบดิจิตัลจาก
ภาพของการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีหรือการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริงจะตอง
ถูกตรวจประเมินผลโดยผูผ ลิตใหสอดคลองตามสวนรหัสทีอ่ างอิง
ขอมูลการตรวจสอบแบบดิจิตัลจากแผนฟลมภาพที่ไดรบั การยอมรับมาแลวโดยผูตรวจไมจําเปนตองสง
ใหผูตรวจเพือ่ ตรวจรับ
ภาคผนวก IV – การตรวจผล การประเมินผล และการจําแนกสภาพของผลการทดสอบ การตรวจสอบโดยวิธี
ถายภาพดวยรังสี และการตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริง โดยการวัดเก็บภาพ
แบบดิจิตัลและกระบวนการแสดงภาพ (Interpretation, Evaluation, and disposition of
Radiographic Examination Test Results Produced by The Digital Image Acquisition and
Display Process)
IV 210 ขอบเขต
ผลลัพธการทดสอบของการตรวจสอบดวยภาพแบบดิจิตัลที่ดําเนินการใหเปนไปตามบทความที่ 2
ภาคผนวกบังคับ III สามารถถูกตรวจผลและประเมินผลเพือ่ ถูกจําแนกสภาพใหเปนไปตามการจัดเตรียม
เพิ่มเติมของบทความที่ 2 ดังระบุไวในภาคผนวกนี้
ขอมูลดิจิตัลทีไ่ ดรับตอเนือ่ งจากการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีและขอมูลดิจิตัลที่ไดรับใน
ลักษณะขนานพรอมกับการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริง กระบวนการวัดเก็บขอมูลจะถูกใช
สําหรับการตรวจผล การประเมินผล และการจําแนกสภาพของผลลัพธการทดสอบของการตรวจสอบ

IV – 220 ความตองการทัว่ ไป
ภาพดิจิตัลจะตองถูกตรวจผลในขณะที่แสดงภาพอยูบนจอมอนิเตอร การตรวจผลสามารถรวมถึงการ
ปรับคอนทราสและความทึบแสง การแปลงคาเปนตัวเลข (quantification) และการวัดฟกเซล (Pixel) รวมถึงคา
ความทึบแสงแบบดิจิตัลหรือแบบแอนาลอก และการวัดระยะเชิงเสนหรือพืน้ ที่
การตรวจผลของภาพดิจิตัลจะขึ้นกับการประเมินผลเชิงนามธรรมเดียวกันโดยผูตรวจผลที่ไดรับการ
ฝกอบรม เชนเดียวกับการตรวจผลของภาพจากการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีหรือการตรวจสอบโดยวิธี
ถายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริง พารามิเตอรที่สําคัญบางตัวที่ถูกพิจารณาในระหวางการตรวจผลรวมถึง พื้นที่ที่
ตรวจสอบ คุณภาพของภาพ ภาพของไอคิวไอ กําลังขยายของภาพ ความทึบแสง คอนทราส รูปรางของความไม
ตอเนือ่ ง (กลม เชิงเสน ไรรูปแบบ) และการระบุชนิดของรอยบกพรอง
การตรวจผลของภาพดิจิตัลของผลลัพธการทดสอบของการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีและการ
ตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริง จะตองกระทําใหเปนไปตามการจัดเตรียมที่ถกู ดัดแปลงของ
บทความที่ 2 ดังระบุไวในภาคผนวกนี้
หลังจากการตรวจผลดําเนินการเสร็จสิ้น ขอมูลของการตรวจผลและภาพดิจิตัลซึ่งจะตองรวมถึงภาพเต็ม
ดังเดิมที่ไมผานกระบวนการดิจิตัล (unprocessed original full image) และภาพทีผ่ านกระบวนการดิจิตัล จะตอง
ถูกบันทึกและเก็บบันทึกไวในเทปวีดิทศั น เทปแมเหล็ก หรือแผนจานออฟติก

IV – 221 ความตองการสําหรับเอกสารแนะนําขั้นตอนการตรวจสอบ
ตองมีเอกสารแนะนําขั้นตอนการตรวจสอบซึ่งอยางนอยที่สุดจะตองมีพารามิเตอรแสดงสมรรถนะของ
ระบบ ดังตอไปนี้:
(ก) พารามิเตอรของการแปลงภาพเปนดิจิตัล – Modulation transfer function (MTF) ความละเอียดของคู
เสน (line pair resolution), ความไวของคอนทราส (contrast sensitivity), dynamic range และขนาด
ฟกเซล
(ข) พารามิเตอรของการแสดงภาพ – ขนาดของจอภาพรวมทัง้ ขนาดของฟกเซลแสดงภาพ ความสวาง
(luminosity), รูปแบบ (format), คอนทราส และกําลังขยายของภาพ
(ค) พารามิเตอรของการกระมวลผลภาพ – รวมทั้ง การเลือ่ นคาของความทึบแสง (density shift), การ
ขยายชวงของคอนทราส (contrast stretch), การแปลงคาดวยสเกลลอก (log transform) และเทคนิค
อื่นๆ ที่ซึ่งไมทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางคณิตศาสตรกับขอมูลดิจิตัลดั้งเดิม ตัวอยางเชน การวัด
ระยะเชิงเสนและพื้นที่ ขนาดของฟกเซล และการคํานวณคา
(ง) การเก็บบันทึก – การระบุเอกลักษณ การบีบอัดขอมูล (data compression) และตัวกลางในการเก็บ
ขอมูล (รวมถึงการระมัดระวังที่จําเปนในการหลีกเลี่ยงการสูญเสียขอมูล) ตัวกลางในการเก็บขอมูล
แบบออฟติกทีล่ บไมได ควรถูกใชสําหรับการเก็บบันทึกระยะยาว (archival application) ซึ่งมักจะ
เรียกวาเทคโนโลยี WORM (Write Once Read Many) เมื่อการเก็บบันทึกกระทําบนตัวกลางในการ
เก็บบันทึกขอมูลแมเหล็กหรือแบบออฟติกชนิดลบได ดังนั้นขั้นตอนจะตองครอบคลุมการปองกัน
นิรภัยที่ตรวจสอบไดเพือ่ ปองกันการแกไขขอมูลและรับประกันความถูกตองของขอมูล

IV – 222 ภาพรอยบกพรองดั้งเดิม
รอยบกพรองใดๆที่ถูกตรวจพบจะตองถูกบันทึกหรือใหคําอธิบายไวบนภาพดิจิตัล

IV – 230 เครือ่ งมืออุปกรณและวัสดุ


IV – 231 บันทึกการตรวจสอบของภาพดิจิตัล
ขอมูลการตรวจสอบของภาพดิจิตัลจะตองถูกบันทึกและเก็บบันทึกไวบนเทปวีดิทัศน แผนจานแมเหล็ก
หรือแผนจานออฟติก

IV – 234 การพิจารณาการตรวจพินจิ
ภาพดิจิตัลจะตองถูกประเมินผลโดยใชความสวางของจอภาพ เทคนิคการแสดงภาพและแสงสวางใน
หองที่เหมาะสม เพื่อใหมนั่ ใจวาสามารถมองเห็นรายละเอียดไดอยางถูกตอง

IV – 236 รูปแบบทดสอบคูเสนทางแสงและความทึบแสงของชิ้นลิ่มขั้นบันไดที่ไดรับการปรับเทียบ (Calibrated


Optical Line Pair Test Pattern and Optical Density Step Wedge)
รูปแบบทดสอบคูเสนที่มีคาความทึบแสงอยูร ะหวาง 0.1 ถึง 4.0 จะตองถูกใชเพือ่ ประเมิน modulation
transfer function (MTF) ของระบบ ความละเอียดสูงของระยะทางโดยมี 14 คูเสนตอมิลลิเมตร (lp / mm)
เทียบเทากับขนาดของฟกเซล 0.035 มม. (0.0014 นิ้ว) ความละเอียดต่ําของระยะทางโดยมี 2 คูเสนตอมิลลิเมตร
(lp / mm) เทียบเทากับขนาดของฟกเซล 0.3 มม. (0.012 นิ้ว) ความทึบแสงของชิ้นลิ่มขั้นบันไดจะตองใชเพือ่
ประเมินความไวของคอนทราสของระบบ ทางเลือกสามารถใชเกจวัดความไวของคอนทราส (ชิ้นลิ่มขั้นบันได
(step wedge block)) ที่สอดคลองตามมาตรฐาน SE - 1647

IV - 250 การจัดเก็บ การเก็บบันทึก และการตรวจผลภาพ


IV – 255 พื้นทีท่ ี่สนใจ
การประเมินผลของภาพดิจิตัลจะตองครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของภาพทีซ่ ึ่งถูกกําหนดใหเปนพื้นที่ที่
สนใจตามที่ระบุไวโดยสวนรหัสทีอ่ างอิง
IV – 258 องคประกอบของระบบ
ระบบจะตองประกอบรวมดวยอยางนอยที่สุดดังตอไปนี้:
(ก) ระบบการจัดเก็บภาพดิจิตัล
(ข) ระบบแสดงภาพ
(ค) ระบบประมวลผลภาพ
(ง) ระบบเก็บบันทึกภาพ

IV – 260 การปรับเทียบ
ระบบจะตองถูกปรับเทียบสําหรับ modulation transfer function (MTF), dynamic range, และ ความไว
ของคอนทราส สมรรถนะทางไฟฟาของอุปกรณไฟฟา และคุณภาพของภาพดิจิตัลจะตองถูกตรวจวัดและบันทึก
เก็บ

IV – 263 การวัดสมรรถนะของระบบ
พารามิเตอรแสดงสมรรถนะของระบบดังระบุไวใน หัวขอ IV – 221 จะตองถูกพิจารณาตั้งแตตอนเริ่ม
ตน และเฝาตรวจอยางสม่ําเสมอเมือ่ ระบบถูกใชงานเพือ่ ใหมั่นใจวาผลลัพธจะสม่ําเสมอ สมรรถนะของระบบ
จะตองถูกเฝาตรวจเมื่อตอนเริ่มตนและตอนสิ้นสุดของแตละกะเพือ่ ลดความนาจะเปนของการแปรเปลี่ยนของ
สมรรถนะตามเวลาใหนอยที่สุด

IV – 280 การประเมินผล
IV – 286 แฟกเตอรที่มีผลกระทบตอสมรรถนะของระบบ
คุณภาพของสมรรถนะของระบบจะถูกพิจารณาโดยการรวมสมรรถนะขององคประกอบที่ระบุไวใน
หัวขอ IV – 258

IV – 287 รอยบกพรองที่เกิดจากระบบ
ภาพดิจิตัลจะตองปราศจากรอยบกพรองที่เกิดจากระบบในบริเวณพื้นที่ที่สนใจซึ่งจะสามารถบดบังหรือ
ทําใหสับสนกับภาพของความไมตอเนือ่ งใดๆ

IV – 290 การจัดทําเอกสาร
IV – 291 ขอมูลของเทคนิคของการสรางภาพแบบดิจิตัล
เพื่อชวยใหการตรวจผลของขอมูลการตรวจสอบแบบดิจิตัลถูกตอง รายละเอียดของเทคนิคที่ใชจะตอง
ควบคูกับขอมูล อยางนอยที่สุดจะตองประกอบดวยขอมูลที่กําหนดในหัวขอ T - 291 และ II – 221 เมื่อเปนไป
ได หัวขอ III – 221, III – 222, IV – 221 ,IV – 222 และขอมูลตอไปนี:้
(ก) การระบุถึงผูดาํ เนินการ
(ข) ขอมูลของการทดสอบสมรรถนะของระบบ
(ค) ขอมูลของการทดสอบการปรับเทียบ
IV – 292 การประเมินผลโดยผูผลิต
กอนการนําเสนอขอมูลการตรวจสอบตอผูตรวจเพื่อการตรวจรับ ขอมูลการตรวจสอบแบบดิจิตัลจาก
ภาพของการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีหรือการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีแบบเวลาจริงจะตอง
ถูกตรวจประเมินโดยผูผลิตใหสอดคลองตามสวนรหัสที่อางอิง
ขอมูลการตรวจสอบแบบดิจิตัลที่ไดรับการยอมรับมาแลวโดยผูตรวจไมจําเปนตองสงใหผูตรวจเพื่อ
ตรวจรับ
ภาคผนวก V – สารบรรณของศัพทเทคนิคสําหรับการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสี (Glossary of Terms
for Radiographic Examination)
V – 210 ขอบเขต
ภาคผนวกบังคับนี้ใชเพื่อวัตถุประสงคของการกําหนดศัพทเทคนิคมาตรฐาน และคําจํากัดความของ
ศัพทเทคนิคที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวยรังสี
V – 220 ความตองการทัว่ ไป
(ก) มาตรฐาน ASTM E 1316 ศัพทเทคนิคมาตรฐานสําหรับการตรวจสอบโดยไมทําลายไดถูกปรับใช
โดยคณะกรรมการเปนมาตรฐาน SE - 1316
(ข) มาตรฐาน SE – 1316 สวนที่ 7 กําหนดคําจํากัดความของศัพทเทคนิคที่แสดงไวในสวนที่ V – 230
(ก)
(ค) สําหรับศัพทเทคนิคทั่วไป ดังเชน รอยบงชี้ (Indication) รอยบกพรอง (flaw) ความไมตอเนือ่ ง
(discontinuity) การประเมินผล (evaluation) เปนตน อางถึงตามบทความที่ 1 ภาคผนวกบังคับ I
(ง) วรรคที่ V – 230 (ข) กําหนดรายการของศัพทเทคนิคและคําจํากัดความที่ซึ่งเฉพาะเจาะจงกับรหัส
วรรคที่ V – 230 (ค) กําหนดรายการของศัพทเทคนิคและคําจํากัดความที่ซึ่งเฉพาะเจาะจงกับสวนที่ V บทความที่
2 ภาคผนวก VI

V – 230 ความตองการ
(ก) ศัพทเทคนิคตามมาตรฐาน SE – 1316 ถูกใชควบคูกบั บทความนี้: ภาพแอนาลอก (analog image),
รังสีที่กระเจิงจากดานหลัง (back scattered radiation), ซองใสฟลม (cassette), การตรวจพินิจแบบผสมผสาน
(composite viewing), ความไวของคอนทราส (contrast sensitivity), การขยายชวงของคอนทราส (contrast
stretch), มิเตอรวัดความทึบแสง (densitometer), ความทึบแสง(ของฟลม ) (density (film)), ดิจิตัล (digital),
ภาพดิจิตัล (digital image), การแปลงเปนตัวเลข (digitize), ระบบการจัดเก็บภาพดิจิตลั (digital image acquisition
system), ตัวกลางออฟติกแบบลบได (erasable optic medium), จุดโฟกัส(focal spot), ความไมคมชัดทาง
เรขาคณิต (geometric unsharpness) , สกรีนเพิ่มความทึบแสง (intensifying screen), ความไวของไอคิวไอ (IQI
sensitivity), คูเสนตอมิลลิเมตร (line pair per millimeter), รูปแบบทดสอบคูเสน (line pair test pattern),
เครือ่ งหมายกําหนดตําแหนง (location marker), ความเรืองแสง (luminosity), ตัวกลางเก็บบันทึกโดยวิธีแมเหล็ก
(magnetic storage medium), ความหนาแนนทางออฟติก (optical density), (photostimulable luminescent
phosphor), ฟกเซล(pixel), ขนาดของฟกเซล (pixel size), ตัวกลางเก็บบันทึกขอมูล (recording media), สกรีน
(screen), แหลงกําเนิดรังสี (source), ชิ้นลิ่มขั้นบันได (step wedge), รอยบกพรองที่เกิดจากระบบ (system
induced artifacts), มิเตอรวัดความทึบแสงแบบทะลุผาน (transmission densitometer), และความทึบแสงแบบ
ทะลุผานฟลม (transmitted film density)
(ข) ศัพทเทคนิคของรหัสตอไปนี้จะถูกใชรวมกับบทความนี้
ใหคําอธิบาย (annotate): ใหคําอธิบายไวบนภาพดิจิตัล
รูปแบบทดสอบคูเสนที่ไดรับการปรับเทียบ (calibrated line pair test pattern):ดูที่ รูปแบบทดสอบคู
เสนทางแสง (optical line pair test pattern)
ฟลมของชิ้นลิม่ บันไดทีถ่ ูกปรับเทียบ(calibrated step wedge film): แผนฟลมภาพที่มีความทึบแสงเปน
ขั้นๆซึ่งสามารถเทียบยอนกลับไปยังมาตรฐานแหงชาติได
การบีบอัดขอมูล (data compression) : การลดขนาดของชุดขอมูลดิจิตลั ใหเปนชุดขอมูลที่เล็กลง
การเลือ่ นคาของความทึบแสง (density shift): ฟงกชันทีใ่ ชเพิ่มหรือลดคาความทึบแสง/สเกลความเทา
(greyscale) ดวยคาเทาๆกัน เพื่อที่วาคอนทราสจะไมเปลีย่ นแปลงในชุดขอมูลดังกลาว
เสนลวดที่กําหนด (designated wire): เสนลวดที่กําหนดซึง่ จะตองแยกแยะไดในภาพของฟลมภาพของ
ไอคิวไอแบบเสนลวด
ไดอะแฟรม (diaphragm): ชองเปดในวัสดุที่ปองกันรังสีที่ซึ่งจํากัดขนาดของลํารังสีที่ใชงานไดจาก
แหลงกําเนิดรังสี
ขนาดของฟกเซลแสดงภาพ (display pixel size): ขนาดความยาวและความกวางของสวนที่เล็กทีส่ ุดของ
ภาพที่แสดง
(dynamic Range): ชวงของการทํางานของอุปกรณระหวางขีดจํากัดสูงสุดและต่ําสุด ชวงการทํางานนี้
สามารถระบุเปนอัตราสวน เชน 100: 1 ของคาระดับสัญญาณสูงสุดตอระดับสัญญาณรบกวน (noise) จํานวน
ขั้นที่วัดไดระหวางขีดจํากัดสูงสุดและต่ําสุด จํานวนบิท (bits) ที่ตองการเพือ่ บันทึกจํานวนขั้นที่วัดได หรือคาที่
วัดไดสูงสุดและต่ําสุด
ความไวของไอคิวไอเทียบเทา (equivalent IQI sensitivity): ความหนาของไอคิวไอแบบรูที่ระบุเปน
เปอรเซนตของความหนาของชิ้นงาน ที่ซึ่งรูขนาด 2T จะตองมองเห็นไดภายใตเงื่อนไขของการถายภาพดวยรังสี
เดียวกัน
รูที่จําเปน (essential hole): รูที่กําหนดที่ซึ่งจะตองสามารถแยกแยะไดในภาพของฟลมภาพของไอคิวไอ
แบบรู
ระบบประมวลผลภาพ (image processing system): ระบบที่ใชกระบวนการทางคณิตศาสตรเพือ่
ประมวลผลขอมูลภาพดิจิตัล
ไอคิวไอ (image quality indicator - IQI)
ความละเอียดของคูเสน (line pair resolution): จํานวนของคูเสน (line pairs)ตอหนวยระยะทางซึ่งตรวจ
พบไดในภาพ
การแปลงคาดวยสเกลลอก (log transform): ฟงกชันที่ใชเพื่อแปลงคาแบบลอการิทึมกับคาความทึบแสง/
สเกลความเทา (greyscale) ในภาพ การดําเนินการนีม้ ักจะกระทําเมือ่ การกระจายของผลลัพธมีคาปกติ หรือ
ความสัมพันธของผลลัพธกบั ตัวแปรอื่นๆเปนคาเชิงเสน
modulation transfer function (MTF): การวัดความละเอียดทางระยะทางเปนฟงกชนั ของคอนทราส
กราฟของตัวแปรความละเอียดของระยะทางและคอนทราส คือกราฟทีแ่ สดงการตอบสนองตอความถี่ของระบบ
national standard step tablet : ฟลมเอกซเรยที่มีขั้นของความทึบแสงเปนชวงๆ ผลิตขึ้นและผานการ
รับรองโดยหนวยงานมาตรฐานที่ไดรับการยอมรับระดับประเทศ
ตัวกลางออฟติก (แผนจานออฟติก) แบบทีล่ บไมได (nonerasable optical media): ตัวกลางที่ใชเก็บ
บันทึกขอมูลที่ซึ่งปองกันการลบหรือการเปลี่ยนแปลงขอมูลดิจิตัล ภายหลังจากทีถ่ ูกเก็บรักษาไว
ความทึบแสงของชิ้นลิ่มขั้นบันได (optical density step wedge): ภาพจากการตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพ
ดวยรังสีของชิน้ งานลิ่มขัน้ บันได ซึ่งมีความหนาเพิ่มขึน้ ที่แมนยํา และสภาพสามารถใชเชือ่ มโยงคาความทึบแสง
ของฟลมกับความหนาของวัสดุ ซึ่งอาจเรียกวา สเตปเทบเรท (step tablet)
เพนนิตรามิเตอร (penetrameter): ไมไดใชในบทความที่ 2 ใหดูที่ไอคิวไอ (IQI)
การเปลีย่ นแปลงคาเปนตัวเลข (quantification): การกระทําเพื่อพิจารณาหรือกําหนดคาตัวเลข ตัวอยาง
เชน การกําหนดคาตัวเลขใหกับการวัดสิ่งของบางอยาง
ฟลมภาพ (radiograph): ภาพที่มองเห็นซึ่งใหตรวจพินิจเพื่อการยอมรับซึง่ ผลิตขึ้นโดยการทะลุผานของ
รังสีตกกระทบบนตัวกลางเก็บบันทึก ที่อาจเปนแผนฟลม ที่ตรวจพินิจทางเครือ่ งตรวจ หรือภาพอิเล็กทรอนิกส
บนจอมอนิเตอร
การตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวยรังสี (radiographic examination): วิธีการซึ่งไมทําลายที่ใชสําหรับการ
ตรวจจับความไมตอเนื่องในวัสดุและชิน้ งานโดยใชกัมมันตภาพรังสีและตัวกลางบันทึกเก็บเพื่อสรางเปนภาพ
ความไว (sensitivity): รายละเอียดที่เล็กทีส่ ุดทีแ่ ยกแยะได และ/หรือ การเปลี่ยนของคอนทราส
ตัวอยางเชน รูของไอคิวไอ หรือเสนลวดในภาพจากการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสี
แผนซิม (shim): วัสดุซึ่งมีคุณสมบัตกิ ารถายภาพดวยรังสีเหมือนกับชิน้ งานที่ถกู ตรวจสอบโดยวิธี
ถายภาพดวยรังสี ซึ่งจะถูกจัดวางไวระหวางไอคิวไอแบบรูกับชิน้ งานเพื่อที่จะลดความทึบแสงของแผนฟลมผาน
ภาพของไอคิวไอแบบรู
ดานใกลแหลงกําเนิดรังสี(source side): พื้นผิวของพื้นทีท่ ี่สนใจซึ่งจะถูกถายภาพดวยรังสีเพือ่ การ
ประเมินผล ซึง่ อยูใกลแหลงกําเนิดรังสีมากที่สุด
แผนฟลมทีป่ รับเทียบของชิ้นงานลิ่มขั้นบันได (step wedge calibration film): แผนฟลมที่มีขั้นของความ
ทึบแสงเปนชวงๆซึ่งไดรับการตรวจพิสูจนโดยการเปรียบเทียบกับสเตปเทบเรทตามมาตรฐานของประเทศ
แผนฟลมการเปรียบเทียบของชิ้นงานลิ่มขัน้ บันได (step wedge comparision film): แผนฟลมที่มีขนั้ ของ
ความทึบแสงเปนชวงๆซึ่งไดรับการตรวจพิสูจนโดยการใชเครือ่ งวัดความทึบแสงทีผ่ า นการปรับเทียบที่ซึ่งถูกใช
เพื่อพิจารณาวาฟลมภาพทีผ่ ลิตขึ้นอยูในขอบเขตความทึบแสงที่ตองการ
WORM (write once read many): ศัพทเทคนิคที่เกี่ยวของกับประเภทของตัวกลางบันทึกเก็บขอมูลดิจิตัล
ที่ซึ่งขอมูลสามารถถูกเก็บบันทึกเพียงครั้งเดียวแตสามารถเขาถึง (โดยไมทําลาย) หลายๆครั้ง
(ค) ศัพทเทคนิคของรหัสตอไปนี้ถูกใชรวมกับบทความที่ 2 ภาคผนวก VI:
ความไวของคอนทราส (contrast sensitivity): ขนาดของการเปลีย่ นแปลงความทึบแสงที่นอ ยที่สุดที่
สามารถจับได
dynamic range: ชวงความทึบแสงทีส่ ามารถวัดไดในการสแกน (scan) หนึ่งครั้ง
ภาพ (image): การเปนตัวแทนทางดิจิตัลของชิ้นงานเปาหมายบนแผนฟลมอางอิงที่ใชสําหรับการ
ประเมินผลทั้งการแปลงเปนตัวเลขและการแสดงของระบบแปลงเปนตัวเลขของแผนฟลม
แผนฟลมอางอิง (reference film): แผนฟลม ภาพทางอุตสาหกรรมทีซ่ งึ่ ประกอบรวมดวยชิ้นงาน
เปาหมายที่จําเปนสําหรับการประเมินผลการแปลงคาเปนตัวเลขของคุณลักษณะทีแ่ สดงสมรรถนะของระบบ
แปลงคาเปนตัวเลขของแผนฟลม
ความเปนเชิงเสนทางระยะทาง (spatial linearity): ความแมนยําทีซ่ ึ่งระบบการแปลงคาเปนตัวเลขสราง
ขนาดทางกายภาพของขอมูลบนแผนฟลม เริ่มตนขึ้นมาใหม [ทั้งในแนวระดับ (ตามแนวการสแกนหนึ่งเสน) และ
แนวดิ่ง (จากเสนสแกนหนึ่งถึงอีกเสนหนึ่งในทิศทางอื่น)]
ความละเอียดทางระยะทาง (spatial resolution): ขนาดขององคประกอบที่เล็กทีส่ ุดทีต่ รวจจับไดของภาพ
ที่ถูกแปลงเปนตัวเลข
ชิ้นงานเปาหมาย (target): รูปแบบทางกายภาพบนแผนฟลมอางอิงที่ใชเพื่อประเมินผลสมรรถนะของ
ระบบแปลงคาเปนตัวเลขของแผนฟลม
ภาคผนวก VI – ภาพดิจติ ัล การวัดเก็บ การแสดงผล การตรวจผล และการเก็บบันทึกของฟลมภาพสําหรับการใช
งานเกีย่ วกับนิวเคลียร (Digital Image Acquisition, Display, Interpretation, and Storage of
Radiographs for Nuclear Application)
VI – 210 ขอบเขต
กระบวนการสรางภาพดิจิตัลและเทคโนโลยีสามารถแปลงคาเปนตัวเลขและเก็บบันทึกรายละเอียดของ
ขอมูลที่มีอยูในฟลมภาพ(ภาพแอนาลอก) ดังนั้นจึงทําใหไมจําเปนตองจัดเก็บและเก็บรักษาฟลมภาพเปน
หลักฐานถาวร (permanent record)

VI – 220 ความตองการทัว่ ไป
VI – 221 ความตองการเสริม
VI – 221.1 ขอมูลเพิ่มเติม บทความที่ 2 ภาคผนวกบังคับ III และ IV ระบุถึงขอมูลเพิ่มเติมที่จะตองใช
เสริมกับความตองการของภาคผนวกนี้ ความตองการเสริมเพิ่มเติมเหลานี้จะตองถูกบันทึกไวในเอกสารแนะนํา
ขั้นตอนการตรวจสอบทีซ่ ึ่งกําหนดไวตามภาคผนวกนี้
VI – 221.2 แผนฟลมอางอิง สวนเพิ่ม A (supplement A) ระบุถึงความตองการสําหรับการผลิตของ
แผนฟลมอางอิง

VI – 222 เอกสารแนะนําขัน้ ตอนการตรวจสอบ


จะตองมีเอกสารแนะนําขั้นตอนการตรวจสอบ เอกสารแนะนําขัน้ ตอนการตรวจสอบจะตองเปนความ
รับผิดชอบของเจาของฟลมภาพและจะตองพิสูจนใหเห็นจริงวาเปนไปตามความตองการของผูตรวจสอบดาน
นิวเคลียรที่มอี าํ นาจ (Authorized Nuclear Inspector - ANI) เมื่อมีองคกรควบคุมหรือดูแลอืน่ ๆเขามาเกี่ยวของ
การยอมรับองคกรนัน้ ๆกระทําโดยขอตกลงที่เปนทางการ เอกสารแนะนําขั้นตอนการตรวจสอบจะตองอยาง
นอยที่สุดรวมถึงตัวแปรที่สําคัญดังตอไปนี:้
VI – 222.1 รายละเอียดของระบบการแปลงคาเปนตัวเลข
(ก) ชื่อผูผลิตและหมายเลขรุนของระบบการแปลงคาเปนตัวเลข
(ข) ขนาดทางกายภาพของพื้นทีท่ ี่สามารถใชประโยชนไดของจอมอนิเตอร
(ค) ขนาดแผนฟลมที่สามารถสแกนไดของอุปกรณสแกน
(ง) ขนาดของจุดของระบบสแกนแผนฟลม
(จ) ขนาดพิกเซลที่แสดงภาพตามที่กําหนดโดยขอบเขตความละเอียดแนวดิ่ง/ แนวระดับของ
จอมอนิเตอร
(ฉ) ความสวางของจอแสดงภาพวีดีโอ
(ช) ตัวกลางเก็บบันทึกขอมูล
VI – 222.2 เทคนิคการแปลงคาเปนตัวเลข
(ก) ขนาดจุดของตัวแปลงคาเปนตัวเลขในหนวยไมครอน (micron) (ดูหัวขอ VI – 232)
(ข) loss - less data compression technique , if used.
(ค) วิธีการตรวจพิสูจนการจับภาพ
(ง) การดําเนินการประมวลผลภาพ
(จ) ชวงเวลาสําหรับการตรวจพิสจู นระบบ (ดูหวั ขอ VI – 264)
(ช) ความละเอียดทางระยะทางที่ใชงาน (ดูหัวขอ VI – 241)
(ซ) ความไวของคอนทราส (ชวงความทึบแสงที่สามารถกระทําได) (ดูหัวขอ VI – 242)
(ฌ) dynamic range ที่ใช (ดูหัวขอ VI – 243)
(ญ) ความเปนเชิงเสนทางระยะทางของระบบ (ดูหวขอ VI – 244)

VI – 223 ความตองการเกีย่ วกับบุคลากร


บุคลากรจะตองไดรับการรับรองดังตอไปนี:้
(ก) บุคลากรระดับ 2 และระดับ 3 บุคลากรระดับ 2 และระดับ 3 จะตองไดรบั การรับรองเกีย่ วกับ
วิธีการดานการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีตามที่กาํ หนดไวตามบทความที่ 1 นอกจากนี้เอกสารขั้นตอน
ปฏิบัติ (written practice) ของนายจางจะตองอธิบายการฝกฝนเฉพาะ(specific training) และประสบการณการ
ปฏิบัติของบุคลากรระดับ 2 และระดับ 3 ทีเ่ กี่ยวของกับการใชงานของกระบวนการถายภาพดิจิตัล และการตรวจ
ผลของผลลัพธ และการยอมรับของสถานะของระบบ การฝกฝน และประสบการณจะตองบันทึกไวในประวัติ
การรับรองของบุคลากรแตละคน
(ข) อยางนอยที่สุด บุคลากรระดับ 2 และระดับ 3 จะตองไดรับการฝกฝน 40 ชั่วโมง และประสบการณ
1 เดือน จากประสบการณปฏิบัติงานจริงของเทคนิคกระบวนการถายภาพดิจิตัล
(ค) บุคลากรอื่นๆ บุคลากรที่มีคณ ุ สมบัตกิ ารดําเนินการอยางจํากัดที่ไมใชคณ
ุ สมบัติสําหรับบุคลากร
ระดับ 2 และระดับ 3 จะตองไดรับการรับรองตามทีก่ ําหนดไวตามบทความที่ 1 บุคลากรแตละคนจะตองไดรับ
การฝกฝนเฉพาะและประสบการณการปฏิบัติในการดําเนินงานที่ตอ งกระทํา

VI – 230 เครือ่ งมืออุปกรณและวัสดุ


VI – 231 คุณลักษณะของระบบ
คุณสมบัติตอ ไปนี้จะตองเปนคุณสมบัติพื้นฐานของระบบการถายภาพดิจิตัล:
(ก) noninterlaced image display format
(ข) WORM – อุปกรณเก็บขอมูลแบบเขีย่ นครัง้ เดียวอานไดหลายครั้ง (write–once read–many data
storage)
(ค) การบีบอัดขอมูลแบบยอนกลับไดโดยสมบูรณ (fully reversible (loss –less) data compression)
ถามีการใชการบีบอัดขอมูล

VI – 232 ขนาดจุดโฟกัสของระบบ
ขนาดจุดโฟกัสของระบบการถายภาพดิจิตัลจะตอง
(ก) มีขนาด 70 ไมครอน หรือเล็กกวาสําหรับฟลมภาพที่ถายดวยระดับพลังงานสูงถึง 1 MeV หรือ
(ข) มีขนาด 100 ไมครอน หรือเล็กกวา สําหรับฟลมภาพที่ถา ยดวยระดับพลังงานสูงกวา 1 MeV

VI – 240 ความตองการของสมรรถนะของระบบ
สมรรถนะของระบบจะตองพิจารณาโดยการใชตัวแทนทีถ่ ูกแปลงคาเปนตัวเลขของเปาหมายอางอิง
(ภาพ) จะตองไมมีการปรับใดๆกระทํากับระบบแปลงคาเปนตัวเลขซึ่งอาจจะมีผลกระทบตอสมรรถนะของ
ระบบภายหลังจากการบันทึกเปาหมายอางอิง
VI – 241 ความละเอียดทางระยะทาง
ความระเอียดทางระยะทางจะตองพิจารณาตามที่อธิบายไวในหัวขอ VI – 251 ระบบจะตองสามารถ
แยกแยะรูปแบบของ 7 คูเสน/มิลลิเมตร (lp/min) สําหรับระบบซึ่งแปลงคาเปนตัวเลขดวยขนาดโฟกัส 70
ไมครอนหรือเล็กกวา หรือ 5 คูเสน/มิลลิเมตร สําหรับขนาดจุดโฟกัสโตกวา 70 ไมครอน

VI – 242 ความไวของคอนทราส
ความไวของคอนทราสจะตองพิจารณาตามที่อธิบายไวในหัวขอ VI – 252 ระบบจะตองมีความไวของ
คอนทราสอยางนอย 0.02 ความทึบแสง (optical density)

VI – 243 Dynamic Range


Dynamic Range จะตองพิจารณาตามทีอ่ ธิบายไวในหัวขอ VI – 253 ระบบจะตองมี dynamic range 3.5
ความทึบแสง
VI – 244 ความเปนเชิงเสนของระยะทาง (Spatial Linearity)
ความเปนเชิงเสนของระยะทางจะตองพิจารณาตามทีอ่ ธิบายไวในหัวขอ VI – 254 ระบบจะตอง
สามารถใหระยะทางทีถ่ ูกวัดคลาดเคลือ่ น 3% ของระยะทางจริงบนฟลมอางอิง (reference film)

IV – 250 เทคนิค
ฟลมอางอิงที่อธิบายไวในสวนเพิ่มเติม A (Supplement A) และรูป VI – A – 1 จะตองถูกใชเพือ่ พิจารณา
สมรรถนะของระบบการแปลงคาเปนตัวเลข การกําหนดคาของระบบจะตองปรับเพือ่ ใหไดภาพทีด่ ที ี่สุด
(optimize) ของภาพตัวแทนของเปาหมายอางอิง (ภาพ) ฟลมอางอิงและฟลมภาพตอๆไปทั้งหมดจะตองถูก
สแกนโดยใชระบบการแปลงคาเปนตัวเลขที่ใชคาของระบบที่ดีที่สุด (optimized settings)

VI – 251 การประเมินความละเอียดทางระยะทาง
จะตองเลือกภาพของคูเสนทีค่ ูเขาหากัน (คูเสน 0 องศา, 45 องศา และ 90 องศา) อยางนอย 2 คูเสน จาก
บริเวณใกลเคียงกับมุมทีอ่ ยูตรงขามกับบริเวณทีถ่ กู แปลงคาเปนตัวเลข และอีกภาพหนึ่งใกลกับจุดกึ่งกลางของ
ฟลมอางอิงที่ถกู แปลงคาเปนตัวเลข ความละเอียดทางระยะทางในแตละตําแหนง และสําหรับทิศทางแตละ
ทิศทางจะตองบันทึกเปนคาความถี่ทางระยะทางทีแ่ สดงสูงสุด (ดังที่พจิ ารณาโดยเสนอางอิงที่กําหนดให) ที่ซึ่ง
เสนซึ่งมีความเขมนอยกวาทุกๆเสนจะถูกเฝามองใหแยกจากกันโดยเสนที่เขมมากกวา ความละเอียดของระบบ
จะตองรายงานเปนคาความละเอียดทางระยะทางที่ไมดีทสี่ ุดจากความละเอียดของภาพทั้งหมดทีถ่ ูกประเมิน

IV – 252 การประเมินความไวของคอนทราส
การใชภาพความไวของคอนทราส (contrast sensitivity image) และภาพสเกลความทึบแสงเปนขั้นที่ถูก
แปลงคาเปนตัวเลข (digitized stepped density scale image) เพื่อประเมินความสามารถในการตรวจจับของขั้น
ความทึบแสงแตละขั้น (การเปลี่ยนความหนาแนนที่ถกู เฝาตรวจใชบงบอกวาระบบจะตองสามารถแสดงบอก
ความแตกตางไดถึงผลตางของความทึบแสง 0.02) ความสามารถในการตรวจจับของขั้นความทึบแสงแตละขั้น
และผลตางของความทึบแสงระหวางขั้นจะตองถูกประเมิน
IV - 252 การประเมิน Dynamic Range
Dynamic range ของระบบการแปลงคาเปนตัวเลขจะตองพิจารณาโดยการหาขั้นความทึบแสงขั้นสุดทาย
ที่สวนปลายทัง้ สองดานของแถบความทึบแสง dynamic range จะตองวัดจนถึงคา 0.50 ที่ใกลที่สดุ ของความทึบ
แสง

VI – 254 การประเมินความเปนเชิงเสนทางระยะทาง
ระบบการแปลงคาเปนตัวเลขจะตองกําหนดใหอานคาสเกลระยะทางนิ้วที่อยูบนฟลมอางอิง เครือ่ งมือ
วัดจะตองถูกใชวัดระยะทางในแนวดิ่งและแนวระดับ ระยะทางจริงเมือ่ หารดวยระยะทางที่วัดไดจะใชเพือ่ หา
เปอรเซนตความผิดพลาดในแนวระดับและแนวดิ่ง

VI – 260 การพิสูจนใหเห็นจริงของสมรรถนะของระบบ
VI – 261 การพิสูจนใหเห็นจริงของขั้นตอนการตรวจสอบ
เอกสารแนะนําขั้นตอนการตรวจสอบดังระบุไวในหัวขอ VI – 222 จะตองพิสูจนใหเห็นจริงสอดคลอง
กับ ANI และองคกรควบคุมถากําหนดไว ซึ่งจะมีความสามารถที่จะวัดคา แสดงภาพ และทําซ้ําภาพแอนาลอกขึ้น
ใหมจากฟลมภาพ หลักฐานของการพิสูจนใหเห็นจริงจะตองบันทึกเก็บดังกําหนด ไวในหัวขอ VI – 291

VI - 262 เปาหมายทีผ่ านกระบวนการ (Processed Targets)


กระบวนการแปลงคาเปนตัวเลขและอุปกรณเครื่องมือจะตองวัดคาและแสดงภาพเปาหมายดังอธิบายไว
ในสวนเพิ่มเติม A เปาหมายที่ผานกระบวนการแปลงคาเปนตัวเลขของฟลมภาพจะตองถูกใชเพือ่ ตรวจพิสูจน
สมรรถนะของระบบ

VI – 263 การเปลีย่ นแปลงของตัวแปรที่จําเปน


การเปลีย่ นแปลงใดๆของตัวแปรที่จําเปนที่กําหนดไวในหัวขอ VI – 222 และถูกใชเพื่อทําใหเกิดผล
ลัพธตามหัวขอ VI – 250 จะตองถือวาเปนเหตุใหตองตรวจพิสูจนสมรรถนะของระบบครั้งใหม

VI – 264 ความถี่ของการตรวจสอบ
สมรรถนะของระบบจะตองถูกตรวจพิสูจนครั้งแรกสอดคลองตามหัวขอ VI – 262 ณ จุดเริ่มตนของแต
ละกะของการแปลงคาเปนตัวเลข (digitizing shift) การตรวจพิสูจนครั้งใหมตามที่กําหนดในหัวขอ VI – 262
จะตองกระทํา ณ จุดสิ้นสุดของกะหรือจุดสิ้นสุดของระยะเวลาตอเนือ่ ง 12 ชั่วโมง หรือ ณ เวลาใดๆที่มีความ
สงสัยวาเกิดการทํางานผิดปกติ

VI – 265 การเปลีย่ นแปลงของสมรรถนะของระบบ


เมื่อมีหลักฐานใดๆบงบอกถึงการเปลีย่ นแปลงของสมรรถนะของระบบที่ระบุไวในหัวขอ VI – 240
จะตองยกเลิกภาพดิจิตัลทีถ่ กู ผลิตขึ้นตั้งแตการตรวจพิสจู นครั้งสุดทาย และจะตองถือวาเปนเหตุใหตองตรวจ
พิสูจนครั้งใหม
VI – 270 การตรวจสอบ (Examination)
VI – 271 ความตองการของสมรรถนะของระบบ
ระบบแปลงคาเปนตัวเลขจะตองสอดคลองกับขอกําหนดความตองการทีร่ ะบุไวในหัวขอ VI – 240 กอน
ดําเนินการแสดงคาเปนตัวเลขของฟลมภาพอางอิง

VI – 272 รอยบกพรอง
ฟลมภาพจะตองถูกตรวจสอบโดยการตรวจพินิจเพื่อหาวัสดุแปลกปลอมและรอยบกพรอง เชน รอยขีด
ขวน รอยหยดน้ํา ในพื้นที่ทสี่ นใจ วัสดุแปลกปลอมที่ไมถูกกําจัดออกไป และรอยบกพรองทีต่ รวจพบจะตอง
บันทึกได

VI – 273 การปรับเทียบ
การปรับเทียบสําหรับชุดเฉพาะของพารามิเตอร เชน ขนาดแผนฟลม ชวงความทึบแสง และความ
ละเอียดทางระยะทาง จะตองถูกดําเนินการใหสอดคลองเปนไปตามหัวขอ VI – 240 และสวนเพิ่มเติม A
ผลลัพธจะตองถูกบันทึกเปนเอกสาร

VI – 280 การประเมิน
VI – 281 การประเมินกระบวนการ
ผูตรวจสอบระดับ 2 และระดับ 3 ดังระบุไวในหัวขอ VI – 223 (ก) จะตองรับผิดชอบตอการพิจารณาวา
กระบวนการถายภาพดิจิตัล สามารถทําภาพแอนาลอกดัง้ เดิมซ้ําขึน้ ใหมได ภาพดิจิตัลนี้จะตองถูกสงผานไปยัง
แผนจานทางแสงแบบเขียนครั้งเดียวอานไดหลายครั้ง (WORM)

VI – 282 การตรวจผล
เมื่อการตรวจผลของฟลมภาพถูกใชสําหรับการยอมรับ ความตองการของบทความที่ 2 ภาคผนวกบังคับ
IV และสวนรหัสทีอ่ างอิง จะตองถูกบังคับใช ถาฟลมภาพแอนาลอกจะตองถูกตรวจพินิจรวมเพื่อการยอมรับ
ฟลมภาพทั้งสองจะตองถูกแปลงคาเปนตัวเลข ภาพดิจิตัลของฟลมภาพแอนาลอกจะตองถูกตรวจผลแยกเปน
เอกเทศ

VI – 283 ระดับอางอิงพื้นฐาน (Baseline)


ภาพดิจิตัลของฟลมที่ไดรับการยอมรับมาแลวอาจใชเปนระดับอางอิงพื้นฐานสําหรับการตรวจสอบ
ตอเนือ่ งตอไป (subsequent in–service inspection)

VI – 290 การจัดทําเอกสาร
VI – 291 ความตองการของรายงาน
หัวขอตอไปนีจ้ ะตองจัดทํา เอกสารบันทึกในรายงานขั้นสุดทาย:
(ก) ความละเอียดของระยะทาง (หัวขอ VI – 281)
(ข) ความไวของคอนทราส (หัวขอ VI – 242)
(ค) ความถี่ของการตรวจพิสูจนระบบ
(ง) Dynamic range (VI - 283)
(จ) เทคนิคการสอบทานจากชิน้ สวนดั้งเดิมไปยังฟลมภาพเพือ่ แสดงภาพดิจิตัล รวมถึงรายงานการ
ถายภาพดวยรังสีดั้งเดิม (รายงานผลของการถายภาพดวยรังสีดั้งเดิมสามารถถูกแปลงคาเปนตัวเลขเมื่อให
สอดคลองตามความตองการนี้)
(ฉ) สภาพของฟลม ภาพดั้งเดิม (หัวขอ VI – 281)
(ช) การพิสูจนใหเห็นจริงของขัน้ ตอนการตรวจสอบ (หัวขอ VI – 261)
(ฌ) ความเปนเชิงเสนของระยะทาง (หัวขอ VI – 241)
(ญ) พารามิเตอรของสมรรถนะของระบบ (หัวขอ VI -241)
(ฎ) บุคลากรที่ดําเนินการกระบวงการถายภาพดิจิตัล (หัวขอ VI – 223)

VI - 292 การเก็บบันทึกระยะทาง (Archiving)


เมื่อรายงานขัน้ สุดทายและขอมูลที่ถกู แปลงคาเปนตัวเลขถูกใชเพือ่ ทดแทนฟลมภาพแอนาลอกเปน
ขอมูลถาวรดังขอกําหนดของสวนรหัสทีอ่ า งอิง ขอมูลทั้งหมดที่เปนของฟลมภาพดั้งเดิมจะตองถูกบันทึก
เอกสารไวในรายงานขั้นสุดทายและดําเนินการเสมือนกับเปนสวนหนึ่งของขอมูลดิจิตัล ถาฟลมภาพจะถูก
ทําลายจะตองมีสําเนาขอมูลทั้งหมดของตัวกลางบันทึกขอมูล WORM
บทที่ 2
ภาคผนวกบังคับ VI - สวนเพิ่มเติม A

VI – A – 210 ขอบเขต
ฟลมอางอิงที่อธิบายไวในสวนเพิ่มเติมนี้จัดใหมีชุดของเปาหมายที่เหมาะสมสําหรับการประเมินและการ
รับรองคุณลักษณะของสมรรถนะของระบบการแปลงคาเปนตัวเลขของการตรวจสอบโดยวิธีการถายภาพดวย
รังสี ฟลมอางอิงเหมาะสมสําหรับการประเมินทั้งกระบวนการแปลงคาเปนตัวเลขของฟลมจากการตรวจสอบ
โดยวิธีการถายภาพดวยรังสี และกระบวนการสรางภาพอิเล็กทรอนิกสกลับขึ้นมาใหม
ฟลมอางอิงจะตองถูกใชเพือ่ การพิสูจนสมรรถนะใหเห็นจริง และการประเมินของระบบการแปลงคา
ตัวเลขเพือ่ ตรวจพิสูจนคุณลักษณะการทํางานกอนที่ฟล มภาพจะถูกแปลงคาเปนตัวเลข ฟลมอางอิงจัดใหมี
คุณลักษณะสําหรับการประเมินความละเอียดทางระยะทาง ความไวของคอนทราส dynamic range และความเปน
เชิงเสนของระยะทาง

VI – A – 220 ความตองการทัว่ ไป
VI – A – 221 ฟลมอางอิง
ฟลมอางอิงจะตองกําหนดไวตามหัวขอ VI – A – 230 และ VI – A – 240

VI – A – 230 เครื่องมืออุปกรณและวัสดุ
VI – A – 231 เปาหมายอางอิง (Reference Targets)
ภาพของฟลมอางอิงและเปาหมายแสดงไวในรูปที่ VI – A – 1
VI – A – 232 เปาหมายความละเอียดของระยะทาง (Spatial Resolution Targets)
ฟลมอางอิงจะตองมีเปาหมายความละเอียดของระยะทางดังตอไปนี้ :
VI – A – 232.1 เปาหมายคูเสนที่ลเู ขาหากัน คูเสนทีล่ ูเขาหากันจะตองประกอบดวย 3 กลุมที่เหมือนกัน
ของคูเสนทีล่ ูเขาหากันไมนอ ยกวา 6 คูเสน (6 เสนที่เขมนอยและ 6 เสนที่เขมมาก) เปาหมายจะตองมีความ
ละเอียดสูงสุดไมนอ ยกวา 20 คูเสนตอมิลลิเมตร (lp/mm) และความละเอียดต่ําทีส่ ุดไมมากกวา 1 คูเสนตอ
มิลลิเมตร (lp/mm) กลุมของคูเสนทั้ง 3 กลุม จะตองวางตัวในทิศทางแนวดิ่ง แนวราบ และกลุมสุดทายจะตอง
วางตัว 45 องศา จากกลุมแนวดิ่งและแนวราบ ความละเอียดสูงสุดจะตองมีทศิ ทางเขาสูมุมของแผนฟลม เครือ่ ง
หมายอางอิงจะตองจัดทําเพือ่ แสดงความละเอียดของระยะทางในระดับที่ไมนอ ยกวา1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10,
15, และ 20 lp/mm เปาหมายความละเอียดของระยะทางจะตองกําหนดอยูที่มุมแตละมุมของขนาดฟลมที่
ตองการ
VI – A – 232.2 เปาหมายคูเสนที่ขนาน คูเสนขนานจะตองประกอบดวยคูเสนที่ขนานในแนวดิง่ ของ
ฟลมอางอิง คูเสนที่ขนานจะตองมีความละเอียดสูงสุดอยางนอย 20 lp/mm และความละเอียดต่ําที่สุดไมนอยกวา
0.5 lp/mm คูเสนที่ขนานจะตองมีความละเอียดทีแ่ ยกแยะได 0.5, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 15 และ 20 lp/mm
และมีเครื่องหมายอางอิงที่สอดคลองกับคูเสนที่ขนานจะตองอยูในตําแหนงใกลกับกึง่ กลางของฟลม อางอิง
รูปที่ VI – A - 1 ฟลมอางอิง (Reference Film)
VI – A – 233 เปาหมายความไวของคอนทราส
เปาหมายความไวของคอนทราส จะตองประกอบดวยบล็อกขนาด 10 ม.ม.x 10 ม.ม. (0.4 นิ้ว x 0.4 นิ้ว)
อยูก ึ่งกลางบล็อกขนาด 40 ม.ม. x 40 ม.ม. (1.6 นิ้ว x 1.6 นิ้ว) ซึ่งมีความทึบแสงต่ํากวาเล็กนอย จะตองใชชดุ ของ
บล็อกสองชุดซึ่งมีความทึบแสงประมาณ 2.0 บนพื้นที่ดา นหลังที่มีความทึบแสงประมาณ 1.95 เทากับมีการ
เปลี่ยนแปลงความทึบแสง 0.05 ชุดของบล็อกชุดที่สองจะมีความทึบแสงประมาณ 3.5 บนพื้นดานหลังที่มีความ
ทึบแสงประมาณ 3.4 เทากับมีการเปลีย่ นแปลงความทึบแสง 0.1 การเปลี่ยนแปลงความทึบแสงสัมพัทธมีความ
สําคัญมากกวาความทึบแสงสมบูรณ ภาพเหลานี้จะตองอยูทตี่ ําแหนงใกลขอบและกึ่งกลางของแผนฟลมเพื่อ
ที่วาการทดสอบความไวของคอนทราสทั่วทั้งเสนทางของการสแกน

VI – A – 234 เปาหมาย Dynamic Range


เปาหมายความทึบแสงเปนขั้นๆจะตองประกอบดวย ชุดของแถบความทึบแสงเปนขั้นๆ ขนาด 10 ม.ม.x
10 ม.ม. (0.4 นิ้ว x 0.4 นิ้ว) เรียงเปนแถวโดยมีความทึบแสงในชวงจาก 0.5 ถึง 4.5 โดยที่แตละขั้นมีความทึบ
แสงตางกันไมเกิน 0.5 ณ ทีส่ ี่ตําแหนงบนแถบความทึบแสง (ประมาณความทึบแสงที่ 1.0 ,2.0, 3.0 และ 4.0)
จะตองมีการเปลี่ยนของความทึบแสงขนาด 0.02 ซึ่งจะตองใชเพือ่ ทดสอบความไวของคอนทราส เปาหมายขั้น
ความทึบแสงเหลานี้จะตองอยูที่ตําแหนงใกลกับขอบของแผนฟลมและใกลกับกึ่งกลางเพื่อที่จะใชเพื่อทดสอบ
dynamic range ทั่วทั้งเสนทางของการสแกน

VI – A – 235 เปาหมายความเปนเชิงเสนของระยะทาง
เปาหมายสเกลการวัดระยะทางจะตองวางตําแหนงในทิศทางแนวราบและแนวดิ่ง เปาหมายสเกลการวัด
ระยะทางจะตองเปนการแบงสเกลตามระบบเมทริ้น และ/หรือ ระบบอังกฤษ

VI – A – 240 ความตองการอื่นๆ
คุณลักษณะของการผลิตจะตองเปนขอกําหนดความตองการต่ําสุดที่จาํ เปนสําหรับการผลิตฟลมอางอิง
ฟลมอางอิงจะตองมีการระบุเอกลักษณเฉพาะตัวซึ่งจะปรากฏเปนภาพเมื่อถูกแปลงคาเปนตัวเลข

VI – A – 241 วัสดุ
ฟลมอางอิงจะตองเปนฟลมที่ใชในอุตสาหกรรมชนิดเกรนละเอียด ฟลมที่ใชจะตองมีคณ
ุ ภาพดีเพือ่ ให
สอดคลองกับคุณลักษณะเฉพาะที่ตองการตามหัวขอ VI – A – 230

VI – A – 242 ขนาดของฟลม
ขนาดของฟลม จะตองใหญเพียงพอที่จะรับพื้นที่ที่โตทีส่ ุดของสวนทีส่ นใจจะทําการแปลงคาเปนตัวเลข

VI – A – 243 ความละเอียดทางระยะทาง
ความละเอียดทางระยะทางจะตองมีคาต่ําสุด 20 lp/mm
VI – A – 244 ความทึบแสง
ความทึบแสงสัมพัทธที่ระบุไวในหัวขอ VI – A – 233 และ VI – A – 234 จะตองมีคาในชวง ±0.005
ความทึบแสง
(ก) ความคลาดเคลือ่ นสําหรับการเปลี่ยนแปลงของความทึบแสงที่ระบุไวในหัวขอ VI – A – 233 และ
VI – A – 234 จะตองมีคาในชวง ±0.005
(ข) ความทึบแสงที่วัดได จะตองมีคาในชวง ±0.15 ของคาทีร่ ะบุไวในหัวขอ VI – A – 233 และ VI – A
– 234 ความทึบแสงจริงจะตองถูกบันทึกและแนบคูไปกับฟลมอางอิง
(ค) ความตองการเกี่ยวกับความทึบแสงจะตองสอดคลองกับมาตรฐาน ANSI ( T – 2.19)
(ง) ความทึบแสงของพื้นดานหลังที่ซึ่งไมมีภาพปรากฏจะตองมีความทึบแสง 3.0 ±0.5

VI – A – 245 ความเปนเชิงเสน
เปาหมายสเกลการวัดระยะทางจะตองมีความแมนยําทีส่ รางขึ้นทางอิเล็กทรอนิกส เทากับ ±1.3 ม.ม.
(±0.05 นิ้ว)
ภาคผนวก VII – การตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีของชิ้นงานโลหะหลอ (Radiographic Examination of
Metallic Castings)
VII – 210 ขอบเขต
ชิ้นงานโลหะหลอจะตองใชเงื่อนการตรวจสอบที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับผลิตภัณฑโลหะหลอ
เนื่องจากรูปทรงที่ซับซอนของชิ้นงาน
การตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวยรังสีสามารถกระทํากับชิ้นงานหลอไดเมือ่ กระทําตามขอกําหนด
ดัดแปลงของบทความที่ 2 ดังแสดงไวในภาคผนวกนี้

VII – 220 ความตองการทัว่ ไป


VII – 224 การระบุเอกลักษณของระบบ
จะตองมีระบบที่ใชเพือ่ ทําใหเกิดการระบุเอกลักษณอยางถาวรบนฟลม ภาพทีส่ ามารถสอบทานกลับไป
ยังสัญญา ชิ้นงาน หรือหมายเลขชิ้นงานตามความเหมาะสม นอกจากนีฟ้ ลมแตละฟลม แตละฟลมของชิ้นงาน
หลอทีถ่ ูกถายภาพดวยรังสีจะตองถูกระบุเอกลักษณอยางถาวรและเรียบงายโดยมีชื่อหรือสัญลักษณของผูผลิต
วัสดุ ผูถ อื ใบอนุญาต (Certificate Holder) หรือผูทําสัญญายอย ชือ่ งานหรือหมายเลขงาน วัน เดือน ป และการ
ซอมแซม (R1, R2,…เปนตน) ถาเหมาะสม ระบบการระบุเอกลักษณนไี้ มไดกําหนดใหตองมีขอมูลเหลานี้
ปรากฏอยูในภาพถายดวยรังสี ไมวากรณีใดๆขอมูลดังกลาวจะตองไมบดบังพื้นทีท่ ี่สนใจจะตรวจพบ

VII – 270 การตรวจสอบ


VII – 271 เทคนิคการถายภาพดวยรังสี
VII – 271.2 เทคนิคการตรวจพินจิ ผนังคู เทคนิคการตรวจพินิจผนังคูสามารถใชสาํ หรับชิน้ งานหลอ
รูปทรงกระบอกขนาดเสนผานศูนยกลาง 88 มม. (3½ นิ้ว) หรือเล็กกวา หรือเมื่อรูปทรงของชิ้นงานหลอไม
สามารถทําการตรวจพินิจผนังเดียวได

VII – 276 การเลือกไอคิวไอ


VII – 276.3 ความตองการในการเลือกไอคิวไอเพิ่มเติม ความหนาที่ซึ่งใชในการพิจารณาหาไอคิวไอ
คือความหนาของผนังเดียว
(ก) พื้นที่หลอกอนการทําใหเรียบ (Casting Are as Prior to Finish Machining) ไอคิวไอจะตองถูก
พิจารณาหาจากความหนาที่ซึ่งไมเกินความหนาที่ทําใหเรียบเสร็จแลว มากเกินกวา 20% หรือ 6 มม. (¼ นิ้ว)
คาที่มากกวา ไมวากรณีใดๆ ขนาดของไอคิวไอจะตองไมพิจารณาจากความหนาที่ถูกถายภาพดวยรังสี
(ข) พื้นที่หลอที่ซึ่งจะคงสภาพของการหลอเอาไว (Casting Areas That Will Remain in the As–Cast
Condition) ไอคิวไอจะตองพิจารณาจากความหนาทีถ่ ูกถายภาพดวยรังสี

VII – 280 การประเมินผล


VII – 282 ความทึบแสงของการถายภาพดวยรังสี
VII – 282.1 ขีดจํากัดของความทึบแสง ความทึบแสงของฟลมที่ทะลุผานภาพจากการถายภาพ
ดวยรังสีของชิน้ ไอคิวไอแบบรูที่เหมาะสม หรือใกลกับเสนลวดที่กําหนดของไอคิวไอแบบเสนลวดและพืน้ ที่ที่
ตรวจสอบจะตองมีคาต่ําสุด 1.5 สําหรับการตรวจพินิจฟลมเดียว สําหรับการตรวจพินิจแบบผสมผสานของ
การถายภาพแบบหลายฟลม ฟลมแตละฟลม ของชุดผสมผสานจะตองมีความทึบแสงต่ําสุด 1.0 ความทึบแสง
สูงสุดจะตองมีคา 4.0 สําหรับการตรวจพินิจฟลมเดียวหรือการตรวจพินิจแบบผสมผสาน ความคลาดเคลือ่ น
ของความทึบแสงขนาด 0.05 ยอมรับไดสาํ หรับการแปรปรวนในระหวางคาที่อานไดของเครื่องวัดความทึบ
แสง

VII – 290 การจัดทําเอกสาร


VII – 293 รายละเอียดการจัดวางชิ้นงาน (Layout Details)1
เพื่อใหมนั่ ใจวาชิ้นงานหลอทั้งหมดถูกตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวยรังสีอยางสม่ําเสมอใน
ลักษณะที่เหมือนกัน จะตองจัดใหมีรายละเอียดการจัดวางชิ้นงาน อยางนอยทีส่ ุดรายละเอียดการจัดวาง
ชิ้นงานจะตองรวมถึง:
(ก) รูปสเก็ตของชิน้ งานหลอในหลายๆทิศทางการมองตามความจําเปนเพื่อแสดงถึงตําแหนง
โดยประมาณของเครือ่ งหมายกําหนดตําแหนงแตละอัน และ
(ข) มุมของแหลงกําเนิดรังสีถาไมตั้งฉากกับแผนฟลม
1
ตัวอยางรายละเอียดการจัดวางชิ้นงานและเทคนิคถูกแสดงไวมาตรฐาน SE – 1030 ภาคผนวกขอมูลไมบังคับ
X1, รูปที่ X1.1 รูปสเก็ตของการถายภาพดวยรังสีแบบมาตรฐาน (Radiographic Standard Shooting Sketch
(RSS))
ภาคผนวก VIII – การตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีที่ใชแผนภาพเรืองแสง (Radiography Using
Phosphor Imaging Plate)
VIII – 210 ขอบเขต
ภาคผนวกนีร้ ะบุถึงความตองการสําหรับการใชแผนภาพเรืองแสง (Photostimulable Luminescent
phosphor) เพือ่ เปนทางเลือกคูกับการถายภาพดวยรังสีทใี่ ชฟลม การตรวจสอบโดยวิธีการถายภาพดวยรังสีที่
ใชแผนภาพเรืองแสงสามารถถูกใชงานกับวัสดุที่รวมถึงชิ้นงานหลอและชิน้ งานเชือ่ มเมื่อกระทําตามขอกําหนด
ดัดแปลงของบทความที่ 2 ดังแสดงไวในภาคผนวกนี้ และความตองการอื่นๆทั้งหมดของบทความที่ 2
คําศัพท ฟลม (Film) ที่ถูกใชในบทความที่ 2 จะสามารถดําเนินการถายภาพดวยรังสีสอดคลองกับภาคผนวกนี้
คือ แผนภาพเรืองแสง ภาคผนวก III การจัดเก็บ การแสดงผลและการเก็บบันทึกภาพดิจิตัลสําหรับการ
ตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสีจะตองถูกนํามาใชเมือ่ สามารถกระทําได

VII – 220 ความตองการทัว่ ไป


VII – 221 ความตองการของเอกสารแนะนําขั้นตอนการตรวจสอบ
VIII – 221.1 เอกสารแนะนําขั้นตอนการตรวจสอบ จะตองมีเอกสารแนะนําขั้นตอนการตรวจสอบ โดย
สอดคลองกับความตองการของหัวขอ T – 221.1 เอกสารแนะนําขั้นตอนการตรวจสอบจะตองอยางนอยทีส่ ุด
รวมถึงขอมูลดังตอไปนี้เมือ่ เหมาะสม:
(ก) ชนิดของวัสดุและชวงความหนา
(ข) ไอโซโทป หรือ ความตางศักดิ์ของรังสีเอกซสูงสุด ที่ใชงาน
(ค) ระยะทางสัน้ ทีส่ ุดจากแหลงกําเนิดรังสีถึงชิน้ วัสดุ (D ในหัวขอ T – 274.1)
(ง) ระยะทางจากดานใกลแหลงกําเนิดรังสีของวัตถุไปยังแผนภาพเรืองแสง (d ในหัวขอ T – 274.1)
(จ) ขนาดของแหลงกําเนิดรังสี (F ในหัวขอ T – 274.1)
(ซ) สกรีนที่ใช
(ญ) ซึ่งผูผ ลิตเครือ่ งมืออุปกรณสแกนและประมวลผลภาพ และรุน
VIII – 221.2 การพิสูจนใหเห็นจริงของเอกสารแนะนําขัน้ ตอนการตรวจสอบ การพิสูจนใหเห็นจริง
ของความตองการจากภาพของไอคิวไอของตามเอกสารแนะนําขัน้ ตอนการตรวจสอบ การตรวจสอบโดย
วิธีการถายภาพดวยรังสี แบบการผลิต หรือแบบเทคนิคที่ใชแผนภาพเรืองแสง จะตองถือวาเปนหลักฐานที่
ยอมรับสอดคลองกับขั้นตอนการตรวจสอบนั้นๆ

VIII – 225 การควบคุมขีดจํากัดของความทึบแสงของฟลมภาพ


ความตองการตามหัวขอ T – 225 ไมสามารถนํามาใชกับการตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวยรังสีที่ใช
แผนภาพเรืองแสง

VIII – 230 เครื่องมืออุปกรณ และวัสดุ


VIII – 231 แผนภาพเรืองแสง
VIII – 231.1 การคัดเลือก การตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวยรังสีจะตองกระทําโดยใชแผนภาพเรือง
แสงที่ใชในอุตสาหกรรมซึง่ สามารถพิสจู นใหเห็นจริงถึงภาพของไอคิวไอที่ตอ งการได
VIII – 231.2 การประมวล ระบบที่ใชสําหรับประมวลผลของแผนภาพเรืองแสงจะตองสามารถวัด
เก็บ เก็บบันทึก และแสดงภาพดิจิตัลได

VIII – 234 สถานที่สาํ หรับการตรวจพินจิ ฟลมภาพ


สถานที่สําหรับการตรวจพินิจจะตองจัดใหมีความเขมแสงสวางทีส่ ลัวซึ่งไมสะทอน ทําใหเกิดเงา หรือ
ทําใหเกิดความมันวาวซึ่งจะรบกวนตอกระบวนการตรวจผล

VIII – 260 การปรับเทียบ


VIII – 262 เครื่องวัดความทึบแสงและฟลม เปรียบเทียบของชิ้นงานลิม่ ขั้นบันได
ความตองการตามหัวขอ T – 262 ไมสามารถนํามาใชกับการตรวจสอบโดยวิธถี ายภาพดวยรังสีที่ใช
แผนภาพเรืองแสง

VIII – 270 การตรวจสอบ


VIII – 277 การใชไอคิวไอเพือ่ เฝาตรวจการตรวจสอบโดยวิธีถายภาพดวยรังสี
VIII – 277.1 การจัดวางไอคิวไอ
(ก) ไอคิวไอดานแหลงกําเนิดรังสี เมือ่ ใชบล็อกแยกตางหากสําหรับจัดวางไอคิวไอดังอธิบายไวใน
หัวขอ T – 277.1 (ก) ความหนาของบล็อกจะตองทําใหความสวางของภาพเนกาตีฟ (Negative image brighter)
ที่ตัวของไอคิวไอจะตองเทากับหรือมากกวาความสวางของภาพของพื้นที่ที่ตรวจสอบ
ความตองการอื่นๆทั้งหมดของหัวขอ T – 277.1 จะตองถูกนํามาใช
VIII – 277.2 จํานวนของไอคิวไอ
(ก) ไอคิวไอหลายชิ้น ไอคิวไอหนึ่งชิ้นจะตองถูกใชสําหรับชวงความหนาแตละชวงที่ใชงานไดตาม
ตาราง T – 276 ที่กําหนดความหนาต่ําสุดถึงสูงสุดของพืน้ ที่ที่ตรวจสอบที่จะตองถายภาพดวยรังสี
ความตองการอื่นๆทั้งหมดของหัวขอ T – 277.2 จะตองถูกนํามาใช
VIII – 277.3 แผนฟลมทีว่ างใตไอคิวไอแบบรู สําหรับรอยเชือ่ มที่ที่มวี ัสดุเสริมสวนโคงนูนหรือวัสดุ
รองดานหลัง จะตองใชแผนชิมที่เปนวัสดุที่มีผลตอรังสีเหมือนกับโลหะเชื่อม และ/หรือ วัสดุรองดานหลังจัด
วางไวระวางชิน้ งานและไอคิวไอในลักษณะที่วาความสวางของภาพเนกาตีฟที่ตัวรองไอคิวไอจะตองเทากับ
หรือมากกวาความสวางของภาพของพื้นทีท่ ี่ตรวจสอบ ขนาดของแผนชิมจะตองใหญกวาขนาดของไอคิวไอ
ในลักษณะที่วา อยางนอยทีส่ ุดของขอบเขตดานนอกสามดานของไอคิวไอจะตองมองเห็นไดในฟลม ภาพ

VIII – 280 การประเมินผลการตรวจ


VIII – 281 รอยบกพรองที่เกิดจากระบบ
ภาพดิจิตัลจะตองปราศจากจากรอยบกพรองที่เกิดจากรระบบในพื้นที่ที่ตรวจสอบทีซ่ งึ่ สามารถบดบัง
หรือทําใหสับสนกับภาพของความไมตอเนื่อง

VIII – 282 ความทึบแสงของการถายภาพดวยรังสี


ความตองการตามหัวขอ T – 282 ไมสามารถนํามาใชกับการตรวจสอบวิธีถายภาพดวยรังสีที่ใชแผน
ภาพเรืองแสง
VIII – 2887 สเกลวัดระยะทาง
สเกลวัดระยะทางที่ใชสําหรับการตรวจผลจะตองสามารถใชวัดขนาดของภาพที่ถกู ฉายเครื่องมือสเกล
วัดระยะทางจะตองอางอิงเทียบกับตัวเปรียบเทียบที่ทราบขนาดซึ่งวางไวบนซองใสฟล ม

VIII – 288 การตรวจผล


การตรวจผลการถายภาพดวยรังสีขั้นสุดทายจะตองกระทําภายหลังจากที่ภาพดิจิตัลแสดงไหเห็นความ
ไวของไอคิวไอที่ตอ งการ

VIII – 290 การจัดทําเอกสาร


VIII – 291 รายละเอียดของการจัดทําเอกสารเทคนิคการถายภาพดิจิตลั
บริษัทผูผ ลิตจะตองจัดเตรียมและจัดทําเอกสารรายละเอียดเทคนิคการถายภาพดิจิตลั โดยอยางนอย
ที่สุดจะตองมีขอมูลดังตอไปนี้:
(ก) การระบุเอกลักษณดังระบุไวสอดคลองตามหัวขอ T – 224
(ข) แผนผังทีก่ ําหนดระยะทาง (ถาไมใช) ของการจัดวางเครือ่ งหมายกําหนดระยะสอดคลองตาม
หัวขอ T – 275.3
(ค) จํานวนภาพทีถ่ าย
(ง) ความตางศักดิข์ องรังสีเอกซ หรือชนิดไอโซโทปที่ใช
(จ) ขนาดของแหลงกําเนิดรังสี (F ในหัวขอ T – 274.1)
(ฉ) ชนิดของวัสดุพื้น (base material) และความหนา ความหนาของสวนโคงนูน ถามี
(ช) ระยะทางจากแหลงกําเนิดรังสีถึงชิน้ งาน (D ในหัวขอ T – 274.1)
(ซ) ระยะทางจากดานใกลแหลงกําเนิดรังสีของชิ้นงานไปถึงตัวกลางเก็บบันทึกเรืองแสง (d ในหัวขอ
T – 274.1)
(ฌ) บริษัทผูผ ลิตตัวกลางเก็บบันทึกเรืองแสงและเครือ่ งหมายกํากับ
(ญ) บริษัทผูผ ลิตเครือ่ งมือวัดเก็บ(แปลงคาเปนตัวเลข)ภาพ รุน และหมายเลขกํากับเครือ่ ง
(ฎ) การถายภาพผนังเดียว หรือ สองผนัง
(ฏ) การตรวจพินิจผนังเดียว หรือ สองผนัง
(ท) การระบุเอกลักษณของเอกสารแนะนําขั้นตอนการตรวจสอบ และ ครั้งที่ปรับปรุง
(ธ) เวอรชันของโปรแกรมการสรางภาพและครั้งที่ปรับปรุง
(ด) คาตัวเลขของพารามิเตอรที่ใชในกระบวนการประมวลผลภาพขั้นสุดทาย เชน ตัวกรอง (filters)
วินโดว (window) คอนทราส (contrast) และระดับความสวาง (brightness) สําหรับการดูภาพแตละภาพ
รายละเอียดของเทคนิคสามารถบันทึกไวในไฟลขอมูล เมื่อบันทึกขอมูลรายละเอียดของเทคนิค
ไวในไฟลกส็ ามารถใชมาตรฐาน ASTME 14 75 Standard Guide for Data Fields for Computerized Transfer
of Digital Radiological Test Data เปนแนวทางสําหรับการกําหนดชองขอมูลและเนือ้ หาของขอมูล
รูปที่ A – 210 – 1 เทคนิคการถายภาพดวยรังสีแบบผนังเดียว
รูปที่ A – 210 – 2 เทคนิคการถายภาพดวยรังสีแบบผนังคู
รูปที่ A – 210 – 1 (ตอ) เทคนิคการถายภาพดวยรังสีแบบผนังเดียว
ภาคผนวก C – รูปสเก็ตการจัดวางไอคิวไอแบบรูสําหรับรอยเชื่อม (Hole-type IQI Placement Sketches for
Welds)
รูปภาพในภาคผนวกนี้แสดงตัวอยางการจัดวางไอคิวไอแบบรูสําหรับรอยเชือ่ ม รูปสเก็ตเหลานี้เปน
ตัวอยางเพื่อแสดงใหเห็นถึงตําแหนงของไอคิวไอที่แนะนํา แตไมไดตงั้ ใจจะใหครอบคลุมโครงรางหรือการ
ประยุกตทั้งหมดของการผลิตฟลมภาพ ตําแหนงไอคิวไออื่นๆสามารถใชไดถาสอดคลองตามขอกําหนดของ
บทความที่ 2 ไอคิวไอแบบเสนลวดจะตองถูกจัดวางใหสอดคลองตามขอกําหนดของบทความที่ 2

รูปที่ C – 210 – 1 ภาพดานขางและภาพดานบนของการวัดวางไอคิวไอแบบรู


รูปที่ C – 210 – 2 ภาพดานขางและภาพดานบนของการวัดวางไอคิวไอแบบรู
รูปที่ C – 210 – 3 ภาพดานขางและภาพดานบนของการวัดวางไอคิวไอแบบรู
รูปที่ C – 210 – 4 ภาพดานขางและภาพดานบนของการวัดวางไอคิวไอแบบรู
ภาคผนวก D – จํานวนไอคิวไอแบบ(สําหรับกรณีพิเศษ) (Number of IQIs (Special Cases))
รูปภาพในภาคผนวกนี้แสดงตัวอยางจํานวนและการจัดวางของไอคิวไอทีซ่ ึ่งสามารถใชในกรณี
พิเศษดังอธิบายไวในหัวขอ T – 277.2(ข) รูปภาพเหลานี้ไมไดตั้งใจจะใหครอบคลุมโครงราง
หรือการประยุกตทั้งหมดของการผลิตฟลมภาพ

รูปที่ D – 210 – 1 - 4
รูปที่ D – 210 – 5 - 8

You might also like