You are on page 1of 57

*Ethylene

EGAT
*Propylene
Thai
*Ethylene
*Methane *PE *Tail Gas
*Propylene
LNG SPE
Propylene *Fuel Gas
*Py-gas Spent Solvent
Natural *Methane *Py-gas
*Hydrogen
gas *Cracker Bottom
•Ethane *Tail gas
Hydrogen
*Propane *Cracker Ethylene (ROC,MOC)
*LPG Bottoms C7 C8 Import
*NGL *Mixed C 4
Export *LPG
*Hexane *CO2 *White spirit
WS 3060 *Jet Fuel
*Pentane *CO Kerozene *Xylol
ALT
*Phenol *ULG 95
SCL
*H2
APT
*Acetone C9 *Topsoix2000 *Heavy *ULG 91
*Topso160/145 *CH4 PG Aromatics
*Benzene &DIPB *Diesel
LVN *ws200 *Methane Residue
*Heavy aromatic *Fuel oil (A,C)
*Heavy Residue *A100,150 *Toluene *Light Naphtha
*ws-2 *CO
*Benzene
Benzene *Raffinate TIG *H2
*Para xylene *Methane
*LPG Benzene/Toluene
Propylene *Ortho xylene
*Propylene Retum SSMC *Stylene *Mixed xylene
*ULG 91 *SM Condensate *Heavy aromatics
*Light Naphtha *H2 (PTT) ,MTB *Condensate Residue Natural gas Ptt
Crude *Heavy Crude *Toluene
Naphtha
Fuel oil *Diesel *Solvent
3040
RPC
*Asphatt &
MTBE Sulfur TPP *Propylene
*IK Solvent

HMC
*Fuel oil (A,C) Vent Gas *Diesel
*Propylene *Ethylene *Cracker Bottom
Reformate *Mixed C4 *Fuel oil (E)
Vent Gas *Propylene
TPE
Return *Slop
*HVGO *Fouled Paraffin *Mix Xylene
Benzene

*G-Base91,95 *Fouled Hexane *Toluene


*PGP
*Ethylene
C5 M *C5 R (HBR) *LPG
MOC *Ethylene
*Py-gas
*Propylene
ZCT
(HBM) *Aliphatic *MTBE *Mixed C4 *MMA
*Acetylene
BST
Hydrocarbon *Butene-I *Fuel Gas *Acrylonitrile
*Butadiene (Import) Resin *Butadiene1,2 AMS
*Styrene *Raffinate 2 *Raffinate *Propylene
Fuel oil (RPC) *FBP35/90,80/100,
*Methanal Vent Gas
100/250 Raffinate 1,
Naphtha *Raffinate 1
Raffinate
*WS3060 1,2
Benzene
*Benzene *Ethylene
*Toluene Methanol
Reduce Crude *Propylene
*Para xylene *Benzene LNG
ROC
Crude *Mixedxylene *Excess-C4
*Toluene
*MMA TMMA BSTE
*LPG *Mixed C4 *Rubber (BR)
*ULG 95 *Py-gas *Styrene Butadiene
*ULG 91 *RC4 Rubber (SBR)
Mixed C 4 *Fuel gas
*Diesel *CrackerBottom
*Jet Fuel
*Fuel oil Light Naphtha (ATC,Esso,Thai oil,Import)
โครงสร้างอุตสาหกรรมปิโตรเคมี

ปัจจุบันอุตสาหกรรมปิโตรเคมีเป็นอุตสาหกรรมที่มีความเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมอื่นมากมาย และเป็น
อุ ต สาหกรรมที่ มี มู ล ค่ า มหาศาล มี ก ารแข่ ง ขั น สู ง ทั้ ง ในประเทศและนานาชาติ ประเทศไทยได้ มี ก ารพั ฒ นา
อุตสาหกรรมต้นน้้ามาเป็นระยะเวลานาน และได้เริ่มก้ าวเข้าสู่การพัฒนาอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ซึ่งผลผลิตของ
อุตสาหกรรมดังกล่าวเกี่ยวข้องกับชีวิตประจ้าวันได้แก่ สารเคมี ตัวท้าละลาย ไฮโดรคาร์บอน ผงซักฟอก พลาสติก
เรซิน ยางสังเคราะห์ และเส้นใยสังเคราะห์ เป็นต้น

โครงสร้างอุตสาหกรรมปิโตรเคมี (Petrochemical Industry Structure) แบ่งเป็น 4 ขั้นการผลิตดังนี้


- วัตถุดิบส้าหรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมี (Feedstocks for Petrochemical Industry)
- อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้น (Upstream Petrochemical Industry)
- อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นกลาง (Intermediate Petrochemical Industry)
- อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นปลาย (Downstream Petrochemical Industry)

(1) วัตถุดิบสาหรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมี (Feedstocks for Petrochemical Industry)

วัตถุดิบตั้งต้นของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีล้วนมาจากผลิตภัณฑ์ของอุตสาหกรรมปิโตรเลียมและการใช้งาน
ของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากอุตสาหกรรมปิโตรเลียมสามารถแบ่งตามการใช้ประโยชน์หลักๆ ได้ดังต่อไปนี้

- ใช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับการขับเคลื่อนยานพาหนะต่างๆ เช่น ก๊าซธรรมชาติเหลว (NGL) น้้ามันเบนซิน


(Gasoline) น้้ามันดีเซล (Diesel) และน้้ามันเครื่องบิน (JET A1) เป็นต้น
- ใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อเป็นแหล่งให้ความร้อน รวมถึงการใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า เช่น ก๊าซ
ธรรมชาติ (Natural Gas) ก๊าซหุงต้มหรือก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) และน้้ามันเตา (Fuel Oil) เป็นต้น
- ใช้เป็นวัตถุดิบตั้งต้น (Feedstocks) ส้าหรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมี

(2) อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้น (Upstream Petrochemical Industry)

เป็นอุตสาหกรรมเพื่อการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีล้าดับแรกที่ใช้เป็นวัตถุดิบส้าหรับการผลิตผลิตภัณฑ์
ปิโตรเคมีขั้นต่อเนื่องต่อไป อุตสาหกรรมกลุ่มนี้มีผลิตภัณฑ์หลักอยู่ 7 ตัว (The Seven Sisters) สามารถแบ่งได้เป็น
3 กลุ่มตามโครงสร้างพื้นฐานของโมเลกุลที่ต่างกันดังนี้
- กลุ่มอัลเคน (Alkane Group) สารตัวสาคัญคือ มีเทน (Methane)
- กลุ่มโอเลฟินส์ (Olefins Group) ประกอบด้วย เอทิลีน (Ethylene) โพรพิลีน (Propylene) มิกซ์ซีสี่ (Mixed
C4)
- กลุ่มอะโรแมติกส์ (Aromatics Group) ประกอบด้วย เบนซีน (Benzene) โทลูอีน (Toluene) และ
ไซลีน (Xylene)
3. อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นกลาง (Intermediate Petrochemical Industry)

เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นต้นเป็นวัตถุดิบในการผลิต เพื่อป้อนให้กับอุตสาหกรรมขั้นปลาย
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นกลางนี้แบ่งผลิตภัณฑ์ได้ตามสายของปิโตรเคมีขั้นต้น ดังนี้

(1) ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นกลางสายอัลเคน (Alkane Intermediates)

(2) ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นกลางสายโอเลฟินส์ (Olefin Intermediates)

(3) ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นกลางสายอะโรแมติกส์ (Aromatic Intermediates)

ผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นกลางเหล่านี้จะถูกน้าไปใช้เป็นวัตถุดิบส้าหรับอุตสาหกรรมปิโตร
เคมีขั้นปลายต่อไป

4. อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นปลาย (Downstream Petrochemical Industry)


เป็ น อุ ต สาหกรรมที่ ใ ช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากอุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเคมี ขั้ น ต้ น หรื อ ขั้ น กลางมาเป็ น วั ต ถุ ดิ บ เพื่ อ ผลิ ต
ผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายก่อนที่จะน้าไปแปรรูปในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นปลายสามารถ
แบ่งเป็นกลุ่มหลักๆ ตามลักษณะผลิตภัณฑ์ที่ได้ดังนี้
· กลุ่มพลาสติก (Plastic Resins)
กลุ่มเส้นใยสังเคราะห์ (Synthetic Fibres)
· กลุ่มยางสังเคราะห์ (Synthetic Rubbers, Elastomers)
· กลุ่มสารเคลือบผิวและผลิตภัณฑ์กาว (Synthetic Coating and Adhesive Materials)

สานักนโยบายปิโตรเลียมและปิโตรเคมี
สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน
23 กันยายน 2553
ตารางผลิตภัณฑ์และคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
ประเภทผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี โครงสร้าง คุณสมบัติทางเคมี การใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีการผลิต แหล่งที่มา
วัตถุดิบปิโตรเคมี อีเทน C2H6 สารประกอบทางไฮโดรคาร์ บ อนที่ มี สู ต ร '- ใช้เป็นวัตถุดิบตั้งต้นในการผลิตเอ กระบวนการกลั่นแยก โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
โ ม เ ล กุ ล คื อ C2 H6 อ ยู่ ใ น ก ลุ่ ม ข อ ง ทิ ลี น ซึ่ ง เป็ น วั ต ถุ ดิ บ ส้ า หรั บ การ ก๊าซธรรมชาติ
สารประกอบอัลเคน ประกอบด้วยคาร์บอน 2 ผลิตเม็ดพลาสติกโพลิเอทิลีน ที่ใช้
โ ม เ ล กุ ล เ ชื่ อ ม ต่ อ กั น ด้ ว ย พั น ธ ะ เ ดี่ ย ว ผลิ ต เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ พ ลาสติ ก ชนิ ด
ณ อุ ณ หภู มิ ห้ อ ง (25°C) และความดั น ต่างๆ เช่น ถุงพลาสติ ก หลอดยาสี
บรรยากาศ เอทิลีนมีลักษณะกายภาพเป็นก๊าซ ฟัน ขวดแชมพู และเส้นใยพลาสติก
ไม่มี สี ไม่มี กลิ่ น โดยอีเทนจะได้ มาจากการ เป็นต้น
กระบวนการแยกก๊ า ซธรรมชาติ ห รื อ เป็ น
ผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จากกระบวนการกลั่น
น้้ามัน
วัตถุดิบปิโตรเคมี โพรเพน C3H8 สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีสูตรโมเลกุล '- ใช้เป็นวัตถุดิบตั้งต้นในการผลิต กระบวนการกลั่นแยก โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
คือ C3H8 อยู่ในกลุ่มของสารประกอบอัลเคน โพรพิลีน ซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบในการ ก๊าซธรรมชาติ
ประกอบด้ ว ยคาร์ บ อนจ้ า นวน 3 โมเลกุ ล ผลิตเม็ดพลาสติกโพลิโพรพิลีนที่ใช้
เชื่อมต่อกันด้วยพันธะเดี่ยว ณ อุณหภูมิห้อง ผลิ ต เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ พ ลาสติ ก ชนิ ด
(25°C) และความดันบรรยากาศ โพรเพนจะมี ต่างๆ เช่น บรรจุภัณฑ์ต่างๆ ปลอก
ลักษณะทางกายภาพเป็นก๊าซไม่มีสี ไม่มีกลิ่น หุ้ ม สายไฟและสายเคเบิ ล งาน
โดยโพรเพนได้ จ ากกระบวนการกลั่ น แยก เคลือบกระดาษ วัสดุอุดรอยรั่ว กาว
ธรรมชาติ หรือเป็นผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้ที่ได้ และอุปกรณ์ภายในรถยนต์ เป็นต้น
จากการกลั่นน้้ามัน '- ใช้ผสมกับก๊าซบิวเทนในสัดส่วน
โพรเพน 60% และ บิ ว เทน 40%
เพื่ อ ผลิ ต เป็ น ก๊ า ซแอลพี จี ส้ า หรั บ
เป็นเชื้อเพลิงในภาคครัวเรือน และ
อุ ต สาหกรรม รวมถึ ง เป็ น วั ต ถุ ดิ บ
ส้าหรับผลิตโอเลฟินส์ (เอทิลีน และ
โพรพิลีน)
ประเภทผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี โครงสร้าง คุณสมบัติทางเคมี การใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีการผลิต แหล่งที่มา
วัตถุดิบปิโตรเคมี ก๊าซปิโตรเลียมเหลว C3H8, ก๊าซไฮโดรคาร์บอนผสมระหว่างโพรเพนกับบิวเทน '- ใช้เป็นวัตถุดิบส้าหรับการผลิต กระบวนการกลั่นแยก โรงแยกก๊าซธรรมชาติ/โรง
(แอลพีจี) C4H10 ในสัดส่วน 60 ต่อ 40 ตามล้าดับ มีลักษณะกายภาพ โอเลฟินส์ (เอทิลีน และโพรพิลีน) ก๊าซธรรมชาติ กลั่นแยกคอนเดนเสท/โรง
เป็นก๊าซ ณ อุณหภูมิห้องและความดันบรรยากาศ กลั่นน้้ามัน
วัตถุดิบปิโตรเคมี แนฟทา C6-C10 สารผสมของสารประกอบอั ลเคน และไซโคลอัล ' -ใช้ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง ส้ า หรั บ ภาค กระบวนการกลั่น โรงกลั่นแยกคอนเดนเสท/
เคน หรือแนฟทีน ที่มีคาร์บอนอะตอมตั้งแต่ 6 ถึง ครัว เรื อน (ก๊า ซหุ งต้ ม ) ยานพาหนะ น้้ามัน/คอนเดนเสท โรงกลั่นน้้ามัน
10 อะตอมของผสมของไฮโดรคาร์บอนที่ได้จาก และโรงงานอุตสาหกรรม
การกลั่ น น้้ า มั น ดิ บ มี ช่ ว งจุ ด เดื อ ด 75-200 °C '- ใช้ผลิตเป็นน้้ามันเบนซีน เพื่อใช้
แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ เป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์
(1) ฟูลเรนจ์แนฟทา (Full range naphtha) คือ '- ใช้เป็นวัตถุดิบส้าหรับผลิตสาร
แนฟทาที่มีช่วงอุณหภูมิจุดเดือดระหว่าง ตั้ ง ต้ น ปิ โ ตรเคมี คื อ สารโอเลฟิ น ส์
30°C ถึง 200°C ประกอบไปด้วยสาร (เอทิลีน และโพรพิลีน ) และสารอะ
ไฮโดรคาร์ บ อนที่ มี จ้ า นวนคาร์ บ อน โรเมติกส์ (เบนซีน โทลูอีน และไซ
จ้านวน 5 ถึง 12 อะตอม เป็นองค์ประกอบ ลีน)
โดยทั่ ว ไปจะมี สั ด ส่ ว นอยู่ ใ นน้้ า มั น ดิ บ
ประมาณ 15 – 30 % โดยน้้าหนัก
(2) ไลท์ แนฟทา (Light naphtha) คือ แนฟทา
ที่มีช่วงอุณหภูมิจุดเดือดระหว่าง 30 °C ถึง
90 °C ประกอบไปด้ ว ยสาร
ไฮโดรคาร์ บ อนที่ มี จ้ า นวนคาร์ บ อน
จ้านวน 5ถึง 6 อะตอม เป็นองค์ประกอบ
(3) เฮฟวี แนฟทา (Light naphtha) คือ แนฟทา
ที่มีช่วงอุณหภูมิจุดเดือดระหว่าง 90 °C ถึง
200°C ประกอบไปด้ ว ยสาร
ไฮโดรคาร์ บ อนที่ มี จ้ า นวนคาร์ บ อน
จ้านวน
6 ถึง 12 อะตอม เป็นองค์ประกอบ
ประเภทผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี โครงสร้าง คุณสมบัติทางเคมี การใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีการผลิต แหล่งที่มา
ปิโตรเคมีขั้นต้น เอทิลีน C2H4 สารไฮโดรคาร์ บ อนชนิ ด ไม่ อิ่ ม ตั ว มี ค าร์ บ อน '- ใช้เป็นวัตถุดิบส้าหรับผลิตเม็ด '- กระบวนการแตกสลาย โรงผลิตโอเลฟินส์
จ้านวน 2 โมเลกุลเชื่อมต่อกันโดยพันธะคู่ มีสูตร พลาสติกโพลีเอทิลีน แบ่งออกเป็น 3 โมเลกุลด้วยไอน้้า (Steam
โมเลกุลคือ C2H4 ลักษณะทางกายภาพเป็นก๊าซไม่ ชนิ ด คื อ (1) โพลี เ อทิ ลี น ชนิ ด ความ cracking)
มีสี ณ ภูมิ ห้อ งและความดั นบรรยากาศ (25°C) หนาแน่ นสู ง ใ ช้ ผ ลิ ต ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์
สามารถละลายในน้้ า และแอลกอฮอล์ ไ ด้ เ พี ย ง พลาสติ ก ต่ า งๆ ได้ แ ก่ ลั ง ปลา ลั ง
เล็กน้อย มีความว่องไวต่อการเกิดปฏิกิริยากับสาร ผลไม้ ถั ง พลาสติ ก หลอดดู ด น้้ า ถั ง
อื่ น ๆ เ ช่ น น้้ า แ ล ะ ค ล อ รี น ผ ลิ ต ไ ด้ จ า ก บรรจุ ข อง แผ่ น แพลเล็ ต ฉนวนหุ้ ม
กระบวนการแตกตัว (Cracking) โดยใช้อีเทน สายไฟและแผ่นฟิล์มปูก้นบ่อ เป็นต้น
หรือสารไฮโดรคาร์บอนอื่นๆ เช่น โพรเพน แอล (2) โพลีเอทิลีนชนิดความหนาแน่น
พีจี แนฟทา เป็นวัตถุดิบ ต่้า ใช้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกต่างๆ
ได้แก่ ใช้ผลิตฟิล์มพลาสติกส้ าหรับ
ห่อฟิล์มหุ้มอาหาร ฟิล์มหดรัด ฟิล์ม
ห่อของ กระสอบ และถังบรรจุของ
หนั ก แผ่ น บุ ถั ง ถั ง ใส่ ข อง ของเล่ น
ปลอกหุ้ ม สายไฟฟ้ า และสายเคเบิ ล
เป็นต้น
ปิโตรเคมีขั้นต้น โพรพิลีน C3H6 สารไฮโดรคาร์ บ อนชนิ ด ไม่ อิ่ ม ตั ว มี ค าร์ บ อน '- ผลิตเม็ดพลาสติกโพลีโพรพิลีน ใช้ '- กระบวนการแตกสลาย โรงผลิตโอเลฟินส์
จ้านวน 3 โมเลกุลเชื่อมต่อกันโดยพันธะคู่ มีสูตร ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกต่างๆ ได้แก่ โมเลกุลด้วยไอน้้า (Steam
โมเลกุลคือ C3H6 ลักษณะทางกายภาพเป็นก๊าซไม่ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ต่ า งๆ ปลอกหุ้ ม สายไฟ cracking) - กระบวนการ
มี สี ณ อุ ณ หภู มิ ห้ อ งและความดั น บรรยากาศ และสายเคเบิ ล งานเคลื อบกระดาษ แตกสลายโมเลกุลโดยใช้
(25°C) สามารถละลายในน้้าและอัลกอฮอลล์ได้ วั ส ดุ อุ ด รอยรั่ ว กาว และอุ ป กรณ์ ตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalytic
เพียงเล็กน้อย มีความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยา ภายในรถยนต์ เป็นต้น cracking)
กับสารต่างๆ เช่น ออกซิเจนในอากาศผลิตได้จาก '- เป็นวัตถุดิบตั้งต้นส้าหรับผลิตสาร
กระบวนการแตกตั ว (Cracking) โดยใช้ เ ค มี ภั ณ ฑ์ ป ร ะ เ ภ ท ต่ า ง ๆ เ ช่ น
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน เช่น แอลพีจี หรือ โพรพิลีนออกไซด์ อะครีโลไนไตรล์
แนฟทา เป็นวัตถุดิบ และคิวมีน เป็นต้น
ประเภทผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี โครงสร้าง คุณสมบัติทางเคมี การใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีการผลิต แหล่งที่มา
ปิโตรเคมีขั้นต้น มิกซ์ซีโฟร์ C4 สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีองค์ประกอบหลัก '- ภายหลังจากการแยก บิวเทน บิวทีน '- กระบวนการแตกสลาย โรงแยกมิกซ์ซีโฟร์
ได้แก่ บิวเทน บิวทีน บิวทาไดอีน และไอโซบิวทีน บิวทาไดอีน และไอโซบิวทีน ออกจาก โมเลกุลด้วยไอน้้า (Steam
รวมถึงสิ่งเจือปนอื่นๆ ได้แก่ ไพแก๊ส เทลก๊าซแครก กันแล้ว สารแต่ละชนิดสามารถน้าไปใช้ cracking)
เกอร์บอททอม และไฮโดรเจน เป็นผลิตภัณฑ์ผ ล ประโยชน์ ไ ด้ ดั ง นี้ '(1) บิ ว เทน ใช้ เ ป็ น
พลอยได้ ที่ ไ ด้ จ ากกระบวนการผลิ ต เอทิ ลี น และ เชื้อเพลิงส้าหรับจุดบุหรี่ เตาย่าง เตาผิง
โพรพิลีน และอื่ น ๆ และใช้ ผ สมกั บ โพรเพนใน
สัดส่วนที่เหมาะสม 30:70 หรือ 40:60
เพื่อใช้เป็นแก๊สหุงต้ม หรือแก๊สแอลพีจี
ปิโตรเคมีขั้นต้น บิวทาไดอีน C4H6 สารไฮโดรคาร์ บ อนชนิ ด ไม่ อิ่ ม ตั ว มี ค าร์ บ อน '- วัตถุดิบในการผลิตยางบีอาร์ ยางสไต '- บริษัท Kellogg Brown โรงผลิตโอเลฟินส์
จ้านวน 4 โมเลกุลเชื่อมต่อกันโดยพันธะคู่ จ้านวน 2 รีน-บิวทาไดอีนส้าหรับผลิตยางรถยนต์ and Root, Inc.
พันธะ มีสูตรโมเลกุลคือ C4H6 ลักษณะทางกายภาพ สไตรี น -บิ ว ทาไดอี น ลาเท็ ก ซ์ ส้ า หรั บ - บริษัท BASF-AG และ
เป็นก๊าซไม่มีสีมีกลิ่นอ่อนๆ คล้ายน้้ามันเบนซิน ณ ผลิ ต แผ่ น รองพรม และพลาสติ ก อะค ABB Lummus Global
อุณหภูมิห้องและความดันบรรยากาศ (25°C) การ รีโลไนไตรล์-บิวทาไดอีน-สไตรีน
เก็ บ รั ก ษาจะอยู่ ใ นสถานะของเหลวโดยการลด '- ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตสารเคมี
อุ ณ หภู มิ แ ละเพิ่ ม ความดั น บิ ว ทาไดอี น เป็ น ได้ แ ก่ เฮกซาเมทิ ลี น ไดแอมี น ส้ า หรั บ
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกสารผสมมิกซ์ซี 4 โดยใช้ ผลิตไนลอน 6, 6
กระบวนการสกั ด ด้ ว ยตั ว ท้ า ละลาย (Solvent
extraction)
ปิโตรเคมีขั้นต้น เบนซีน C6H6 สารไฮโดรคาร์บอนชนิดวงแหวนไม่อิ่มตัว ชนิดอะ '- ใช้เป็นวัตถุดิบส้าหรับผลิตสาเคมี - บริษัท UOP LLC. และ โรงผลิตอะโรเมติกส์
โรเมติกส์ มีคาร์บอนจ้านวน 6 โมเลกุลเชื่อมต่อกัน ต่างๆ เช่น สไตรีน ฟีนอล เอทิลเบนซีน Exxon Mobil
โดยพันธะคู่ จ้านวน 3 พันธะมีสูตรโมเลกุลคือ C6H6 และไซโคลเฮกเซน
ลักษณะทางกายภาพ ณ อุณหภูมิห้องและความดัน '-ใช้เป็นสารเติมแต่งเพื่อเพิ่มค่าออกเทน
บรรยากาศ (25°C) เป็นของเหลวใสไม่มีสี มีกลิ่น ในน้้ามัน
อ่ อ นๆ คล้ า ยน้้ า มั น เบนซิ น ติ ด ไฟได้ ผ ลิ ต ได้ จ าก
กระบวนการกลั่นน้้ามัน หรือกระบวนการเคมีโดย
อาศัยปฏิกิริยาต่างๆ (Catalytic reforming) เช่น
กระบวนการเปลี่ยนรูปโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา
ประเภทผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี โครงสร้าง คุณสมบัติทางเคมี การใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีการผลิต แหล่งที่มา
ปิโตรเคมีขั้นต้น โทลูอีน C7H8 สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดวงแหวนไม่อิ่มตัว '- ใช้ผสมในน้้ามันเบนซินเพื่อเพิ่มค่า - บริษัท UOP LLC. โรงผลิตอะโรเมติกส์
(C6H5CH3) ชนิดอะโรเมติกส์ คล้ายเบนซีน มีคาร์บอนจ้านวน 6 ออกเทน และ Exxon Mobil
โมเลกุลเชื่อมต่อกันโดยพันธะคู่ จ้านวน 3 พันธะ '- ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเบนซีน
โดยมีหมู่เมทิล (CH3 group) 1 หมู่เชื่อมเข้ากับวง ฟีนอล มิกซ์ ไซลีน คาโปแลคตัม โทลู
แหวน มีสูตรโมเลกุลคือ C7H8ลักษณะทางกายภาพ อีนไดไอโซไซยาเนต เบนโซอิกแอซิด
ณ อุณหภูมิห้องและความดันบรรยากาศ (25°C)เป็น เบนซิลคลอไรด์ และโทลูอีนซัลโฟเนต
ของเหลวใส ไม่มีสี ไม่ละลายน้้า มีกลิ่นคล้ายทิน
เนอร์ ผลิ ต ได้ จ ากกระบวนการกลั่ น น้้ า มั น หรื อ
กระบวนการแตกตัวเพื่อผลิตโอเลฟินส์
ปิโตรเคมีขั้นต้น มิกซ์ไซลีน C8 สารผสมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนวงแหวน - ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตสารขั้นกลาง - บริษัท UOP LLC. โรงผลิตอะโรเมติกส์
ไม่อิ่มตัวชนิดอะโรเมติกส์ คล้ายเบนซีน มีคาร์บอน ส้าหรับอุตสาหกรรมยา สีย้อม และยา และ Exxon Mobil
จ้านวน 6 โมเลกุลเชื่อมต่อกันโดยพันธะคู่จ้านวน 3 ฆ่าแมลง และเป็นตัวท้าละลาย
พันธะ โดยมีหมู่เมทิล (CH3 group)

ปิโตรเคมีขั้นต้น พาราไซลีน C8H10 สารประกอบไฮโดรคาร์ บ อนชนิ ด ไซลี น มี สู ต ร - ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตกรดเทเรฟ - บริษัท UOP LLC. โรงผลิตอะโรเมติกส์
โมเลกุลคือ C8H10 มีต้าแหน่งของหมู่อัลคิล (CH3 ) ทาลิกบริสุทธิ์ ส้าหรับผลิตเส้นใยโพลี และ Exxon Mobil
ทั้ ง 2 หมู่ อ ยู่ ใ นต้ า แหน่ ง ตรงข้ า มกั น บนวงแหวน เอสเตอร์ เรซิน และแผ่นฟิล์ม ผลิต
เบนซี น (เรี ย กต้ า แหน่ ง นี้ ว่ า พารา หรื อ para) ไดเมทิลเทเรฟทาเลท
ณ อุณหภูมิห้องและความดันบรรยากาศ (25°C) เป็น - ใช้เป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์
ของเหลวใส ไม่มีสี ไม่ละลายน้้า ติดไฟได้ง่าย ผลิต วิ ต ามิ น และยา รวมถึ ง ใช้ เ ป็ น ตั ว ท้ า
ได้จากกระบวนการทางเคมี คือ กระบวนการเปลียน ละลาย
รูปโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalytic reforming) โดย
มีออร์โธไซลีน เมตาไซลีน หรือเอทิลเบนซีน เป็น
วัตถุดิบตั้งต้น
ประเภทผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี โครงสร้าง คุณสมบัติทางเคมี การใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีการผลิต แหล่งที่มา
ปิโตรเคมีขั้นต้น ออร์โธไซลีน C8H10 สารประกอบไฮโดรคาร์ บ อนชนิ ด ไซลี น มี สู ต ร - ใช้เป็นวัตถุดิบส้าหรับผลิตสารฟาทา - บริษัท UOP LLC. โรงผลิตอะโรเมติกส์
โมเลกุลคือ C8 H10 มีต้าแหน่งของหมู่อัลคิล (CH3 ) ลิก แอนไฮไดร์ด ซึ่งเป็นวัตถุดิบตั้งต้น และ Exxon Mobil
ทั้ง 2 หมู่อยู่ในต้าแหน่งติดกันบนวงแหวนเบนซีน ส้าหรับการผลิตสารพลาสติกไซเซอร์
ณ อุณหภูมิห้องและความดันบรรยากาศ (25°C) เป็น
ของเหลวใส ไม่มีสี ไม่ละลายน้้า ติดไฟได้ง่าย ผลิต
ได้ จ ากกระบวนการกลั่ น แยกมิ ก ซ์ ไ ซลี น โดยใช้
ความแตกต่างของจุดเดือด
ปิโตรเคมีขั้นต้น เมทาไซลีน C8H10 สารประกอบไฮโดรคาร์ บ อนชนิ ด ไซลี น มี สู ต ร - ใช้เป็นวัตถุดิบส้าหรับผลิตกรดไอ - บริษัท UOP LLC. โรงผลิตอะโรเมติกส์
โมเลกุลคือ C8 H10 มีต้าแหน่งของหมู่อัลคิล (CH3 ) โซฟาทาลิก ซึ่งเป็นใช้เป็นสารที่เติมลง และ Exxon Mobil
อยู่ บ นวงแหวนเบนซี น ในต้ า แหน่ ง ที่ 1 และ ไปในโพลีเอทิลีนเทเรฟทาเลท เพื่อช่วย
ต้าแหน่งที่ 3(เรียกต้าแหน่งนี้ว่า เมทา หรือ meta) ให้มีความยืดหยุ่นมากขึ้น
ณ อุณหภูมิห้องและความดันบรรยากาศ (25°C) เป็น
ของเหลวใส ไม่มีสี ไม่ละลายน้้า ติดไฟได้ง่าย ผลิต
ได้จากกระบวนการกลั่นแยกมิกซ์ไซลีน โดยใช้
ความแตกต่างของจุดเดือด
ประเภทผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี โครงสร้าง คุณสมบัติทางเคมี การใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีการผลิต แหล่งที่มา
ปิโตรเคมีขั้นกลาง เอทิลีนออกไซด์ C2H4O สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดวงแหวน มีสูตร - ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตสารเคมี - บริษัท Scientific โรงผลิตเอทิลีน
โมเลกุล คือ C2H4O ลักษณะโครงสร้างเป็นวงแหวน ต่างๆ ได้แก่ เอทิลีนไกลคอล เอทอก Design Company Inc. ออกไซด์
สามเหลี่ยม ณ อุณหภูมิและความดันบรรยากาศ (25°C) ซิเลต และไกลคอลอีเทอร์ เป็นต้น - บริษัท Shell
มีสถานะเป็นก๊าซไม่มีสี ติดไฟง่าย ว่องไวต่อการ - ใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์ต่างๆ International
เกิดปฏิกิริยา ผลิตได้จากปฏิกิริยาออกซิเดชันระหว่าง ได้แก่ น้้ายาฆ่าเชื้อ และน้้ายาอบฆ่า Chemicals B.V
เอทิลีนและออกซิเจน ในสภาวะที่มีตัวเร่งปฏิกิริยา รา เป็นต้น . - บริษัท Union Carbide
ได้แก่ โลหะเงินบนตัวรองรับอะลูมินา Corp.

ปิโตรเคมีขั้นกลาง เอทิลีนไกลคอล/ C2H6O2 สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดเชิงเส้น มีสูตร - ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตโพลิ - บริษัท Shell โรงผลิตเอทิลีน


โมโนเอทิลีนไกล โมเลกุลคือ C2H6O2 ณ อุณหภูมิห้องและความดัน เอทิลีนเทเรฟทาเลท International Chemicals ไกลคอล
คอล บรรยากาศ (25°C) เป็นของเหลวใส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่นมี - ใช้เป็นส่วนผสมของสารที่ใช้ลดจุด B.V.
รสหวาน ละลายน้้าได้ดี แต่มีความเป็นพิษ ผลิตได้จาก เยือกแข็งและเพิ่มจุดเดือดของน้้า - บริษัท Union
ปฏิกิริยาเคมีระหว่างเอทิลีนและน้้า ในสภาวะทีมีกรด เช่น น้้ายาเติมหม้อน้้ารถยนต์ เพื่อ Carbide Corp.
หรือเบสเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ป้องกันน้้าเป็นน้้าแข็งในประเทศ
หนาว และป้องกันน้้าเดือดใน
ประเทศร้อน ส้าหรับปั๊มน้้า ระบบ
ท้าความร้อนและเย็นใน
อุตสาหกรรม
ประเภทผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี โครงสร้าง คุณสมบัติทางเคมี การใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีการผลิต แหล่งที่มา
ปิโตรเคมีขั้นกลาง ไวนิลคลอไรด์โมโน C2H3Cl สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดเชิงเส้น มีสูตร - ใช้เป็นวัตถุดิบตั้งต้นส้าหรับ - บริษัท Vinnolit โรงผลิตไวนิล
เมอร์ โมเลกุลคือ C2H3Cl ณ อุณหภูมิห้องและความดัน สังเคราะห์โพลีไวนิลคลอไรด์ คลอไรด์โมโน
บรรยากาศ (25°C) เป็นก๊าซ มีกลิ่นฉุน ติดไฟได้ง่ายมี หรือ เมอร์
ความเป็นพิษสูง และเป็นสารก่อมะเร็งผลิตได้จาก 2 พีวีซี
ปฏิกิริยาคือ (1) ปฏิกิริยาระหว่างสารตั้งต้นเอทิลีนและ
ก๊าซคลอรีน ในสภาวะที่มีไอรอนคลอไรด์เป็นตัวเร่ง
ปฏิกิริยา หรือ (2)ปฏิกิริยาการขจัดสารคลอไรด์ออกจาก
สารตั้งต้นเอทิลีนคลอไรด์

ปิโตรเคมีขั้นกลาง อะคริโลไนไทรล์ C3H3N สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดเชิงเส้น มีสูตร - ใช้เป็นวัตถุดิบตั้งต้นส้าหรับผลิต - บริษัท Vinnolit โรงผลิตไวนิล


โมเลกุลคือ C2H3CN ณ อุณหภูมิห้องและความดัน ไนลอน และโพลิเมอร์ชนิดต่างๆ เช่น คลอไรด์โมโน
บรรยากาศ (25°C) เป็นของเหลวใส ไม่มีสี(โดยปกติจะ โพลีอะคริโลไนไทรล์ โพลีอะคริโลไน เมอร์
พบว่ามีสีเหลืองเนื่องจากสิ่งเจือปน) มีกลิ่นฉุน ผลิตได้ ไทรล์-บิวทาไดอีน-สไตรีน หรือเอบี
จากปฏิกิริยาเคมีระหว่างสารตั้งต้นโพรพิลีน เอส
แอมโมเนีย และออกซิเจนในสภาวะที่มีตัวเร่งปฏิกิริยา -ใช้เป็นวัตถุดิบส้าหรับการผลิตเส้น
ใยสังเคราะห์ พลาสติก และสารเคมี
ชนิดต่างๆ ได้แก่อะครลิกแอซิด อะดิ
โปไนไทรล์ และสารประกอบเอมีน
ชนิดต่างๆ เป็นต้น
ประเภทผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี โครงสร้าง คุณสมบัติทางเคมี การใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีการผลิต แหล่งที่มา
ปิโตรเคมีขั้นกลาง สไตรีน C8H8 สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอะโรเมติกส์ มีสูตร - ใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตเม็ด - บริษัท ABB Lummus โรงผลิตสไตรีน
โมเลกุลคือ C8H8 ณ อุณหภูมิห้องและความดัน พลาสติกโพลีสไตรีน ได้แก่ Global และ UOP
บรรยากาศ (25°C) เป็นของเหลวใส ไม่มีสี มีกลิ่นฉุน โพลิสไตรีนส้าหรับงานทั่วไป LLC.
ระเหยได้ง่าย ผลิตได้จากปฏิกิริยาการขจัดไฮโดรเจน โพลิสไตรีนชนิดทนแรงกระแทก - บริษัท
ออกจากสารตั้งต้นเอทิลเบนซีนที่ผลิตได้จากปฏิกิริยา สูง GTCTechnology - -
ระหว่างเบนซีนและเอทิลีน และโพลิสไตรีนชนิดพองตัว บริษัท Badger
รวมถึง Licensing LLC.
ใช้เป็นวัตถุดิบส้าหรับการผลิต
ยางสังเคราห์สไตรีน-บิวทาไดอีน
และพลาสติกอะครีโลไนไตรล์-บิว
ทาไดอีน-สไตรีน

ปิโตรเคมีขั้นกลาง ฟีนอล C6H5OH สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอะโรเมติกส์ มีสูตร - ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตฟีนอลิก - บริษัท ABB Lummus โรงผลิตฟีนอล
โมเลกุลคือ C6H5OH ณ อุณหภูมิห้องและความดัน เรซิน บิสฟีนอลเอ คาโปรแลคตัม Global
บรรยากาศ (25°C) เป็นของแข็ง ลักษณะเป็นผลึกไม่มีสี กรดอะดิพิก และแอนิลีน เป็นต้น - บริษัท Sunoco และ
มีความเป็นกรด ผลิตได้จากปฏิกิริยาออกซิเดชัน - ใช้เป็นส่วนผสมของน้้ายาล้าง UOP LLC.
ระหว่างสารตั้งต้นคิวมีนและออกซิเจน โดยคิวมีนเป็น สุขภัณฑ์ น้้ายาล้างอาคารและพื้น - บริษัท Kellogg
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปฏิกิริยาระหว่างเบนซีน และโพรพิ เพื่อฆ่าเชื้อโรคและจุลินทรีย์ต่างๆ Brown & Root,
ลีน Inc.
ประเภทผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี โครงสร้าง คุณสมบัติทางเคมี การใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีการผลิต แหล่งที่มา
ปิโตรเคมีขั้นกลาง กรดเทเรฟทาลิก C6H4(COOH)2 สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอะโรเมติกส์ มีสูตร - ใช้เป็นวัตถุดิบหลักส้าหรับการ - บริษัท Lurgi AG. - โรงผลิตกรด
บริสุทธิ์ โมเลกุล คือ C6H5OH ณ อุณหภูมิห้องและความดัน ผลิต -บริษัท BASF AG. เทเรฟ
บรรยากาศ (25°C) เป็นของแข็ง ลักษณะเป็นผลึกไม่มีสี โพลีเอสเทอร์ ส้าหรับอุตสาหกรรม และ Lurgi AG. ทาลิกบริสุทธิ์
ผลิตได้จากปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารตั้งต้นพาราไซ สิ่งทอ ขวดพลาสติกใส ฟิล์ม - โรงผลิตฟาทาลิก
ลีนและก๊าซออกซิเจนในอากาศ โดยมีอะซิติกเป็นตัวท้า ภาพยนตร์และฟิล์มถ่ายรูป บรรจุ แอนไฮไดร์ด
ละลาย และเกลือของโคบอลท์และแมงกานีส เป็นตัวเร่ง ภัณฑ์ ชิ้นส่วนยานยนต์ และผ้าบุ
ปฏิกิริยา หลังคารถยนต์ เป็นต้น

ปิโตรเคมีขั้นกลาง ฟาทาลิก แอนไฮไดร์ด C6H4(COOH)2 สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอะโรเมติกส์ มีสูตร - ใช้เป็นวัตถุดิบหลักในการผลิตสาร - -


โมเลกุลคือ C6H5OH ณ อุณหภูมิห้องและความดัน ฟาทาเลท เอสเทอร์ ซึ่งเป็นสาร
บรรยากาศ (25°C) เป็นของแข็ง ลักษณะเป็นผลึกสีขาว เพิม่
ผลิตได้จากปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารตั้งต้นออร์โธไซ ความยืดหยุ่นส้าหรับพลาสติก
ลีนและก๊าซออกซิเจนในอากาศ โดยมีอะซิติกเป็นตัวท้า หรือ
ละลาย และเกลือของโคบอลท์และแมงกานีสเป็นตัวเร่ง สารพลาสติกไซเซอร์
ปฏิกิริยา - ใช้ในการผลิตโพลีเอสเทอร์เรซิน
และอัลคิดเรซิน ที่ใช้ในอุตสาหกรรม
ผลิตสี สารเคลือบเงา สีย้อมผ้า
และ
สารฆ่าแมลง
ประเภทผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี โครงสร้าง คุณสมบัติทางเคมี การใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีการผลิต แหล่งที่มา
ปิโตรเคมีขั้นกลาง เอพิคลอโรไฮดริน C3H5ClO สารประกอบไฮโดรคาร์บอน มีสูตรโมเลกุลคือ - ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตอีพอก - -
C3H5ClO ณ อุณหภูมิห้องและความดันบรรยากาศ ซีเรซินและกลีเซอรีน
(25°C) เป็นของเหลวไม่มีสี มีกลื่นคล้ายกระเทียม - ใช้เป็นตัวท้าละลาย และใช้เป็น
ไม่ละลายน้้า แต่สามารถละลายได้ในตัวท้าละลายที่มี ส่วนผสมส้าหรับสีทาอาคารพานิช
ขั้ว ติดไฟได้ง่ายผลิตโดยใช้โพรพิลีนเป็นวัตถุดิบตั้งต้น วัสดุเคลือบผิว และแลกเกอร์

ปิโตรเคมีขั้นกลาง เมทิลเมทาคริเลต CH2=C(CH3)COOCH สารประกอบไฮโดรคาร์บอน มีสูตรโมเลกุลคือ - ใช้เป็นวัตถุดิบส้าหรับผลิตโพลี - -


3 CH2=C(CH3)COOCH3 ณ อุณหภูมิห้องและความดัน เมทิลเมทาคริเลท ส้าหรับใช้ผลิต
บรรยากาศ (25°C) เป็นของเหลวใส ไม่มีสี ระเหย วัสดุแทนแก้ว หรือกระจก เช่น
ง่าย กระจกรถยนต์ แว่นตา และหมวก
ติดไฟง่าย ละลายในน้้าได้เล็กน้อย แต่ละลายได้ดีใน นิรภัย
ตัวท้าละลายอินทรีย์ เกิดปฏิกิริยาโพลิเมอไรเซชันได้ เป็นต้น
ง่าย โดยแสงสว่าง ความร้อน ไอออนในสารละลาย
และแคตทาลิสต์ ผลิตโดยใช้วัตถุดิบอะซิ โตนซึ่งผลิต
จากคิวมีนกับเมทิลแอลกฮอล์ที่ไดจากก๊าซมีเทน
ประเภทผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี โครงสร้าง คุณสมบัติทางเคมี การใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีการผลิต แหล่งที่มา
ปิโตรเคมีขั้นกลาง โพรพิลีนออกไซด์ C3H6O สารประกอบไฮโดรคาร์บอน มีสูตรโมเลกุลคือ C3H6O - ใช้เป็นวัตถุดิบส้าหรับการผลิตโพลี - -
ณ อุณหภูมิห้องและความดันบรรยากาศ (25°C) เป็น อีเธอร์ หรือโพลีออล ซึ่งใช้ในการ
ของเหลวใส ไม่มีสี ระเหยง่าย ติดไฟง่าย ผลิตโดยใช้ ผลิต
โพรพิลีนเป็นวัตถุดิบตั้งต้น โดยปฏิกิริยาเคมี 2 ชนิดคือ พลาสติกเช่นโพลียูรีเธน (ร้อยละ 60 )
ปฏิกิริยาไฮโดรคลอริเนชัน (Hydrochlorination - ใช้เป็นวัตถุดิบส้าหรับการผลิต
reaction) และปฏิกิริยาออกซิเดชัน (Oxidation reaction) โพรพิลีนไกลคอล (ร้อยละ 20)

ปิโตรเคมีขั้นกลาง เมทิลเทอเชียรีบิวทิล C5H12O สารประกอบไฮโดรคาร์บอน มีสูตรโมเลกุลคือ C5H12O - ใช้เป็นสารเพิ่มค่าออกเทนของ - -


อีเธอร์ (เอ็มทีบีอี) ณ อุณหภูมิห้องและความดันบรรยากาศ (25°C) เป็น น้้ามันเบนซินเนื่องจาก เอ็มทีบีอี
ของเหลวใส ไม่มีสี ระเหยง่าย ติดไฟง่าย ไม่ละลายน้้า ผสมเป็นเนื้อเดียวกันกับน้้ามัน
ผลิตโดยปฏิกิริยาเคมีระหว่างสารตั้งต้นเมทานอลและ เบนซิน ขนย้ายสะดวก และ
ไอโซบิวทีนที่ได้จากการแยกมิกซ์ซี 4 ปลอดภัยกว่า

ปิโตรเคมีขั้นกลาง คิวมีน C9H12 สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอะโรเมติกส์ มีสูตร - ใช้เป็นสารเพิ่มค่าออกเทนใน - -


โมเลกุลคือ C9H12 ณ อุณหภูมิห้องและความดัน น้้ามัน
บรรยากาศ (25°C) เป็นของเหลวใส ไม่มีสี ติดไฟได้ง่าย เชื้อเพลิงของเครื่องบิน
ผลิตโดยปฏิกิริยาอัลคิลเลชัน (Alkylation reaction) โดย - ใช้ในการผลิตหัวน้้าหอม
มีวัตถุดิบตั้งต้น คือ เบนซีน และโพรพิลีน - ใช้เป็นวัตถุดิบส้าหรับการผลิต
ฟีนอล และอะซีโตน
ประเภทผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี โครงสร้าง คุณสมบัติทางเคมี การใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีการผลิต แหล่งที่มา
ปิโตรเคมีขั้นกลาง ไซโคลเฮกเซน C6H12 สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดวงแหวนหกเหลี่ยม มี - ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตกรด - -
สูตรโมเลกุลคือ C6H12 ณ อุณหภูมิห้องและความดัน อะดิปิก (Adipic acid) และ
บรรยากาศ (25°C) เป็นของเหลวใส ไม่มีสี มีกลิ่นคล้าย เฮกซาเมทิลีนไดเอมีน
อีเทอร์ และไวไฟ ผลิตได้จากปฏิกิริยาไฮโดรจีเนชัน (Hexamethylene diamine) ส้าหรับ
(Hydrogenation reactionของวัตุดิบตั้งต้นเบนซีนและ ผลิตไนลอน 6, 6 และคาโปแลคตัม
ไฮโดรเจน ส้าหรับผลิตไนลอน 6
- ใช้เป็นตัวท้าละลาย โดยผลิตภัณฑ์
ที่
มีส่วนผสมของไซโคลเฮกเซน
ได้แก่ สีทาอาคาร น้้ายาล้างวาร์นิช
เชื้อเพลิงแข็ง ยาฆ่าแมลง และยาฆ่า
เชื้อรา เป็นต้น

ปิโตรเคมีขั้นกลาง คาโปรแลคตัม C6H11NO สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดวงแหวนเจ็ดเหลี่ยม มี - - -


สูตรโมเลกุลคือ C6H11NO ณ อุณหภูมิห้องและความดัน
บรรยากาศ (25°C) เป็นของแข็งสีขาวละลายน้้าได้ดี
ผลิตได้จากสารตั้งต้นไซโคลเฮกซาโนน โดยผ่าน
ปฏิกิริยาการเปลี่ยนรูปแบบเบคแมนน์ (Beckmann
rearrangement)
ประเภทผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี โครงสร้าง คุณสมบัติทางเคมี การใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีการผลิต แหล่งที่มา
ปิโตรเคมีขั้นกลาง อะซีโตน C3H6O สารประกอบไฮโดรคาร์บอน มีสูตรโมเลกุลคือ C3H6O - ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเมทิล - -
ณ อุณหภูมิห้องและความดันบรรยากาศ (25°C) เป็น เมทาคริเลต (Methylmethacrylate)
ของเหลวใส ไม่มีสี ติดไฟได้ง่าย ผลิตได้โดยตรงจาก เมทิลอะคริเลต (Methylacrylate)
สารตั้งต้นโพรพิลีนโดยใช้กระบวนการแวคเกอร์ บิสฟีนอลเอ (Bisphenol A) เป็น
(Wacker process) หรือเป็นผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้ที่ได้ ต้น
จากกระบวนการผลิตฟีนอลจากคิวมีน - ใช้เป็นตัวท้าละลาย ใช้ในงานท้า
ความสะอาดและงานที่ต้องการท้า
ให้แห้งเร็ว โดยผลิตภัณฑ์ที่มี
อะซิโตนเป็นส่วนผสม ได้แก่
น้้ายาทาเล็บ ปากกามาร์กเกอร์
สีเพนต์ วาร์นิช และแล็กเกอร์
เป็นต้น

ปิโตรเคมีขั้นกลาง บิสฟีนอลเอ C15H16O2 สารประกอบไฮโดรคาร์บอน มีสูตรโมเลกุล คือ - ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตอีพอก - -


C15H16O2 ณ อุณหภูมิห้องและความดันบรรยากาศ ซีเรซิน และโพลิคาร์บอเนต
(25°C) เป็นของแข็งสีขาว มีลักษณะเป็นผงหรือเกล็ด
ไม่ละลายน้้า ผลิตได้จากปฏิกิริยาระหว่างฟีนอล
และอะซิโตน โดยมีกรดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
KM (Knowledge Management)

สารละลายประเภทไฮโดรคาร์บอน
Hydrocarbon Solvent

โดยนายประยูร คงศิลป์
เจ้าพนักงานสรรพสามิตชานาญงาน
ความหมายโซลเว้นท์ (Solvent) โดยทั่วไป
หมายถึง สารละลายหรือตัวทาละลาย
- ซึ่งสามารถละลายของแข็งให้ละลายเป็นเนื้อเดียวกัน
- หรือสามารถละลายของเหลวที่มีความข้นมากให้เจือจาง
และละลายเป็นเนื้อเดียวกัน

ลักษณะโดยทั่วไป
เป็นของเหลวมีสีใสเหมือนน้าแต่ไม่รวมตัวกับน้า ระเหยได้ง่าย
มีกลิ่นเฉพาะตัว เช่น รับเบอร์โซลเว้นท์ ไวท์สปิริต เพนเทน
เฮ็กเซน เบนซีน โทลูอีน เป็นต้น
วัตถุดบิ ที่ใช้ สำหรั บกำรผลิตโซลเว้ นท์ Solvent
1. คอนเดนเสท (Condensate)
2. คอนเดนเสท เรซิดิว (Condensate Residue)
3. แนพทา (Naphtha)
4. ไพโรลายสิส (Pyrolysis)
5. รีฟอร์เมท (Reformate)
6. เฮฟวีอโรเมติคส์ (Heavearomotic)
7. เอ็น จี แอล (N G L)
8. มิกส์ไซลีน (Mix Xylene)
9. อื่น ๆ
อุตสำหกรรมที่ใช้ โซลเว้ นท์ Solvent
อุตสาหกรรม อุตสาหกรรม ใช้ ในการสกัดน ้ามัน
ผลิตสีทาบ้ าน เมล็ดพืชและ
สิ่งพิมพ์ พิมพ์ผ้า
แรกเกอร์ ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ
วานิช ยางมะตอย
ใช้ เป็ นสารช่วยในการ ใช้ ล้างอุปกรณ์ตา่ ง ๆ
อุตสาหกรรมผลิต ทาปฏิกิริยาโพลีเมอร์ ไร
ยาง กาวทารองเท้ า ล้ างเครื่ องจักร
เซชัน่ ในอุตสาหกรรม ขจัดคราบไขมัน
ยางรถยนต์ ผลิตพลาสติก

ใช้ ในงาน ส่วนผสมในการผลิต


ซักแห้ ง เช่น ใช้ ในการผลิต ใช้ ในงาน ไขขัดเงาใน
ยาฆ่าแมลง เชื ้อเพลิง อุตสาหกรรมขัดเงา
น ้ายาซักแห้ ง
รองเท้ า เครื่ องหนัง
Flow Chart ธุรกิจภำพรวม
EXPORT/น ้ามันเติมเรื อ
TANKER คลังนำ้ มัน สถำนีบริกำร
นำ้ มัน

อุตสำหกรรม
โรงกลั่นนำ้ มัน
เคมีปิโตรเลียม
ตัวแทน
อุตสำหกรรม
โซลเว้ นท์

ผู้ใช้
EXPORT
Flow Chart ระบบธุรกิจ Solvent

ผู้ผลิต
โรงอุตสำหกรรม

ตัวแทน ผู้ใช้

ผู้นำเข้ ำ
ข้ อกฎหมาย
ประกำศกระทรวงกำรคลัง
เรื่ อง ลดอัตราและยกเว้ นภาษีสรรพสามิตฉบับที่ 85
ลว. 13 พ.ค. 52
เรื่ อง กาหนดคุณสมบัติสารละลายไฮโดรคาร์ บอน
(Hydrocarbon Solvent) พ.ศ.2552 ลว.21 ก.ย. 52
เรื่ อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการยกเว้ นภาษีสาหรับ
สารละลายประเภทไฮโ ดรคาร์ บอน (Hydrocarbon
Solvent) ที่นาไปใช้ ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ พ.ศ.2552
ลว. 21 ก.ย.52

ระเบียบกรมสรรพสำมิต
ว่าด้ วยการยกเว้ นภาษีสาหรับสารละลายประเภทไฮโดรคาร์ บอน (Hydrocarbon Solvent) ที่นาไปใช้ ใน
อุตสาหกรรมต่าง ๆ พ.ศ.2552 ลว.22 ต.ค.52 และฉบับที่ 2 ลว.12 ก.ย.54
ว่าด้ วยการตรวจปฏิบตั ิการผู้ประกอบกิจการเป็ นผู้ใช้ ที่ประกอบกิจการเป็ นตัวแทนในการซื ้อสารละลายประเภท
ไฮโดรคาร์ บอน เพืจาหน่ายให้ แก่ผ้ ทู ี่ใช้ สารละลายประเภทไฮโดรคาร์ บอนในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และผู้ใช้ ที่ใช้ สารละลาย
ประเภทไฮโดรคาร์ บอนในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ลว. 21 ม.ค.54
มาตรา 103

เพื่อประโยชน์ แก่ กำรเศรษฐกิจของประเทศ


หรือเพื่อควำมผำสุกของประชำชน รัฐมนตรีโดย
อนุมัตขิ องคณะรัฐมนตรีมีอำนำจประกำศลดอัตรำ
หรือยกเว้ นภำษีสำหรับสินค้ ำหรือบริกำรใดๆ ได้
ทัง้ นีจ้ ะกำหนดหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขไว้ ด้วยก็ได้
กำรจัดเก็บภำษีสรรพสำมิต
กาหนดใน พ.ร.บ.พิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527
ประเภทที่ 01.90 เฉพาะตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดคุณสมบัติ
สารละลายไฮโดรคาร์บอน (Hydrocarbon Solvent)
มีจุดเดือดสุดท้าย (final boiling point) ไม่เกินกว่า 400
องศาเซลเซียส
เคมีภัณฑ์อินทรีย์ 8 ตัว ได้แก่ เพนเทน เฮ็กเซน เบนซีน โทลูอีน
ออร์โธไซลีน เมตาไซลีน มิกซ์ไซลีน
สารที่ไม่เป็นสารละลายประเภทไฮโดรคาร์บอน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ประเภท
น้ามันหล่อลื่น น้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน ไขหล่อลื่น น้ามันเกียร์ น้ามันเบรค
น้ามันไฮโดรลิค และไวท์ออยล์ (white oil)
อัตรำภำษี
Solvent เก็บภำษีตำมมูลค่ ำร้ อยละ 30
ยกเว้ นภำษีเมื่อนำไปใช้ ในอุตสำหกรรม
กำหนดมูลค่ ำลิตรละ 12 บำท
คิดเป็ นภำษีหน่ วยละ 3.600 บำท และภำษีเก็บ
เพิ่มเพื่อกระทรวงมหำดไทยอีกร้ อยละ 10 ของ
ภำษีสรรพสำมิต
 ใครมีหน้ าที่เสียภาษี
 ใครได้ รับสิทธิยกเว้ นภาษี
 การบังคับใช้ กฎหมาย
 บทลงโทษ
ภาพกิจกรรมการจัดการองค์ความรู้ ครั้งที่ ๓

You might also like