You are on page 1of 68

หน่ วยการเรียนรู้ที่ 5

ทศนิยมและเศษส่ วน

มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
มาตรฐาน ค 1.2 : ข้ อ 1 และ 4 1. เขียนเศษส่ วนในรู ปทศนิยมและเขียนทศนิยม
มาตรฐาน ค 6.1 : ข้ อ 1 และ ข้ อ 2 ซ้าศูนย์ ในรู ปเศษส่ วนได้
มาตรฐาน ค 6.2 : ข้ อ 1 2. เปรียบเทียบเศษส่ วนและทศนิยมได้
3. บวก ลบ คูณ หารเศษส่ วนและทศนิยมได้
มาตรฐาน ค 6.3 : ข้ อ 1
4. นาความรู้ เกีย่ วกับเศษส่ วนและทศนิยมไปใช้
มาตรฐาน ค 6.4 : ข้ อ 1 และ ข้ อ 2
แก้โจทย์ปัญหา รวมทั้งสถานการณ์เกีย่ วกับ
มาตรฐาน ค 6.5 : ข้ อ 1 ความน่ าจะเป็ นได้
เคล็ด (ไม่ ) ลับของการเรียน 5. อธิบายผลทีเ่ กิดขึน้ จากการบวก การลบ การคูณ
วิชาคณิตศาสตร์ และการหารเศษส่ วนและทศนิยม พร้ อมทั้ง
“ตาดู หูฟัง มือเขียน สมองคิด บอกความสั มพันธ์ ของการดาเนินการได้
ปากถาม” 6. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบทีไ่ ด้

สาระการเรียนรู้
5.1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม (2 ชั่วโมง)
5.2 การบวกและการลบทศนิยม (2 ชั่วโมง)
5.3 การคูณและการหารทศนิยม (2 ชั่วโมง)
5.4 เศษส่ วนและการเปรียบเทียบเศษส่ วน (2 ชั่วโมง)
5.5 การบวกและการลบเศษส่ วน (4 ชั่วโมง)
5.6 การคูณและการหารเศษส่ วน (6 ชั่วโมง)
5.7 ความสั มพันธ์ ระหว่ างทศนิยมและเศษส่ วน (2 ชั่วโมง)

1
2 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1
MATH

Series 5.1 ทศนิยมและ


การเปรี ยบเทียบทศนิยม
ยม

จุดประสงค์ การเรียนรู้
ด้ านความรู้ : นักเรี ยนสามารถ
1. บอกค่าประจาหลักของทศนิยมได้
2. หาค่าสัมบูรณ์ของทศนิยมได้
3. เปรี ยบเทียบทศนิยมได้
ด้ านทักษะ / กระบวนการ : นักเรี ยนมีความสามารถใน
1. การอธิ บายขั้นตอนในการหาค่าประจาหลักของทศนิยม และ
การหาค่าสัมบูรณ์ของทศนิยมได้ถูกต้อง
2. การคิดคานวณ
3. การแก้ปัญหา
4. การให้เหตุผล
5. การสื่ อสาร การสื่ อความหมาย และการนาเสนอ
6. การเชื่อมโยงกับศาสตร์ อื่น ๆ ได้
7. ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
ด้ านคุณลักษณะ : ปลูกฝังให้นกั เรี ยน
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝ่ รู้
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินยั
4. มีความเชื่อมัน่ ในตนเอง
5. มีวจิ ารณญาณและทางานอย่างเป็ นระบบ
6. ตระหนักในคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 3

ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม
ความรู ้เกี่ยวกับทศนิยมได้ถูกนามาใช้ในวิชาคณิ ตศาสตร์ ต้ งั แต่สมัยศตวรรษที่ 15 โดยนัก
คณิ ตศาสตร์ 3 ท่านคือ Francois Vieta, Simon Steven และ Neper John Napier (ค.ศ.1550 - 1617)
โดยได้นาทศนิยมมาใช้อย่างกว้างขวางเกี่ยวกับการวัดความยาว การคิดคานวณสาหรับการสร้าง
บ้านเรื อน การคิดราคาสิ นค้า และการคิดภาษี เป็ นต้น เพราะการใช้หน่วยที่เป็ นจานวนเต็มนั้นไม่
เพียงพอ การใช้หน่วยเล็ก ๆ เป็ นสิ่ งจาเป็ น ทาให้ได้ความละเอียดในการวัดและการคิดคานวณมากขึ้น
ดังนั้นจึงมีการนาทศนิยมมาใช้ ดังจะเห็นได้จากระบบเมตริ ก และในปั จจุบนั นักเรี ยนได้เริ่ มเรี ยน
เกี่ยวกับทศนิยมตั้งแต่ช้ นั ประถมศึกษาปี ที่ 3
นักเรี ยน มักพบเห็น เกี่ยวกับการใช้ตวั เลขที่ อยูใ่ นรู ป ทศนิยม อยูเ่ สมอ ในชีวติ ประจาวัน
ตัวอย่าง
น้ ามันเบนซิ นธรรมดาราคาลิตรละ 29 บาท 59 สตางค์ แทนด้วย 29.59 บาท
ปลาทับทิมตัวหนึ่งหนัก 1 กิโลกรัม 4 ขีด แทนด้วย 1.4 กิโลกรัม
แบงค์หนัก 48 กิโลกรัม 40 กรัม แทนด้วย 48.40 กิโลกรัม
ให้นกั เรี ยนเขียนจานวนที่กาหนดให้ในข้อความต่อไปนี้ ตามหน่วยที่ระบุไว้ในวงเ ล็บท้ายข้อ
ในรู ปทศนิยม
1) กระดานดากว้าง 1 เมตร 5 เซนติเมตร (เมตร) ตอบ…………………………
2) ทางเดินรอบโรงเรี ยนยาวประมาณ 3 กิโลเมตร 200 เมตร (กิโลเมตร) ตอบ……………
3) บ้านครู ดีอยูห่ ่างจากบ้านฉันประมาณ 300 เมตร (กิโลเมตร) ตอบ…………………
4) เหรี ยญสิ บบาทหนา 2 มิลลิเมตร (เซนติเมตร) ตอบ…………………………
5) อนุหนัก 60 กิโลกรัม 60 กรัม (กิโลกรัม) ตอบ…………………………
จากจานวนที่อยูใ่ นรู ปทศนิยม ทั้ง 5 ข้อ ข้างต้น นักเรี ยนจะพบว่าจานวนที่อยูใ่ นรู ปทศนิยม
ประกอบด้วย 2 ส่ วน คือ ส่ วนทีเ่ ป็ นจานวนเต็ม และส่ วนทีเ่ ป็ นทศนิยม ซึ่งมี จุด (.) คัน่ ระหว่างสอง
ส่ วนนั้น
พิจารณาเลขโดดที่อยูใ่ นแต่ละหลักของ 153.248 มีความหมายและมีค่า ดังนี้
153.248 = 100 + 50 + 3 + 0.2 + 0.04 + 0.008
หรื อ 153.248 = (1  102) + (5  101) + (3  1) +  2× 1  +  4× 12  +  8× 13 
 10   10   10 
1 อยูใ่ นหลักร้อย และ 1 มีค่าเป็ น 1  102
5 อยูใ่ นหลักสิ บ และ 5 มีค่าเป็ น 5  101

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


4 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

3 อยูใ่ นหลักหน่วย และ 3 มีค่าเป็ น 3  1


2 อยูใ่ นหลักส่ วนสิ บ (เป็ นทศนิยมตาแหน่งที่ 1) และ 2 มีค่าเป็ น 2× 11
10
4 อยูใ่ นหลักส่ วนร้อย (เป็ นทศนิยมตาแหน่งที่ 2) และ 4 มีค่าเป็ น 4× 12
10
8 อยูใ่ นหลักส่ วนพัน (เป็ นทศนิยมตาแหน่งที่ 3) และ 8 มีค่าเป็ น 8× 13
10
ค่ าประจาหลักของทศนิยม
การเขียนจานวนในรู ปทศนิยม ให้อยู่ ในรู ปกระจาย และค่า ประจาหลัก ของเลขโดด ในหลัก
ต่าง ๆ ของทศนิยม เป็ นดังนี้
ค่ าประจาหลัก
จานวนเต็ม ทศนิยม
ตาแหน่ ง ตาแหน่ ง ตาแหน่ ง ตาแหน่ ง
... หลักพัน หลักร้ อย หลักสิ บ หลักหน่ วย ...
ที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 ที่ 4
... 103 102 101 1 1 1 1 1 ...
101 10 2 103 10 4
ตัวอย่างที่ 1 จงเขียน 153.248 ในรู ปกระจาย
วิธีทา 153.248 = (1  102) + (5  101) + (3  1) +  2× 1  +  4× 12  +  8× 13 
 10   10   10 
ตัวอย่างที่ 2 จงเขียน 203.408 ในรู ปกระจาย
วิธีทา ………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………

กิจกรรมที่ 5.1 : ทักษะการให้ เหตุผล สื่ อความหมาย และการนาเสนอ


1. จงเขียนจานวนต่อไปนี้ให้อยูใ่ นรู ปการกระจาย
1) 0.94 = ……………………………………………………………………
2) 0.381 = ……………………………………………………………………
3) 9.108 = ……………………………………………………………………
4) 60.8956 = ……………………………………………………………………
5) 105.1004 = ……………………………………………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 5

2. จงหาค่าปรผะจาหลักของ 9 ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) 96.014 มีค่าประจาหลัก …………………………
2) 0.0239 มีค่าประจาหลัก …………………………
3) 3.395 มีค่าประจาหลัก …………………………
4) 0.0069 มีค่าประจาหลัก …………………………
5) 12.9006 มีค่าประจาหลัก …………………………
3. จงบอกค่าของเลขโดดที่กาหนดให้
1) 8.137 ค่าของเลข 1 เท่ากับ ……………………………………………
2) 5.3679 ค่าของเลข 3 เท่ากับ ……………………………………………
3) 15.367 ค่าของเลข 7 เท่ากับ ……………………………………………
4) 27.495 ค่าของเลข 2 เท่ากับ ……………………………………………
5) 671.412 ค่าของเลข 6 เท่ากับ ……………………………………………
4. จงเขียนจานวนต่อไปนี้ในรู ปทศนิยม
 1   1   1 
1)  1× 1  +  3 × 2  +  6 × 4  = …………………………………………………
 10   10   10 
 1   1 
2) (3 ×10 2 ) + (6 ×10 0 ) +  4 × 3  +  9 × 4  = ……………………………………...
 10   10 
 1   1   1 
3) (9 ×103 ) + (3 ×10) + (2 ×1) +  5 × 1  +  1× 3  +  6 × 5  = ……………………
 10   10   10 
 1   1   1 
4)  5 × 3  +  8 × 6  +  3 × 1  = …………………………………………………
 10   10   10 
 1   1 
5) 4 +  1 × 2  +  6 × 1  = …………………………………………………………….
 10   10 
ค่ าสั มบูรณ์ ของทศนิยม
นักเรี ยนได้เคยศึกษามาแล้วว่า ค่าสัมบูรณ์ของจานวนเต็มใด ๆ หาได้จากระยะทางที่จานวน
เต็มนั้นอยูห่ ่างจาก 0 บนเส้นจานวน ดังนั้นนักเรี ยนก็สามารถ หาค่าสัมบูรณ์ของทศนิยม บนเส้น
จานวนได้โดยใช้หลักการเดียวกับการหาค่าสัมบูรณ์ของจานวนเต็ม ดังตัวอย่างต่อไปนี้

-2.5 -2 -1.5 -1 -0.5 0 0.5 1 1.5 2 2.5

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


6 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

0.5 อยูห่ ่างจาก 0 เป็ นระยะทาง 0.5 หน่วย ค่าสัมบูรณ์ของ 0.5 เท่ากับ 0.5
-0.5 อยูห่ ่างจาก 0 เป็ นระยะทาง 0.5 หน่วย ค่าสัมบูรณ์ของ -0.5 เท่ากับ 0.5
ช่ วยเติมหน่ อย
ค่าสัมบูรณ์ของ 1.5 เท่ากับ………เนื่องจาก………อยูห่ ่างจาก 0 เป็ นระยะทาง 1.5 หน่วย
ค่าสัมบูรณ์ของ -1.5 เท่ากับ………เนื่องจาก………อยูห่ ่างจาก 0 เป็ นระยะทาง……...หน่วย
ค่าสัมบูรณ์ของ 2.25 เท่ากับ………เนื่องจาก………อยูห่ ่างจาก 0 เป็ นระยะทาง……..หน่วย
ค่าสัมบูรณ์ของ -2.25 เท่ากับ………เนื่องจาก………อยูห่ ่างจาก 0 เป็ นระยะทาง……..หน่วย
สรุ ป
ค่ าสั มบูรณ์ ของทศนิยมใด ๆ หาได้จากระยะทางที่ทศนิยมนั้นอยูห่ ่างจาก 0
บนเส้นจานวน

การเปรียบเทียบทศนิยม
ในการเปรี ยบเทียบทศนิยมสองจานวนที่ไม่เท่ากัน เพื่อดูวา่ จานวนใดน้อยกว่าหรื อจานวนใด
มากกว่า สามารถใช้เส้นจานวน ดังนี้

-2.5 -2 -1.5 -1 -0.5 0 0.5 1 1.5 2 2.5


บนเส้นจานวน ทศนิยมทีอ่ ยู่ทางขวาจะมากกว่ าทศนิยมทีอ่ ยู่ทางซ้ ายเสมอ
เนื่องจาก 2.5 อยูท่ างขวาของ 1.5 ดังนั้น 2.5 > 1.5
เนื่องจาก 0.5 อยูท่ างขวาของ 0 ดังนั้น 0.5 > 0
เนื่องจาก 0 อยูท่ างขวาของ -0.5 ดังนั้น ……………………
เนื่องจาก -1.5 อยูท่ างขวาของ -2.5 ดังนั้น ……………………
เนื่องจาก 2.5 อยูท่ างขวาของ -2.5 ดังนั้น ……………………
วิธีการเปรี ยบเทียบทศนิยมสองจานวนใด ๆ ใช้หลักเกณฑ์ดงั ต่อไปนี้
1. การเปรียบเทียบทศนิยมทีเ่ ป็ นบวกสองจานวนใด ๆ
ให้พิจารณาเลขโดดคู่แรกในตาแหน่งเดียวกันที่ไม่เท่ากัน จานวนที่มีเลขโดดในตาแหน่งนั้น
มากกว่าจะเป็ นจานวนที่มากกว่า เช่น
1) ต้องการเปรี ยบเทียบ 8.34 กับ 1.35
เนื่องจากเลขโดดคู่แรกในตาแหน่งเดียวกันที่ไม่เท่ากัน คือ เลขโดในหลักหน่วย ได้แก่ 8
และ 1 ซึ่ง 8 > 1 ดังนั้น 8.34 > 1.35
ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 7

2) ต้องการเปรี ยบเทียบ 9.31 กับ 9.72


เนื่องจาก เลขโดดคู่แรกเป็ น จานวนเต็ม คือ 9 เท่ากัน จึงพิจารณา เลขโดด คู่แรกใน
ตาแหน่งเดียวกันที่ไม่เท่ากัน คือ เลขโดดในทศนิยมตาแหน่งที่หนึ่ง ได้แก่ 3 และ 7 ซึ่ง 3 < 7
ดังนั้น 9.31 < 9.72
3) ต้องการเปรี ยบเทียบ 0.567 กับ 0.569
เนื่องจากเลขโดดคู่แรกในตาแหน่งเดียวกันที่ไม่เท่ากัน คือ เลขโดดในทศนิยมตาแหน่งที่
สาม ได้แก่ 7 กับ 9 ซึ่ง 7 น้อยกว่า 9 ดังนั้น 0.567 < 0.569
2. การเปรียบเทียบทศนิยมทีเ่ ป็ นลบสองจานวนใด ๆ
ให้พิจารณาเช่นเดียวกับทศนิยมที่เป็ นบวก โดย หาค่า สัมบูรณ์ ของ ทศนิยมที่เป็ นลบ ทั้ง
สองจานวน ซึ่งจานวนที่มีค่าสัมบูรณ์นอ้ ยกว่า จะเป็ นจานวนที่มีค่ามากกว่า เช่น
1) ต้องการเปรี ยบเทียบ -0.83 กับ -0.85
เนื่องจากค่าสัมบูรณ์ของ -0.83 เท่ากับ 0.83 และค่าสัมบูรณ์ของ -0.85 เท่ากับ 0.85
และ 0.83 < 0.85 ดังนั้น -0.83 > -0.85
2) ต้องการเปรี ยบเทียบ -6.43 กับ -2.55
เนื่องจากค่าสัมบูรณ์ของ -6.43 เท่ากับ 6.43 และค่าสัมบูรณ์ของ -2.55 เท่ากับ 2.55
และ 6.43 > 2.55 ดังนั้น -6.43 < -2.55
3. การเปรียบเทียบทศนิยมทีเ่ ป็ นบวกและทศนิยมทีเ่ ป็ นลบ
เนื่องจากทศนิยมที่เป็ นบวกอยูท่ างขวาของ 0 และทศนิยมที่เป็ นลบอยูท่ างซ้ายของ 0 ดังนั้น
ทศนิยมที่เป็ นบวกย่อมมีค่ามากกว่าทศนิยมที่เป็ นลบ เช่น 0.003 > -4.23, 0.157 > -2.33

กิจกรรมที่ 5.2 : ทักษะการแก้ ปัญหา การให้ เหตุผล และการสื่ อความหมาย


1. จงเติมเครื่ องหมาย >, < หรื อ = ในช่องว่างระหว่างทศนิยมสองจานวนในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) 1.010 ................ 0.999 2) -7.031 ................ 0.703
3) 0.545 ................ 0.554 4) -12.85 ................ -11.85
5) 1.000 ................ 1.0 6) -14.008 ................ -14.080
7) 0.732 ................ 0.7322 8) -7.052 ................ 6.152
2. จงเรี ยงลาดับจานวนต่อไปนี้จากน้อยไปหามาก
1) 3.6124, 3.4612, 3.1642, 3.2416
……………………………………………………………………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


8 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

2) 143.72, 144.56, 143.18, 141.95, 144.87


……………………………………………………………………………………………
3) 4.0451, 4.4015, 4.1045, 4.5104
……………………………………………………………………………………………
4) 0.0862, 0.8006, 0.0608, 0.0268
……………………………………………………………………………………………
5) -40.06, -42.46, -30.60, -46.17
……………………………………………………………………………………………
6) -5.43, -5.34, -5.045, -5.540
……………………………………………………………………………………………
3. จานวนในแต่ละข้อต่อไปนี้จานวนใดมีค่ามากที่สุด
1) 34.435, 34.354, 34.453, 34.345 ตอบ ………………………………
2) 6.0871, 6.0781, 6.0178, 6.0187 ตอบ ………………………………
3) -10.1011, -10.1101, -10.0111, -10.0101 ตอบ ………………………………
4) 0.8062, 0.8206, 0.8026, 0.6820 ตอบ ………………………………
5) - 6.153, -7.053, -5.613, -5.603 ตอบ ………………………………
4. ธาตุไนโตรเจน ออกซิเจน และไฮโดรเจน มีจุดหลอมเหลว - 209.8๐C, -218.4๐C และ -259.1๐C
ตามลาดับ ธาตุใดมีจุดหลอมเหลวสู งสุ ด และธาตุใดมีจุดหลอมเหลวต่าสุ ด
……………………………………………………………………………………………………
5. วันหนึ่งในฤดูหนาวที่เมืองเวอร์ โคยัสก์ ในมลฑลไซบีเรี ยของรัสเซี ยมีอุณหภูมิเฉลี่ย - 75.8๐C และ
ที่เมืองแฟร์แบงส์ ในรัฐอลาสกา สหรัฐอเมริ กามีอุณหภูมิเฉลี่ย - 52.๐C ในวันนั้นเมืองใดมีอากาศ
หนาวกว่ากัน
……………………………………………………………………………………………………

มีคนน้ อยมากที่จะเก่ง
คณิ ตศาสตร์ มาแต่กาเนิด
แต่มีคนจานวนมากที่เก่ง
คณิ ตศาสตร์จากการฝึ กฝน

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 9
MATH

Series
5.2 การบวกและการลบทศนิยม

จุดประสงค์ การเรียนรู้
ด้ านความรู้ : นักเรี ยนสามารถ
1. บวกทศนิยมที่เป็ นบวกด้วยทศนิยมที่เป็ นบวกได้
2. บวกทศนิยมที่เป็ นลบด้วยทศนิยมที่เป็ นลบได้
3. บวกทศนิยมที่เป็ นบวกด้วยทศนิยมที่เป็ นลบได้
4. นาหลักการลบจานวนเต็มมาใช้ในการลบทศนิยมได้
5. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้
ด้ านทักษะ / กระบวนการ : นักเรี ยนมีความสามารถใน
1. การอธิ บายขั้นตอนการบวกและการลบทศนิยมได้ถูกต้อง
2. การคิดคานวณ
3. การแก้ปัญหาและการให้เหตุผล
4. การสื่ อสาร การสื่ อความหมาย และการนาเสนอ
5. การเชื่อมโยงกับศาสตร์ อื่น ๆ ได้
6. ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
ด้ านคุณลักษณะ : ปลูกฝังให้นกั เรี ยน
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝ่ รู้
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินยั
4. มีความเชื่อมัน่ ในตนเอง
5. มีวจิ ารณญาณและทางานอย่างเป็ นระบบ
6. ตระหนักในคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


10 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

การบวกทศนิยม
นักเรี ยนเคยศึกษามาแล้วว่า การบวกทศนิยมที่เป็ นบวกว่ามีหลักเกณฑ์เช่นเดียวกับการบวก
จานวนนับ คือจะต้องจัดเลขโดดที่อยูใ่ นหลักเดียวกันหรื อตาแหน่งเดียวกันให้ตรงกันเสมอ แล้วจึง
บวกกัน หรื ออาจกล่าวได้วา่ ให้จดั ทศนิ ยมที่เป็ นตัวตั้งและทศนิยมที่เป็ นตัวบวกให้จุดทศนิยมตรงกัน
ถ้าเป็ นทศนิยมที่มีตาแหน่งทศนิยมไม่เท่ากัน อาจใส่ เลข 0 หลังตัวเลขตัวสุ ดท้ายของทศนิยมนั้น ๆ
เพื่อให้มีตาแหน่งทศนิยมเท่ากันก็ได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวก 24.37 + 31.541
วิธีทา 24.37 + 31.541 = 24.370 + 31.541
24.370
+
31.541
55.911
ตอบ 55.911
ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลบวก 15.1 + 38.06
วิธีทา 15.1 + 38.06 = 15.10 + 38.06

.............................
+

ตอบ ………………

สรุ ป
การบวกทศนิยมที่เป็ นบวกด้วยทศนิยมที่เป็ นบวกให้นาค่าสัมบูรณ์ ของ
แต่ละจานวนมาบวกกันแล้วตอบเป็ นจานวนบวก

ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลบวก (-3.79) + (-9.32)


วิธีทา
-3.79
+
-9.32
-13.11
ตอบ -13.11
ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 11

ตัวอย่างที่ 4 จงหาผลบวก (-0.37) + (-1.4)


วิธีทา (-0.37) + (-1.4) = (-0.37) + (-1.40)
.............................
+

ตอบ ………………
สรุ ป
การบวกทศนิยมที่เป็ นลบด้วยทศนิยมที่เป็ นลบ ให้นาค่าสัมบูรณ์ ของแต่ละ
จานวนมาบวกกันแล้วตอบเป็ นจานวนลบ

ตัวอย่างที่ 5 จงหาผลบวก 3.6 + (-0.735)


วิธีทา 3.6 + (-0.735) = 3.600 + (-0.735)
3.600
+
-0.735
2.865
ตอบ 2.865
ตัวอย่างที่ 6 จงหาผลบวก (-9.47) + 7.75
วิธีทา
-9.47
+
7.75
-1.72
ตอบ -1.72
สรุ ป
การบวกระหว่างทศนิยมที่เป็ นบวกกับทศนิยมที่เป็ นลบ ให้นาค่าสัมบูรณ์ที่
มากกว่าลบด้วยค่าสัมบูรณ์ที่นอ้ ยกว่าแล้วตอบเป็ นจานวนบวกหรื อจานวนลบตาม
จานวนที่มีค่าสัมบูรณ์มากกว่า

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


12 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

ตัวอย่างที่ 7 จงหาผลบวก 17.31 + (-12.69) + (-7.31)


วิธีทา วิธีที่ 1 17.31 + (-12.69) + (-7.31) = [17.31 + (-12.69)] + (-7.31)
= 4.62 + (-7.31)
= -2.69
ตอบ -2.69
วิธีที่ 2 17.31 + (-12.69) + (-7.31) = [17.31 + (-7.31)] + (-12.69)
= ……………… + (-12.69)
= ………………
ตอบ ………………
วิธีที่ 3 17.31 + (-12.69) + (-7.31) = 17.31 + [(-12.69) + (-7.31)]
= 17.31 + ………………
= ………………
ตอบ ………………

จากตัวอย่างข้าง ต้น เมื่อมีการบวกทศนิยมสองจานวน เราสามารถสลับที่ระหว่างตัวตั้งและ


ตัวบวกได้โดยที่ผลลัพธ์ยงั คงเดิม ดังนั้นเราสามารถบวกทศนิยมคู่แรกหรื อคู่หลังก่อนก็ได้ โดยที่
ผลลัพธ์สุดท้ายยังคงเท่ากัน และถ้าใช้สมบัติการสลับที่และสมบัติการเปลี่ยนหมู่ จะทาให้การคานวณ
ง่ายขึ้น
กิจกรรมที่ 5.3 : ทักษะการคิดคานวณ และการเชื่อมโยงความรู้
1. จงหาผลบวก
1) 3.101 + 2.987 2) (-0.205) + 1.795
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
3) (-22.95) + (-12.081) 4) (-36.7) + 18.925
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 13

5) 100 + (-75.025) 6) (-72.65) + (-11.357)


……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
2. จงหาผลบวก
1) (-12.3) + 5.17 + (-3.24) 2) (-51.09) + (-8.2) + (-0.403)
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
3) (-29.81) + 2.2 + 29.81 4) (-10.45) + (-32.01) + 20.45
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
3. จงหาทศนิยมที่แทน a แล้วทาให้ประโยคเป็ นจริ ง
1) 7.3 + (-2.1) = a+7.3 a = ……………………………
2) (-3.059) + a = 0 a = ……………………………
3) 0 + a = (-6.538) a = ……………………………
4) (-9.4) +a = (-10) a = ……………………………
5) [(-9.3) + 12.3] +a = 3.7 a = ……………………………
4. จงหาทศนิยมสองจานวนที่บวกกันแล้วมีคาตอบเป็ นจานวนต่อไปนี้
1) 0 ตอบ ……………………………
2) 4.01 ตอบ ……………………………
3) -8.7 ตอบ ……………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


14 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

การลบทศนิยม
นักเรี ยนสังเกตเห็นไหมว่า ทศนิยมที่เป็ นบวกและทศนิยมที่เป็ นลบที่มีค่ าสัมบูรณ์เท่ากัน จะ
อยูค่ นละข้างกับ 0 และอยูห่ ่างจาก 0 เป็ นระยะทางเท่ากัน เช่น -0.5 และ 0.5

-1 -0.5 0 0.5 1
เรากล่าว่า
-0.5 เป็ นจานวนตรงข้ ามของ 0.5
และ 0.5 เป็ นจานวนตรงข้ ามของ -0.5

-1 -1.5 -1 -0.5 0 0.5 1 1.5 2

-1.5 เป็ นจานวนตรงข้ามของ ……………


และ 1.5 เป็ นจานวนตรงข้ามของ ……………

จากตัวอย่างข้างต้นให้นกั เรี ยนหาผลบวกของจานวนตรงข้ามเป็ นคู่ ๆ ดังนี้


0.5 + (-0.5) = (-0.5) + 0.5 = ……………
1.5 + (-1.5) = (-1.5) + 1.5 = ……………

สรุ ป ถ้า a เป็ นทศนิยมใด ๆ จานวนตรงข้ ามของ a มีเพียงจานวนเดียวเขียน


แทนด้วย -a และ a + (-a) = (-a) + a = 0
ถ้า a เป็ นทศนิยมใดๆ จานวนตรงข้ ามของ -a คือ a และเขียนแทนด้วย
-(-a) = a

น่ าทาดีนะ มะมาช่ วยที


2.9 เป็ นจานวนตรงข้ามของ ……………
0.58 เป็ นจานวนตรงข้ามของ ……………
-4.09 เป็ นจานวนตรงข้ามของ ……………
-0.002 เป็ นจานวนตรงข้ามของ ……………
10.03 เป็ นจานวนตรงข้ามของ ……………
ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 15

การหาผลลบของทศนิยมใด ๆ ว่าใช้ขอ้ ตกลงเดียวกัน การหาผลลบของจานวนเต็ม ดังนี้

ตัวตั้ง – ตัวลบ = ตัวตั้ง + จานวนตรงข้ ามของตัวลบ


เมื่อ a และ b แทนทศนิยมใด ๆ
a ‟ b = a + จานวนตรงข้ามของ b
หรื อ a ‟ b = a + (-b)
เช่น 3.76 ‟ 2.55 = 3.76 + (-2.55)
(-7.92) ‟ 4.07 = (-7.92) + (-4.07)
(-12.43) ‟ (-10.71) = (-12.43) + 10.71
88.75 ‟ (-46.39) = 88.75 + 46.39
เมื่อเขียนการลบให้อยูใ่ นรู ปการบวกแล้วจึงหาผลบวกของทศนิยม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 8 จงหาผลลบ 3.76 ‟ 2.55
วิธีทา 3.76 ‟ 2.55 = 3.76 + (-2.55)
3.76
+
-2.55
1.21
ตอบ 1.21
ตัวอย่างที่ 9 จงหาผลบวก (-7.92) ‟ 4.07
วิธีทา (-7.92) ‟ 4.07 = (-7.92) + (-4.07)
- 7.92
+
- 4.07
-11.99
ตอบ -11.99
ตัวอย่างที่ 10 จงหาผลบวก (-12.43) ‟ (-10.71)
วิธีทา (-12.43) ‟ (-10.71) = (-12.43) + 10.71
.............................
+

ตอบ ………………
ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15
16 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

ตัวอย่างที่ 11 จงหาผลบวก 88.75 ‟ (-46.39)


วิธีทา 88.75 ‟ (-46.39) = 88.75 + 46.39
.............................
+

ตอบ ………………
กิจกรรมที่ 5.4 : ทักษะการคิดคานวณ และการเชื่อมโยงความรู้
1. จงหาผลลบ
1) 25.15 ‟ 10.5 2) 8.1 ‟ (-3.92)
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
3) (-8.1) ‟ (-3.09) 4) (-0.011) ‟ 0.39
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
5) (-99.9) ‟ 9.1 6) 8.17 ‟ 21.25
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
7) (-18.75) ‟ (-21.5) 8) (-10.009) ‟ (-10.009)
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 17

2. จงหาผลลัพธ์
1) [(-5.2) + 8] ‟ 2.8 2) [(-10.1) + 15.9] ‟ (-3.2)
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
3) (9.05 ‟ 3.7) + 12.1 4) (8.5 ‟ 11.9) + (-1.04)
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
5) [(-12.6) ‟ 4.4] + 9.9 6) [(-7.3) ‟ 6.2] ‟ 3.32
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
7) (-24.5) + (12.9 ‟ 11.5) 8) 20.30 ‟ (2 ‟ 15.5)
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


18 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

3. ถังเปล่าใบหนึ่งหนัก 34.75 กรัม เอาน้ าใส่ ถงั ใบนี้แล้วชัง่ ใหม่หนัก 85.2 กรัม อยากทราบว่า
น้ าในถังมีน้ าหนักเท่าไร
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
4. ถ้วยยูเรกา (Eureka) ใบหนึ่งหนัก 20.4 กรัม ถ้าเอาน้ าใส่ เต็มถ้วยแล้วชัง่ ได้หนัก 243.2 กรัม
แต่ถา้ เอาน้ าเกลือใส่ เต็มถ้วยแล้วชัง่ ได้หนัก 248.5 กรัม จงหาว่าน้ าหนักของน้ าเต็มถ้วยเบา
กว่าน้ าหนักของน้ าเกลือเต็มถ้วยกี่กรัม
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
5. ธาตุไนโตรเจน ออกซิเจน และไฮโดรเจน มีจุดหลอมเหลว - 209.8๐C, -218.4๐C และ -
259.1๐C ตามลาดับ อยากทราบว่าจุดหลอมเหลวสู งสุ ดและต่าสุ ดต่างกันกี่องศา
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….

มีคนน้ อยมากที่จะเก่ง
คณิ ตศาสตร์ มาแต่กาเนิด
แต่มีคนจานวนมากที่เก่ง
คณิ ตศาสตร์จากการฝึ กฝน

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 19
MATH

Series
5.3 การคูณและการหารทศนิยม

จุดประสงค์ การเรียนรู้
ด้ านความรู้ : นักเรี ยนสามารถ
1. คูณและหารทศนิยมที่เป็ นบวกด้วยทศนิยมที่เป็ นบวกได้
2. คูณและหารทศนิยมที่เป็ นลบด้วยทศนิยมที่เป็ นลบได้
3. คูณและหารทศนิยมที่เป็ นบวกด้วยทศนิยมที่เป็ นลบได้
4. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้
ด้ านทักษะ / กระบวนการ : นักเรี ยนมีความสามารถใน
1. การอธิ บายขั้นตอนการคูณและการหารทศนิยมได้ถูกต้อง
2. การคิดคานวณ
3. การแก้ปัญหา
4. การให้เหตุผล
5. การสื่ อสาร การสื่ อความหมาย และการนาเสนอ
6. การเชื่อมโยงกับศาสตร์ อื่น ๆ ได้
7. ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
ด้ านคุณลักษณะ : ปลูกฝังให้นกั เรี ยน
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝ่ รู้
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินยั
4. มีความเชื่อมัน่ ในตนเอง
5. มีวจิ ารณญาณและทางานอย่างเป็ นระบบ
6. ตระหนักในคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


20 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

การคูณทศนิยม
นักเรี ยนเคยศึกษามาแล้วว่า การคูณทศนิยมที่เป็ นบวกมีวธิ ี การเช่นเดียวกับการคูณจานวนเต็ม
บวกแล้วใส่ จุดทศนิยมให้ถูกที่ โดยนับจานวนตาแหน่งทศนิยมของตัวตั้ง และตัวคูณรวมกันเป็ น
จานวนตาแหน่งทศนิยมของผลคูณ กล่าวคือ ถ้าตัวตั้งเป็ นท ศนิยมที่มี a ตาแหน่ง ตัวคูณเป็ นทศนิยมที่
มี b ตาแหน่ง ผลคูณจะเป็ นทศนิยมที่มี a + b ตาแหน่ง เช่น
15 × 3 = 45
0.15 × 0.3 = 0.045
100 × 5 = 500
0.100 × 0.5 = 0.0500
1000 × 20 = 20000
1000 × 0.20 = 200.00 = 200
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลคูณ 3.4 × 1.7
วิธีทา 34
×
17
218
34
558

ดังนั้น 3.4 × 1.7 = 5.58


ตอบ 5.58
ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลคูณ 23.4 × 0.5
วิธีทา 234
×
5

ดังนั้น 23.4 × 0.5 = ……………


ตอบ ……………
สรุ ป
การคูณทศนิยมที่เป็ นบวกด้วยทศนิยมที่เป็ นบวก จะได้คาตอบเป็ นทศนิยม
ที่เป็ นบวก และมีค่าสัมบูรณ์เท่ากับผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจานวนนั้น
ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 21

ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลคูณ (-3.45) × (-0.017)


วิธีทา 345
×
17
2415
345
5865
ดังนั้น (-3.45)  (-0.017) = 0.05865
ตอบ 0.05865
ตัวอย่างที่ 4 จงหาผลคูณ (-1.08) × (-2.7)
วิธีทา 108
×
27
........

ดังนั้น (-1.08) × (-2.7) =……………


ตอบ ……………
สรุ ป
การคูณทศนิยมที่เป็ นลบด้วยทศนิยมที่เป็ นลบ จะได้คาตอบเป็ นทศนิยมที่
เป็ นบวก และมีค่าสัมบูรณ์เท่ากับผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจานวนนั้น

ตัวอย่างที่ 5 จงหาผลคูณ 30.2 × (-6.81)


วิธีทา 302
×
681
302
2416
1812
205662
ดังนั้น (30.2) × (-6.81) = -205.662
ตอบ -205.662

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


22 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

ตัวอย่างที่ 6 จงหาผลคูณ (-0.71) × 0.05


วิธีทา 71
×
5

ดังนั้น (-0.71) × 0.05 =……………


ตอบ ……………

สรุ ป
การคูณทศนิยมที่เป็ นบวกด้วยทศนิยมที่เป็ นลบ หรื อ การคูณทศนิยมที่เป็ น
ลบด้วยทศนิยมที่เป็ นบวก จะได้คาตอบเป็ นทศนิย มที่เป็ นลบ และมีค่าสัมบูรณ์
เท่ากับผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจานวนนั้น

เมื่อมีการคูณทศนิยมสองจานวน เราสามารถสลับที่ระหว่าง ตัวตั้งและตัวคูณได้ โดยที่


ผลลัพธ์ยงั คงเดิม ดังนั้นเราสามารถคูณทศนิยมคู่แรกหรื อคู่หลังก่อนก็ได้ โดยที่ผลลัพธ์สุดท้ายยังคง
เท่ากัน พร้อมทั้งครู แสดงตัวอย่างประกอบการอธิ บาย ดังนี้
ตัวอย่างที่ 7 จงหาผลลัพธ์ (-12.5) × 27.85 × 8
วิธีทา (-12.5) × 27.85 × 8 = [(-12.5) × 8] × 27.85
= (-100) × 27.85
= -2785
ตอบ -2785
ตัวอย่างที่ 8 จงหาผลลัพธ์ 2.5 × 3.6 × (-4)
วิธีทา 2.5 × 3.6 × (-4) = [………………] × ……………
= …………… × ……………
= ……………
ตอบ ……………

นอกจากสมบัติต่าง ที่ก ล่าวมากแล้วยังมี สมบัติการแจกแจงที่แสดงความเกี่ยวข้องระหว่าง


การบวกและการคูณทศนิยม ครู ยกตัวอย่างประกอบการอธิ บาย ดังนี้

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 23

ตัวอย่างที่ 9 จงหาผลลัพธ์ [(-5.5) × 17.45] + [(-5.5) × (-16.45)]


วิธีทา [(-5.5) × 17.4] + [(-5.5) × 16.45] = (-5.5) × [17.45 + (-16.45)]
= (-5.5) × 1
= -5.5
ตอบ -5.5
ตัวอย่างที่ 10 จงหาผลลัพธ์ 999.9 × 0.4
วิธีทา 999.9 × 0.4 = (1000 ‟ 0.1) × 0.4
= [(1000 + (-0.1)] × 0.4
= (1000 × 0.4) + [(-0.1) × 0.4]
= …………… + ……………
= ……………
ตอบ ……………

กิจกรรมที่ 5.5 : ทักษะการคิดคานวณ และการเชื่อมโยงความรู้


1. จงหาผลคูณ
1) 0.1 × 0.01 = ……………… 2) 0.8 × (-0.1) = ………………
3) (-1.5) × (-0.2) = ……………… 4) (-5.4) × 100 = ………………
5) 0 × (-10.9) = ……………… 6) (-1.2) × 0 = ………………
7) 1 × (-5.4) = ……………… 8) (-1) × (-17.5) = ………………
9) (-11.1) × (-0.001) = ……………… 10) 1 × 0.01 × (-0.01) = ………………
2. จงหาผลคูณ
1) (-0.35) × (-1.3) 2) (-0.002) × 79.5
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


24 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

3) (101.2) × (-1.5) 4) (-0.05) × 9.5


……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
5) (-0.02) × 0 × (-0.02) 6) (-1.02) × 100 × (-1)
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
7) [(-4.5) × 0.7] + (4.5 × 0.7) 8) [5.1× (-2.0)] + [3.2 × (-2.0)]
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
3. จงหาผลลัพธ์
1) 29.992 × 25 2) 999.9 × (-0.7)
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 25

4. อัตราการแลกเปลี่ยนเงินดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กากับเงินบาท คือ 1 ดอลลาร์ ต่อ 38.50 บาท ถ้า


จะแลกเงิน 42 ดอลลาร์ ตอ้ งใช้เงินบาทเท่าไร
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
5. ถ้าแตงโมหนึ่งผล 10 กรัมมีน้ าอยู่ 15.5 กรัม แตงโมหนัก 1.2 กิโลกรัมจะมีน้ ากี่กรัม
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….

การหารทศนิยม
พิจารณาตัวอย่างการหารทศนิยมต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 11 จงหาผลหาร 885.36  28
วิธีทา 31.62
28 885.36
84
45
28
17 3
16 8 ตรวจสอบผลหาร
56 31.62  28 = 885.36
56
ดังนั้น 885.36  28 = 31.62
ตอบ 31.62

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


26 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

จากตัวอย่าง ที่ 1 พบว่า การหารทศนิยมที่เป็ นบวกด้วยจานวนนับโดยการตั้งหาร นิยมเขียน


จุดทศนิยมเฉพาะของตัวตั้งและผลหาร ตาแหน่งของจุดทศนิยมของผลหารจะอยูต่ รงกับตาแหน่งของ
จุดทศนิยมของตัวตั้งเสมอ ส่ วนจุดทศนิยมอื่น ๆ อาจไม่เขียนก็ได้
ตัวอย่างที่ 12 จงหาผลหาร 71.8  25
วิธีทา 2.872
25 71.800
50
21 8
20 0
1 80 ตรวจสอบผลหาร
1 75 2.872  25 = 71.8
50
50
ดังนั้น 71.8  25 = 2.872
ตอบ 2.872

จากตัวอย่างที่ 2 พบว่า ในกรณี ที่การหารมีเศษและต้องการหารต่อไป ให้เติมศูนย์ที่ตวั ตั้งแล้ว


หารต่อไปจนเศษเป็ นศูนย์ หรื อจนได้ผลหารมีจานวนตาแหน่งทศนิยมตามต้องการ
ตัวอย่างที่ 13 จงหาผลหาร 0.7787  1.3
วิธีทา 0.7787  1.3 = 0.7787
1.3
= 0.7787 10
1.3 10
= 7.787
13
0.599
13 7.787
65
1 28 ตรวจสอบผลหาร
1 17 0.599  1.3 = 0.7787
117
117
ดังนั้น 0.7787  1.3 = 0.599
ตอบ 0.599
ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 27

ตัวอย่างที่ 14 จงหาผลหาร 0.2568  0.004


วิธีทา 0.2568  0.004 = 0.2568
0.004
= 0.2568 1000
0.004 1000
= 256.8
4
64.2
4 256.8
24
16 ตรวจสอบผลหาร
16 (-0.004)  (-64.2) = 0.2568
8
8
ดังนั้น 0.2568  (-0.004) = -64.2
ตอบ -64.2

จากตัวอย่างที่ 3 และตัวอย่างที่ 4 พบว่า การหารทศนิยมที่เป็ นบวกด้วยทศนิยมที่เป็ นบวก ให้


ทาตัวหารเป็ นจานวนนับโดยนา 10 หรื อ 100 หรื อ 1000 หรื อ ... คูณทั้งตัวตั้งและตัวหารตามความ
จาเป็ น
ตัวอย่างที่ 15 จงหาผลหาร (-7.812)  0.63
วิธีทา (-7.812)  0.63 = (-781.2)  63

63 781.2
ตรวจสอบผลหาร
.......
………  0.63 = -7.812
........

ดังนั้น (-7.812)  0.63 = ………………


ตอบ ………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


28 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

ตัวอย่างที่ 16 จงหาผลหาร (-1.353)  (-2.2)


วิธีทา (-1.353)  (-2.2) = (-13.53)  (-22)

22 13.530

...... ตรวจสอบผลหาร
………  (-2.2) = -1.353
......

ดังนั้น (-1.353)  (-2.2) =………………


ตอบ ………………
ตัวอย่างที่ 17 จงหาผลหาร 3.5  0.023 (ตอบเป็ นทศนิยม 2 ตาแหน่ง)
วิธีทา 3.5  0.23 = 3500  23
152.173
23 3500.000
23
120 ตรวจสอบผลหาร
115 (-12.4)  0.63 = -7.812
50
46
40
23
1 70
1 61
90
69
21
ดังนั้น 3.5  0.023  152.17
ตอบ 152.17

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 29

กิจกรรมที่ 5.6 : ทักษะการคิดคานวณ และการเชื่อมโยงความรู้


1. จงหาผลหาร
1) 2.8 ÷ 4 2) 0.45 ÷ (-100)
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
3) (-13.76) ÷ (-3.2) 4) (-250) ÷ (-0.8)
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
5) (-0.07) ÷ 0.07 6) (-0.7) ÷ (-0.8)
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


30 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

7) 5.4 ÷ (-0.6) 8) (-0.031) ÷ (-0.31)


……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
9) (-0.441) ÷ 0.63 10) [(-0.015) ÷ 0.2] ÷ (-0.2)
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
2. จงหาผลหาร (ตอบเป็ นทศนิยม 3 ตาแหน่ง)
1) 91.538 ÷ 0.74 2) (-68.75) ÷ 0.03
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 31

3) 671.2 ÷ (-5.1) 4) (-0.089) ÷ (-4.3)


……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
3. จงหาผลลัพธ์
1) [(-8.56)+(-1.44)] × 0 2) [(-8.5) + (6.2)] ÷ (-2.3)
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
3) (-0.2) × [(0.092) ÷ 0.23] 4) [(-1.2) × (0.52)] ÷ (-0.6)
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


32 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1
MATH

Series 5.4 เศษส่ วนและ


การเปรี ยบเทียบเศษส่ วน

จุดประสงค์ การเรียนรู้
ด้ านความรู้ : นักเรี ยนสามารถ
1. เขียนเศษส่ วนที่เป็ นบวกและเศษส่ วนที่เป็ นลบลงบนเส้นจานวนได้
2. เปรี ยบเทียบเศษส่ วนได้
ด้ านทักษะ / กระบวนการ : นักเรี ยนมีความสามารถใน
1. การอธิ บายขั้นตอนการเปรี ยบเทียบเศษส่ วนได้ถูกต้อง
2. การคิดคานวณ
3. การแก้ปัญหา
4. การให้เหตุผล
5. การสื่ อสาร การสื่ อความหมาย และการนาเสนอ
6. การเชื่อมโยงกับศาสตร์ อื่น ๆ ได้
7. ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
ด้ านคุณลักษณะ : ปลูกฝังให้นกั เรี ยน
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝ่ รู้
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินยั
4. มีความเชื่อมัน่ ในตนเอง
5. มีวจิ ารณญาณและทางานอย่างเป็ นระบบ
6. ตระหนักในคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 33

เศษส่ วนและการเปรียบเทียบเศษส่ วน
ความรู ้เกี่ยวกับเศษส่ วนได้ถูกนามาใช้ต้ งั แต่ 2,000 ปี ก่อนคริ สต์ศกั ราช โดยชาวบาบิโลน
เนียนและชาวอียปิ ต์ ได้นาความรู ้เกี่ยวกับเศษส่ วนมาใช้ในการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์ เมื่อ 1,650 ปี
ก่อนคริ สต์ศกั ราช ต่อมาชาวกรี กได้นาความรู ้เรื่ องนี้ไปใช้ในการแลกเปลี่ยนสิ นค้า การค้าขาย และ
ชาวโรมันได้นาไปใช้เกี่ยวกับระบบเงินตรา การชัง่ น้ าหนัก การวัด เช่น การแบ่งความยาว 1 ฟุต
ออกเป็ น 12 นิ้ว
เศษส่ วนจะประกอบด้วยตัวเศษและตัวส่ วน โดยตัวเศษหมา ยถึงจานวนส่ วนแบ่งที่ตอ้ งการ
และตัวส่ วนหมายถึงจานวนส่ วนแบ่งทั้งหมดที่เท่า ๆ กัน เช่น น้องเมย์แบ่งขนมปั งให้เพื่อนเศษหนึ่ง
ส่ วนสาม หมายความว่า น้องเมย์มีขนมปั งหนึ่งชิ้น และแบ่งขนมปั งชั้นนี้ออกเป็ นสามส่ วนเท่า ๆ กัน
แล้วหยิบให้เพื่อนคนหนึ่ง

ให้นกั เรี ยนพิจารณาเส้นจานวนที่แบ่งระยะ 1 หน่วยบนเส้นจานวนออกเป็ น 4 ส่ วนเท่า ๆ กัน


ดังรู ป
C A B
1 -3 -2 -1 0 14 2 3
1
4 4 4 4 4

จุด A อยูห่ ่างจาก 0 ไปทางขวาเป็ นระยะ 1 หน่วย จุด A จึงแทน 1


4 4
จุด B อยูห่ ่างจาก 0 ไปทางขวาเป็ นระยะ 3 หน่วย จุด B จึงแทน 3
4 4
จุด C อยูห่ ่างจาก 0 ไปทางซ้ายเป็ นระยะ - หน่วย จุด C จึงแทน - 3
3
4 4
“บนเส้นจานวน เศษส่ วนที่ อยู่ ทางขวาของ 0 เป็ น เศษส่ วนที่เป็ น บวกและเศษส่ ว นที่ อยู่
ทางซ้ายของ 0 เป็ นเศษส่ วนที่เป็ นลบ และจานวนที่อยูท่ างขวาจะมากกว่าจานวนที่อยูท่ างซ้ายเสมอ”
การเปรียบเทียบเศษส่ วน พิจารณาดังนี้
1. เมื่อเศษส่ วนสองจานวนมีส่วนเท่ากัน ให้พิจารณาตัวเศษ คือ ถ้าตัวเศษเท่ากันเศษส่ วนทั้ง
สองนั้นเท่ากัน แต่ถา้ ตัวเศษไม่เท่ากัน เศษส่ วนที่มีตวั เศษมากกว่าจะมากกว่าเศษส่ วนที่มีตวั เศษ
น้อยกว่า
ตัวอย่างที่ 1 1) 5 < 7 เพราะว่า 5 < 7
9 9
2) 8 > 4 เพราะว่า 8 > 4
11 11

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


34 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

2. เมื่อเศษส่ วนสองจา นวนมีตวั ส่ วนไม่เท่ากัน ให้ทาเศษส่ วนทั้งสองเป็ นเศษ ส่ วนที่มีตวั


ส่ วนเท่ากัน โดยนาจานวนเดียวกันที่ไม่เท่ากับ 0 มาคูณหรื อหารทั้งตัวเศษและตัวส่ วน เมื่อได้เศษส่ วน
ที่มีตวั ส่ วนเท่ากันแล้ว จึงเปรี ยบเทียบตัวเศษโดยใช้หลักเกณฑ์ในข้อ 1
ตัวอย่างที่ 2 1) ต้องการเปรี ยบเทียบ 5 และ 7 ทาตัวส่ วนให้เท่ากันก่อน ดังนี้
9 11
5 = 5×11 = 55
9 9×11 99
7 = 7×9 = 63
11 11×9 99
และ 55 < 63
99 99
ดังนั้น 5< 7
9 11

2) ต้องการเปรี ยบเทียบ 16 และ 35 ทาตัวส่ วนให้เท่ากันก่อน ดังนี้


48 120
16 = ………………….………………….
48
35 = ………………….………………….
120
และ ………………….………………….
16 35
ดังนั้น .........
48 120
3. ในการเปรี ยบเทียบเศษส่ วนที่เป็ นลบ ให้เขีย นเศษส่ วนเป็ นเศษส่ วนที่มีตวั ส่ วนเป็ น
จานวนเต็มบวกก่อน แล้วเปรี ยบเทียบตามหลักเกณฑ์ในข้อ 1 หรื อข้อ 2 ข้างต้น
ตัวอย่างที่ 3 1) ต้องการเปรี ยบเทียบ - 7 และ - 8
9 9
- 7 = -7 และ - 8 = -8
9 9 9 9
เนื่องจาก -7 > -8 ดังนั้น - 7 > - 8
9 9
นัน่ คือ 7
- >- 8
9 9
2) ต้องการเปรี ยบเทียบ - 5 และ - 2
6 3
- 5 = -5
6 6
- 2 = (-2)× =
3 3×
ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 35

เนื่องจาก -5 < .......... ดังนั้น ……………………


ดังนั้น - 5 ........... - 2
6 3
นอกจากข้างต้นแล้ว อีกวิธีหนึ่งที่น่าสนใจก็คือใช้ หลักการคูณไขว้ มีวธิ ี การดังนี้
ให้ a และ c เป็ นเศษส่ วน โดยที่ a, b, c และ d เป็ นจานวนเต็มใด ที่ b และ d ไม่
b d
เป็ นศูนย์ จาก a c
b d
จะได้ 1. ถ้า ad = bc แล้ว a = c
b d
2. ถ้า ad  bc แล้ว a  c จะได้วา่
b d
ถ้า ad > bc แล้ว a > c และถ้า ad < bc แล้ว a < c
b d b d
ตัวอย่างที่ 4 1) ต้องการเปรี ยบเทียบ 4 และ 7
9 12
4 7
9 12
จะได้ 4  12 < 9  7
48 < 63
นัน่ คือ 4 < 7
9 12
2) ต้องการเปรี ยบเทียบ - 5 และ - 8
11 15
- 5 - 8
11 15
จะได้ …………… < ……………
…………… < ……………
นัน่ คือ - 5 …………… - 8
11 15

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


36 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

กิจกรรมที่ 5.7 : ทักษะการแก้ ปัญหา การให้ เหตุผล และการสื่ อความหมาย


1. จงเติมเครื่ องหมาย = หรื อ > หรื อ < ที่ทาให้ประโยคในแต่ละข้อต่อไปนี้เป็ นจริ ง
1) - 4 …………… - 12 2) 1
…………… - 11
5 15 7 9
3) - 3 …………… 15 4) - 7 …………… - 21
4 7 6 18
5) 25 …………… 2 3 6) - 5 …………… - 1
12 12 3 2
7) - 11 …………… - 99 8) -4 3 …………… - 25
15 135 5 15
9) - 5 …………… - 6 10) -2 11 …………… - 37
24 24 13 13
11) 1 3 …………… 1 1 12) -1 3 …………… -1 1
4 2 4 2
13) -2 1 …………… -3 2 14) - 2 …………… -1 3
3 5 3 5
15) - 3 …………… - 7 16) - 9 …………… - 11
5 10 5 12
17) - 5 …………… - 4 18) -1 2 …………… -1 3
8 7 3 5
19) - 3 …………… - 5 20) -7 3 …………… -7 4
2 4 4 5
2. จงพิจารณาว่าประโยคต่อไปนี้เป็ นจริ งหรื อเท็จ ให้เขียน “จริง ” หรื อ “เท็จ ” ลงในช่องว่าง
หน้าข้อความนั้น ๆ
…………1) 12 = -21 …………2) 20  -45
-18 33 24 -54
…………3) -16 = 24 …………4) 3 4  22
40 -60 35 7
…………5) - = - 49 84 …………6) 2 8  2 12
14 24 24 32
3. ส้มโชกุนเบตง 7 ผล ราคา 45 บาท ส้มสายน้ าผึ้ง 8 ผล ราคา 51 บาท ส้มชนิดใดราคาต่ากว่า
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 37
MATH

Series
5.5 การบวกและการลบเศษส่ วน

จุดประสงค์ การเรียนรู้
ด้ านความรู้ : นักเรี ยนสามารถ
1. บวกและลบเศษส่ วนได้
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้
ด้ านทักษะ / กระบวนการ : นักเรี ยนมีความสามารถใน
1. การอธิ บายขั้นตอนการบวกและการลบเศษส่ วนได้ถูกต้อง
2. การคิดคานวณ
3. การแก้ปัญหา
4. การให้เหตุผล
5. การสื่ อสาร การสื่ อความหมาย และการนาเสนอ
6. การเชื่อมโยงกับศาสตร์ อื่น ๆ ได้
7. ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
ด้ านคุณลักษณะ : ปลูกฝังให้นกั เรี ยน
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝ่ รู้
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินยั
4. มีความเชื่อมัน่ ในตนเอง
5. มีวจิ ารณญาณและทางานอย่างเป็ นระบบ
6. ตระหนักในคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


38 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

การบวกและการลบเศษส่ วน
การบวกเศษส่ วน
ให้นกั เรี ยนพิจารณาการบวกเศษส่ วนต่อไปนี้
1) 4 + 2 = 4+2
7 7 7
= 6
7
2) 3 + 1 = 3 + 1×2
4 2 4 2×2
= 3+2
4 4
= 3 +2
4
= 5 หรื อ 1 1
4 4
จากตัวอย่างข้างต้นเป็ น การบวกเศษส่ วนที่เป็ นบวกทั้งที่มีตวั ส่ วนเท่ากันและตัวส่ วนไม่
เท่ากัน ซึ่ งนักเรี ยนก็ทราบแล้วว่า
1) การบวกเศษส่ วนที่มีตวั ส่ วนเท่ากัน ให้นาตัวเศษมาบวกกัน โดยมีตวั ส่ วนเท่าเดิม
a + c = a + c เมื่อ b  0
b b b
2) การบวกเศษส่ วนที่มีตวั ส่ วนไม่เท่ากัน ต้องทาตัวส่ วนของเศษส่ วนทั้งสองจานวน
ให้เท่ากันก่อนโดยทาตัว ส่ วนให้เท่ากับ ค .ร.น ของตัวส่ วนทั้งสองแล้วนาตัวเศษมาบวกกัน โดยมีตวั
ส่ วนเท่าเดิม
a + c = ad + bc เมื่อ b, d  0
b d bd
ต่อไปเราจะใช้หลักเกณฑ์ขา้ งต้นกับการหาผลบวกของเศษส่ วนใด ๆ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวก  - 4  +  - 2 
 7  7
 4  2
วิธีทา - 7 +- 7  = (-4) + (-2)
    7 7
= (-4) + (-2)
7
= -6
7
= -6
7

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 39

ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลบวก  - 4  + 2
 7 7
 4 2
วิธีทา - 7 + 7 = (-4) + 2
  7 7
= ……………………

= ……………………

= ……………………

ตอบ ……………………

ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลบวก  - 3  +  - 1 
 4  2
วิธีทา  3  1
- 4 +- 2  = (-3) + (-1)
    4 2
= (-3)(1) + (-1)(2)
4
= (-3) + (-2)
4
= - 5
4
5
ตอบ - หรื อ -1 1
4 4
ตัวอย่างที่ 4 จงหาผลบวก 1 3 +  -4 1 
5  3
วิธีทา 1 3 +  -4 1  = 8 + (-13)
5  3 5 3
= ……………………

= ……………………

= ……………………

ตอบ ……………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


40 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

ตัวอย่างที่ 5 จงหาผลบวก 3 + 2
5
วิธีทา 3+ 2 = ……………………
5
= ……………………

= ……………………

ตอบ ……………………

จากตัวอย่างที่ 5 เราอาจใช้หลักการของการเขียนจานวนคละ หาคาตอบได้ทนั ที ดังนี้


3+ 2 = 3 2
5 5
และในทานองเดียวกัน
4 + 3 = 4 3 และ 9 + 7 = 9 7
4 4 10 10
ตัวอย่างที่ 6 จงหาผลบวก  -3  + 2
5
วิธีทา (-3) + = 2 (-15) + 2
5 5
= -13
5
= -2 3
5
ตอบ -2 3
5
จากตัวอย่างที่ 6 สังเกตพบว่า (-3) + 2  -3 2 นักเรี ยนต้องระวังด้วยนะครับ
5 5
ตัวอย่างที่ 7 จงหาผลบวก  -3  +  - 2 
 5
วิธีทา  2
(-3) +  -  = (-15) + (-3)
 5 5
= -17
5
= - 17
5
= -3 2
5
ตอบ - 3 2
5

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 41

จากตัวอย่างที่ 7 สังเกตว่าจะใช้หลักการเขียนจานวนคละหาคาตอบของ  -3  +  - 2  ได้เลย


 5
โดยไม่ตอ้ งแสดงวิธีการบวก จะได้  -3  +  - 2  = -3 2
 5 5
ให้นกั เรี ยนหาผลบวกต่อไปนี้ อย่างรวดเร็ วและตอบเป็ นจานวนคละ
1)  -4  +  - 1  ตอบ…………………………
 2

2)  -9  +  - 3  ตอบ…………………………
 5

3)  -8  +  - 5  ตอบ…………………………
 12 
การบวกเศษส่ วน ยัง มีสมบัติการบวกเช่นเดียวกับสมบัติการบวกจานวนเต็ม อีกด้วย ได้แก่
สมบัติการบวกด้ วยศูนย์ สมบัติการสลับที่ และสมบัติการเปลีย่ นหมู่ พร้อมทั้งตัวอย่าง ดังนี้
ตัวอย่างที่ 8 จงหาผลบวก 2 1 +  - 1  +1 7 + 3
8  4 8 4
วิธีทา 2 1 +  - 1  +1 7 + 3 = 17 +  - 1  + 15 + 3
8  4 8 4 8  4 8 4
=  17 + 15  +  - 1  + 3 
 8 8   4  4 

= 32 + 2
8 4
= 4+ 1
2
= 41
2
ตอบ 4 1
2

ช่ วยด้ วย!
ช่วยเติมจานวนลงในตารางทุกช่อง เพื่อทา
-1 ให้ผลบวกของจานวนทั้งแนวตั้ง
2 แนวนอนและแนวทแยงมีค่าเท่ากับ 0
2 1

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


42 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

กิจกรรมที่ 5.8 : ทักษะการแก้ปัญหา การให้ เหตุผล และการเชื่อมโยง


1. จงหาผลบวก
1) 7 +  - 5  2) 5 +  - 7 
11  11  6  12 
= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………
 1  8  4 3
3)  -2  +  -  4)  -1  +
 9  9  15  5

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………
 5  1
5)  -  +  -2  6) (-5) +  - 3 
 6  3  7

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 43

= …………………………………… = ……………………………………
 7 5
7) 1 5 +  - 8  8)  -2  + 1
6  9  11  22

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

9) 2 7 +  -3 3  10)  1  4
 -5  +  -2 
12  8   14   21 

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

2. จงหาผลบวก
1) 3 +1 1 + (-2) 2) 5 +  - 7  + 13
4 4 18  9  18
= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………
ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15
44 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

= …………………………………… = ……………………………………

3) 5 +  - 2  +  - 5  + 1 1 4) 3 +  - 7  + 1 2 +  - 3 
6  3  6 3 5  10  5  10 
= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

การลบเศษส่ วน
จากเส้นจานวนที่นกั เรี ยนได้เคยศึกษา จะพบว่า เศษส่ วน ที่เป็ นบวกและ เศษส่ วน ที่เป็ น ลบ
ที่อยูห่ ่างจากศูนย์เป็ นระยะเท่ากัน จะอยูค่ นละข้างของศูนย์ เช่น - 1 และ 1
2 2

-1 -1 0 1 1
2 2
เรากล่าว่า - 1 เป็ นจานวนตรงข้ามของ 1
2 2
และ 1 เป็ นจานวนตรงข้ามของ - 1
2 2
และให้นกั เรี ยนหาผลบวกของจานวนตรงข้ามเป็ นคู่ ๆ ดังนี้
1 + (- 1 ) = (- 1 ) + 1 = …………………
2 2 2 2
1 1 + ( -1 1 ) = ( -1 1 ) + 1 1 = …………………
2 2 2 2

รู้ ไว้ ใช่ ว่า ถ้า a เป็ นเศษส่ วนใด ๆ จานวนตรงข้ ามของ a มีเพียงจานวนเดียว เขียน
แทนด้วย -a และ a + (-a) = (-a) + a = 0
ถ้า a เป็ นทศนิยมใดๆ จานวนตรงข้ ามของ -a คือ a และเขียนแทนด้วย
-(-a) = a ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 45

ให้นกั เรี ยนหาจานวนตรงข้ามอย่างรวดเร็ ว 5 ข้อ ดังนี้


1) 9 เป็ นจานวนตรงข้าม ของ …………………
21
2) -1 2 เป็ นจานวนตรงข้าม ของ …………………
5
3) 11 เป็ นจานวนตรงข้าม ของ …………………
12
4) -10 1 เป็ นจานวนตรงข้าม ของ …………………
3
5) - 36 เป็ นจานวนตรงข้าม ของ …………………
8
ในการหา ผลลบของ เศษส่ วน ใด ๆ ใช้ขอ้ ตกลงเดียวกัน กับที่ใช้ใน การหาผลลบของ
จานวนเต็ม ดังนี้
ตัวตั้ง ‟ ตัวลบ = ตัวตั้ง + จานวนตรงข้ามของตัวลบ
เมื่อเขียนการลบให้อยูใ่ นรู ปการบวกแล้ว ให้ดาเนินการตามหลักเกณฑ์การบวกเศษส่ วน
ที่นกั เรี ยนได้เรี ยนมาแล้ว ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 9 จงหาผลลบ  - 4  - 3
 7 7
 4 3  4  3
วิธีทา - 7 - 7 = - 7 +- 7 
     
3
= (-4) + (-3) ตัวลบคือ จานวนตรงข้าม
7
7 3 3
7 ของ คือ -
= - 7 7
7
= -1
ตอบ -1
ตัวอย่างที่ 10 จงหาผลลบ 7 -  - 1 
8  2
วิธีทา 7 -- 1  = 7 + 1
8  2  8 2
1
ตัวลบคือ - จานวนตรงข้าม
= 2
1 1
ของ - คือ
= 2 2

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


46 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

ตอบ

ตัวอย่างที่ 11 จงหาผลลบ (-2)-  -1 1 


 3
วิธีทา (-2)-  -1 1  = (-2)-  - 4 
 3  3
= (-2) + 4
3
=
3
=
=
ตอบ
ตัวอย่างที่ 12 จงหาผลลบ (-2)- 2
3
วิธีทา (-2)- = (-2) +  - 2 
2 สังเกต
3  3
-2 2 = (-2)- 2
= -2 2 3 3
3
= (-2) + ( - 2 )
ตอบ -2 2 3
3
ตัวอย่างที่ 13 จงหาผลลบ 5-  -2 2 
 3
วิธีทา 5-  -2  = 5+ 2 2
 2
 3 3
= 5+ 2 + 2
3
= ...... +
= ....
ตอบ …………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 47

กิจกรรมที่ 5.9 : ทักษะการแก้ปัญหา การให้ เหตุผล และการเชื่อมโยง


1. จงหาผลลบ
1) 5 - 1 2)  3 1
- -
8 3  5 7

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

3) 3- 4 2 4)  3  4 
- -- 
3  8  5

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………
 3 1  1  3
5)  - 7  -3 2 6)  -2  -  - 
   3  4 

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


48 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

= …………………………………… = ……………………………………
 1 1
7) 3 1 -  - 5  8)  -3  - 2
8  6  7 4

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

9) 1 5 -  -2 3  10)  2  1
 -2 3  -  -3 5 
6  4    

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

2. จงหาผลบวก
 1   2
1)  5 + 11  -  - 13  2)  -6 3  + 9  -1 3
 7 14   21    

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………
ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 49

= …………………………………… = ……………………………………
  5   4 1   1 1  1 
3) 3-  - 9   -  9 -1 3  4)  3 -3  - 1 -(-2) 
      4 2  6 

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

3. จงเขียนจานวนคละต่อไปนี้ให้อยูใ่ นรู ปการลบของจานวนเต็มกับเศษส่ วน


1) -5 1 = …………………… 2) -11 2 = ……………………
7 9

3) -3 11 = …………………… 4) -20 1 = ……………………


13 6
4. จงหาผลลบของจานวนต่อไปนี้ (ตอบเป็ นจานวนคละ)
1) (-7)- 4 = ………………………………
5

2) (-15)- 2 = ………………………………
9

3)  - 19  - 2 = ………………………………
 33 

4)  - 17  -5 = ………………………………
 21 

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


50 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

MATH

Series
5.6 การคูณและการหารเศษส่ วน

จุดประสงค์ การเรียนรู้
ด้ านความรู้ : นักเรี ยนสามารถ
1. คูณและหารเศษส่ วนได้
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้
ด้ านทักษะ / กระบวนการ : นักเรี ยนมีความสามารถใน
1. การอธิ บายขั้นตอนการคูณและการหารเศษส่ วนได้ถูกต้อง
2. การคิดคานวณ
3. การแก้ปัญหา
4. การให้เหตุผล
5. การสื่ อสาร การสื่ อความหมาย และการนาเสนอ
6. การเชื่อมโยงกับศาสตร์ อื่น ๆ ได้
7. ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
ด้ านคุณลักษณะ : ปลูกฝังให้นกั เรี ยน
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝ่ รู้
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินยั
4. มีความเชื่อมัน่ ในตนเอง
5. มีวจิ ารณญาณและทางานอย่างเป็ นระบบ
6. ตระหนักในคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 51

การคูณและการหารเศษส่ วน
การคูณเศษส่ วน
การหาผลคูณของเศษส่ วนใด ๆ ว่ามีหลักการดังนี้เมื่อ a และ c เป็ นเศษส่ วน ผลคูณของ a
b d b
c
และ เป็ นไปตามข้อตกลงต่อไปนี้
d
a × c = a×c
b d b×d
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลคูณ 4 × 10
5 7
วิธีทา 4 × 10 = 4 ×10
5 7 5×7
40 ให้นาเศษคูณกับเศษและ
=
35 นาส่ วนคูณกับส่ วน
= 8
7
ตอบ 8
7
ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลคูณ 4 × 6
12 8
วิธีทา 4 × 6 = ……………………
12 8
= ……………………

= ……………………

ตอบ ……………………

ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลคูณ  -2 1  × 5
 3 6
 1 5  7 5
วิธีทา  -2  × = - ×
 3 6  3 6
= (-7) × 5
3 6
= -35
18
ตอบ -35
18
ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15
52 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

ตัวอย่างที่ 4 จงหาผลคูณ  -3 2  ×  -4 1 
 3  5
 2  1
วิธีทา  -3  ×  -4  = ……………………
 3  5

= ……………………

= ……………………

ตอบ ……………………

ตัวอย่างที่ 5 จงหาผลคูณ  - 2  × 5 × 15
 25  8 6
 1  1 13
 2  5 15
=  - 2  × 5 × 15
วิธีทา - × ×
 25  8 6  5 
1 25  8 4 62
 
 1 1 1
= - × ×
 1 4 2
= -1
8
ตอบ -1
8
ตัวอย่างที่ 6 จงหาผลคูณ  - 4  × 2 × 6
 36  8 5
 4  2 6
วิธีทา - × × = ……………………
 36  8 5

= ……………………

= ……………………

ตอบ ……………………
การคูณเศษส่ วนตามหลักเกณฑ์ขา้ งต้นที่นกั เรี ยนเรี ยนผ่านมา ยัง มีสมบัติการคูณเช่นเดียวกับ
สมบัติการคูณ จานวนเต็ม อีกด้ว ย ได้แก่ สมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลีย่ นหมู่ สมบัติการ คูณด้ วย
ศูนย์ สมบัติการคูณด้ วยหนึ่ง และสมบัติการแจกแจง พร้อมทั้งตัวอย่าง ดังนี้

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 53

ตัวอย่างที่ 7 จงหาผลคูณ  - 1  ×  - 5  +  - 1  ×  - 7 


 3   12    3   12  

วิธีทา   1   5    1   7    1   5   7  
 - 3  ×  - 12   +  - 3  ×  - 12   =  -  ×  -  +  -  
          3   12   12  
 1   12 
= - ×- 
 3   12 
 1
=  -  ×(-1)
 3
= 1
3
ตอบ 1
3
กิจกรรมที่ 5.10 : ทักษะการสื่ อสาร การนาเสนอและการเชื่อมโยง
1. จงหาผลคูณ
1) 1 × 7 2) (- 2 )× 1
7 9 3 5
= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

3) 2 ×0 4) 25 ×  - 8 
5 4  11 
= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………
 3 5  8  3
5)  -3  × 6)  -4  ×  - 
 5  18  11   13 

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………
ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15
54 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

7) 2 1 ×  -3 2  8)  1  35
 -1  ×
7  5  5  12

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………
 2 3  7  2
9)  -2  × 10)  -  ×  -2 
 7 4  8  3

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

2. จงหาผลคูณ
 1   7  16
1)  - 2  × 4 × 6 2) - ×- ×
 3 3 8  7  4 3

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

3) 3 ×  - 5  × 12 4)  3  4   7 
- ×- ×- 
5  3  15  7   5   12 

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 55

 1  1  4 1
5)  -5  ×  -2  ×  -  × 6) 23 ×  - 16  × 8 ×  - 11  ×0
 4   2   7  15 4  7  5  12 
= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

7) 3 ×  - 7  × 4 8)  1 2
 -  × ×(-6)
4  10  3  6 5

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………
 3  7   3  8  11  7 
9)  - 10  × 15  +  - 10  × 15  10)  9 ×(-3)  +  9 ×(-3) 
     

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

 2 5   2 25   3  4   2  4 
11)  × - ×  12)  4 ×  - 5  -  5 ×  - 5 
3 2 3 4       

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


56 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

การหารเศษส่ วน
การหาผลหารของเศษส่ วนใด ๆ ว่ามีหลัก การดังนี้ เมื่อ a และ c เป็ นเศษส่ วน a หารด้วย
b d b
c หาได้ตามข้อตกลงต่อไปนี้
d
a ÷ c = a×d
b d b c
ตัวอย่างที่ 8 จงหาผลหาร ÷ 3 6
4 8
วิธีทา 3 ÷ 6 = 3×8
ให้เปลี่ยนเครื่ องหมายหารเป็ น
4 8 4 6
เครื่ องหมายคูณ แล้วกลับเศษเป็ น
= 1
ส่วนและส่วนเป็ นเศษของตัวหาร
ตอบ 1
ตัวอย่างที่ 9 จงหาผลหาร 4 ÷ 6
12 8
วิธีทา 4 ÷ 6 = ……………………
12 8
= ……………………

ตอบ ……………………

ตัวอย่างที่ 10 จงหาผลหาร  - 4  ÷  -2 2 
 9  3
 4  2  4  8
วิธีทา  -  ÷  -2  = -  ÷ - 
 9  3  9   3
=  - 4  ×  - 3 
 9  8
= 1
6
ตอบ 1
6
ตัวอย่างที่ 11 จงหาผลหาร 3 ÷  - 1 
 9
วิธีทา 3 ÷  - 1  = ……………………
 9

= ……………………

ตอบ ……………………
ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 57

ตัวอย่างที่ 12 จงหาผลหาร 5 1 ÷ (-6)


7
วิธีทา 5 1 ÷ (-6) = 36 ×  - 1 
7 7  6
= -6
7
ตอบ - 6
7

ตัวอย่างที่ 13 จงหาผลหาร 7 1 ÷ 2 1
3 5
วิธีทา 3 ÷  - 1  = ……………………
 9

= ……………………

= ……………………

ตอบ ……………………
ตัวอย่างที่ 14 จงหาผลลัพธ์  -3 3  ×  7 + 3 1 
 11   9 2
 3  7 1
วิธีทา  -3 11  ×  9 + 3 2  =  - 36  ×  7 + 7 
     11   9 2 

=  - 36  ×  14 + 63 
 11   18 

=  - 36  ×  77 
 11   18 
= (-2)×7
= -14
ตอบ -14

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


58 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

ตัวอย่างที่ 15 จงหาผลลัพธ์ 3 1 -  9 3 ÷ 4 4 
9  5 5
วิธีทา 3 1 -  9 3 ÷ 4 4  = …………………………………………
9  5 5
= …………………………………………
= …………………………………………
= …………………………………………
= …………………………………………
ตอบ ……………………

กิจกรรมที่ 5.11 : ทักษะการสื่ อสาร การนาเสนอและการเชื่อมโยง


1. จงหาผลคูณ
1) 2 ÷ (-3) 2) (-6) ÷ 1
5 3
= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………
 5  4  2
3) -  ÷ -  4)  -4  ÷ 6
 7  9  3

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

5) 3 1 ÷  -2 19  6) 1 ×  - 4  ÷  -1 1 
11  33  4  5   2  
= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………
ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 59

 3 5  11  2  8   3 
7) 2 ×  ÷ 8)  - 5  ÷ 21  ×  - 7 
 4 6  12     

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………
 9  1 2  1  1 3
9) -  ÷  +  10)  -31  ÷  2 - 
 10   6 3   2  8 4

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

= …………………………………… = ……………………………………

มีคนน้ อยมากที่จะเก่ง
คณิ ตศาสตร์ มาแต่กาเนิด
แต่มีคนจานวนมากที่เก่ง
คณิ ตศาสตร์จากการฝึ กฝน

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


60 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1
MATH

Series
5.7 ความสัมพันธ์ ระหว่ าง
ทศนิยมและเศษส่ วน

จุดประสงค์ การเรียนรู้
ด้ านความรู้ : นักเรี ยนสามารถ
1. เขียนเศษส่ วนในรู ปทศนิยมได้
2. เขียนทศนิยมซ้ าศูนย์ให้อยูใ่ นรู ปเศษส่ วนได้
ด้ านทักษะ / กระบวนการ : นักเรี ยนมีความสามารถใน
1. การอธิ บายขั้นตอนเขียนเศษส่ วนในรู ปทศนิยมและเขียน
ทศนิยมซ้ าศูนย์ให้อยูใ่ นรู ปเศษส่ วนได้ถูกต้อง
2. การคิดคานวณ
3. การแก้ปัญหา
4. การให้เหตุผล
5. การสื่ อสาร การสื่ อความหมาย และการนาเสนอ
6. การเชื่อมโยงกับศาสตร์ อื่น ๆ ได้
7. ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
ด้ านคุณลักษณะ : ปลูกฝังให้นกั เรี ยน
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝ่ รู้
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินยั
4. มีความเชื่อมัน่ ในตนเอง
5. มีวจิ ารณญาณและทางานอย่างเป็ นระบบ
6. ตระหนักในคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 61

ความสั มพันธ์ ระหว่ างทศนิยมและเศษส่ วน


การเขียนเศษส่ วนให้อยูใ่ นรู ปทศนิยม และการเขียนทศนิยม ให้อยูใ่ นรู ป เศษส่ วนนั้นสามารถ
ใช้หลักการเขียน ดังนี้
1. การเขียนเศษส่ วนให้ อยู่ในรู ปทศนิยม แบ่งได้เป็ น 2 กรณี ดังนี้
1.1 กรณีทเี่ ศษส่ วนมี ตัว ส่ วนเป็ น 10 หรือ 100 หรือ 1000 หรือ ... จะได้คา่ ของเศษเป็ น
ทศนิยม และมีจานวนตาแหน่งของทศนิยมเท่ากับจานวนเลขศูนย์ของตัวส่ วน โดยเศษส่ วนที่เป็ นบวก
จะได้ทศนิยมที่เป็ นบวก และเศษส่ วนที่เป็ นลบ จะได้ทศนิยมที่เป็ นลบ เช่น
1 = 0.1 -5 = -0.5
10 10
56 = 0.56 - 35 = -0.35
100 100
342 = 0.342 - 27 = -0.027
1000 1000
1.2 กรณีทเี่ ศษส่ วนมีตัวส่ วนไม่ เป็ น 10 หรือ 100 หรือ 1000 หรือ ... จะมีวธิ ีการเขียน 2 วิธี
ดังนี้
1.2.1 โดยการทาตัวส่ วนให้ เป็ น 10 หรือ 100 หรือ 1000 หรื อ ... โดยนาจานวนมาคูณ
หรื อหารทั้งตัวเศษและตัวส่ วนของเศษส่ วนจานวนนั้น แล้วดาเนินการหลักการเดียวกับข้อ 1.1 เช่น
1 = 1×5 = 5 = 0.5
2 2×5 10
3 = 3×25 = 75 = 0.75
4 4 ×25 100
3 = 3×125 = 375 = 0.375
8 8×125 1000
-9 = - 9×5 = - 45 = -0.45
20 20×5 100
- 508 = - 508  4 = - 127 = -0.127
4000 4000  4 1000
1.2.2 โดยการนาตัวส่ วนไปหารตัวเศษ โดยเศษส่ วนที่เป็ นบวกจะได้ทศนิยมที่เป็ น
บวก และเศษส่ วนที่เป็ นลบ จะได้ทศนิยมที่เป็ นลบ เช่น

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


62 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

ตัวอย่างที่ 1 จงเขียน 3 ให้อยูใ่ นรู ปทศนิยม


4
0.75
วิธีทา 3  4 30
4
28
20
20
0
3
ดังนั้น = 0.75
4
ตัวอย่างที่ 2 จงเขียน - 5 ให้อยูใ่ นรู ปทศนิยม
4
1.25
วิธีทา - 5  4 5.00
4
4
10
8
20
20
5
ดังนั้น - = -1.25
4
ตัวอย่างที่ 3 จงเขียน 2 ให้อยูใ่ นรู ปทศนิยมซ้ า
3
0.666...
วิธีทา 2  3 2.000
3
18
20
18
20
18
2

จากการหารข้างต้น ถ้าหารต่อจะได้ 6 ซ้ าไปเรื่ อย ๆ โดยไม่มีที่สิ้นสุ ด


ดังนั้น 2 = 0.666...
3

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 63

โดยใช้วธิ ี ขา้ งต้น เราสามารถเขียนเศษส่ วนต่อไปนี้ให้อยูใ่ นรู ปทศนิยมได้ดงั นี้


1. 1 = 0.333... 2. - 2 = -0.222...
3 9
7
3. - = -0.777... 4
4. - = -1.333...
9 3
5. 16 = 0.3555... 6. 5 = 0.41666...
45 12
7. 8 = 0.727272... 8. - 13 = -1.181818...
11 11
9. 4 = 0.121212... 10. - 44 = -0.44444...
33 99
ทศนิยมที่มีลกั ษณะดังเช่นในข้อ 1 ถึงข้อ 10 ข้างต้น เรี ยกว่า ทศนิยมซ้า
สาหรับทศนิยม เช่น 0.2 ถือว่าเป็ นทศนิยมซ้ าเช่นเดียวกัน เรี ยกว่า ทศนิยมซ้าศูนย์ เพราะ

0.2 = 0.2000... = 0.20 แต่ไม่นิยมเขียนกัน จึงเขียนสั้น ๆ เพียง 0.2
ดังนั้น จึงกล่าวได้วา่ “เศษส่ วนทุกจานวนไม่ ว่าจะเป็ นจานวนบวกหรือลบ สามารถเขียนให้
อยู่ในรู ปทศนิยมซ้าได้ ”
เศษส่ วนทุกจานวนที่มีตวั เศษเป็ นจานวนเต็มและตัวส่ วนเป็ นจานวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์
สามารถเขียนเป็ นทศนิยมซ้ าได้ เช่น
0.82000... เป็ นทศนิยมซ้ าศูนย์ เขียนแทนด้วย 0.82 อ่านว่า ศูนย์จุดแปดสอง

0.666... เป็ นทศนิยมซ้ าหก เขียนแทนด้วย 0.6 อ่านว่า ศูนย์จุดหก หกซ้ า
„„
-0.7272... เป็ นทศนิยมซ้ าเจ็ดสอง เขียนแทนด้วย -0.72 อ่านว่า ลบศูนย์จุดเจ็ดสอง
เจ็ดสองซ้ า
„„
0.3181818... เป็ นทศนิยมซ้ าหนึ่งแปด เขียนแทนด้วย 0.318 อ่านว่า ศูนย์จุดสามหนึ่งแปด
หนึ่งแปดซ้ า
„ „
0.254254254... เป็ นทศนิยมซ้ าสองห้าสี่ เขียนแทนด้วย 0.254 อ่านว่า ศูนย์จุดสองห้าสี่
สองห้าสี่ ซ้ า
2. การเขียนทศนิยมให้ อยู่ในรู ปเศษส่ วน การเขียนทศนิยมซ้ าให้อยูใ่ นรู ปเศษส่ วน ก็สามารถ
ทาได้เช่นกัน แต่ในที่น้ ีจะพิจารณาเฉพาะการเขียนทศนิยมซ้ าศูนย์ให้อยู่ ในรู ปเศษส่ วน ซึ่งมีหลักการ
ดังนี้
1. ให้นาตัวเลขหลังจุดทศนิยมทั้งหมดมาเขียนเป็ นเศษส่ วน
2. แล้วเขียนตัวส่ วนด้วย 10 หรื อ 100 หรื อ 1000 หรื อ ... ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั จานวนตาแหน่ง

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


64 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

ของทศนิยมที่กาหนดมาให้ โดยตัวส่ วนจะมีเลข 0 เท่ากับจานวนตาแหน่งของทศนิยมนั้น ๆ และถ้า


ทศนิยมนั้นมีจานวนเต็มอยูห่ น้าจุดทศนิยม ก็ให้เขียนจานวนเต็มนั้นไว้หน้าเศษส่ วนด้วย โดยทศนิยม
ที่เป็ นบวกจะได้เศษส่ วนที่บวก และทศนิยมที่เป็ นลบ จะได้เศษส่ วนที่เป็ นลบ เช่น
0.5 = 5 = 1 (ทศนิยม 1 ตาแหน่ง ตัวส่ วน คือ 10)
10 2
0.56 = 56 = 14 (ทศนิยม 2 ตาแหน่ง ตัวส่ วน คือ 100)
100 25
-1.625 = -1 625 = -1 25 (ทศนิยม 3 ตาแหน่ง ตัวส่ วน คือ 1000)
1000 40

กิจกรรมที่ 5.12 : ทักษะการสื่ อสาร การนาเสนอและการเชื่อมโยง


1. จงเขียนเศษส่ วนต่อไปนี้ให้อยูใ่ นรู ปทศนิยม
1) 17 2) - 216
100 10
……………………………………… ………………………………………

3) 125 4) - 87
1000 100
……………………………………… ………………………………………

5) - 378 6) - 537
100 1000
……………………………………… ………………………………………

7) 2549 8) - 4681
100 1000
……………………………………… ………………………………………

9) 742 10) - 39
1000 1000
……………………………………… ………………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 65

2. จงเขียนทศนิยมในรู ปเศษส่ วน
2.1) 0.4 2.2) -0.5
……………………………………… ………………………………………
2.3) -0.75 2.4) 0.036
……………………………………… ………………………………………
2.5) 1.45 2.6) -0.345
……………………………………… ………………………………………
2.7) 21.80 2.8) 0.685
……………………………………… ………………………………………
2.9) 0.37 2.10) -2.12
……………………………………… ………………………………………

3. จงเขียนจานวนต่อไปนี้ให้อยูใ่ นรู ปทศนิยม


3.1) 5 3.2) - 7
2 4
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
3.3) -4 1 3.4) - 7
4 20
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


66 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

3.5) 3 3.6) - 11
55 6
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
3.7) -3 1 3.8) 1
11 9
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
3.9) -5 2 3.10) - 100
9 99
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
4. จงเรี ยงลาดับจานวนต่อไปนี้จากน้อยไปมาก
„ „
4.1) 3.1, 3.1, 3.01 ……………………………………………………………………
„ „ „„
4.2) -1.2, -1.12, -1.12 ……………………………………………………………………
„„ „ „
4.3) -0.23, -0.3, -0.23 ……………………………………………………………………
„ „ „ „ „
4.4) 0.2, 0.212, 0.2121 ……………………………………………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5 ทศนิยมและเศษส่ วน 67

ชวนคิดคณิตศาสตร์

คิด คิด ช่ วยคิดหน่ อย

ลองทากิจกรรมดู แล้วคุณจะรู้
จงเติมจานวนลงในตารางด้านล่างนี้ เพื่อให้ผลบวกของจานวนในแนวตั้ง แนวนอน และ
แนวทแยงต่างก็เท่ากับ 0

1 -1
4 3

1
6

1
6

1
4

-1
3

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


68 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.1

ชวนคิดคณิตศาสตร์

เลือกเอง ทาเอง เป็ นเอง


ลองทากิจกรรมดู แล้วคุณจะรู้
คาชี้แจง กาหนดทศนิยมมาให้ 4 จานวน จากนั้น ให้นกั เรี ยน เลือกทศนิยมครั้งละ 2 จานวน นา มา
บวก ลบ คูณ หรื อหารแล้วให้ได้ผลลัพธ์ตามที่กาหนดให้

5.3 2.0 3.4 5.0

ผลลัพธ์

7.3 8.7 5.4 2.5 6.8


1.6 0.3 1.9 8.4 10.6
1.4 0.4 1.7 3.2 17

ตัวอย่าง
5.3 + 2.0 = 7.3
3.4 – 2.0 = 1.4
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15

You might also like