You are on page 1of 72

รายวิชา 2303105

Unit 4 Continuity of
General Biology life
(12 hrs)
1. Reproduction &
Development
2. Genetics โดย
Evolution
3.ผศ. ดร. มาลินี ฉัตรมงคลกุล
เอกสารอ้างอิง
1. Campbell, N.A., Reece, J.B.
and Mitchell, L. G. 1999.
Biology, 5th ed. Addison
Wesley Longmann, Inc.
California.
2. วิสุทธิ ์ ใบไม้ 2536 พันธุศาสตร ์
ฉบับปร ับปรุงใหม่ (3) เจ้าพระยา
ระบบการพิมพ ์ กรุงเทพฯ
Reproduction & Development
การสืบพันธุ ์ (reproduction) หมายถึง
ความสามารถในการผลิตหน่ วยสิงมี ่ ชวี ต
ิ ที่
เหมือนตนเอง (like begets like)
การเจริญ (development) หมายถึง การ
เติบโต (growth) และการเปลียนแปลงที่ ่ ยกว่า
เรี
ดิฟเฟอเรนทิเอชน ่ ั (differentiation)

เรืองของการสื บพันธุ ์และการเจริญ

เกียวข้ องสัมพันธ ์กับวงจรชีวต ิ (life cycle)
่ ชวี ต
ของสิงมี ิ ทุกชนิ ด

Reproduction แบ่งออกเป็ น 1. Cellular


Cellular reproduction
วัตถุประสงค ์

1. เซลล ์ผลิตหน่ วยทีเหมื
อนตัวเองได้
อย่างไร
่ ดขึน
2. กระบวนการทีเกิ ้

3. ความสัมพันธ ์ระหว่างโครงสร ้างและ


หน้าที่
่ division of eukaryotic
4. เน้นเรือง
การแบ่งเซลล ์เป็ นกระบวนการสืบพันธุ ์ เจริญเติบโต
และซ่อมแซม
คุณสมบัตข ่ ชวี ต
ิ องสิงมี ิ คือการสืบพันธุ ์ การสืบพันธุ ์มีทง้ั
แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction) และแบบไม่อาศัยเพศ
(asexual reproduction) การสืบพันธุ ์แบบอาศัยเพศ

เกียวข ้องกับการรวมตัวกันของเซลล ์สืบพันธุ ์ (gamete) ทีมา ่
จากพ่อและแม่ ทาให ้ได ้เซลล ์ทีเรี ่ ยกว่าโซโกต (zygote) ซึงจะ ่
เจริญต่อไปเป็ นลูกรุน ่ ใหม่ทมีี่ องค ์ประกอบพันธุกรรมแตกต่างไป
จากพ่อและแม่ การสืบพันธุ ์แบบไม่อาศัยเพศเป็ นการเพิม ่
จานวนของสิงมี ่ ชวี ต
ิ เพียงอย่างเดียว โดยตัวทีเกิ ่ ดใหม่มี
องค ์ประกอบทางพันธุกรรมเหมือนกับตัวเริมต ่ ้นทุกประการ
การสืบพันธุ ์แบบไม่อาศัยเพศเกียวข ่ ้องกับการแบ่งเซลล ์
แบบปกติ ทีเรี ่ ยกว่า ไมโทซิส (mitosis) (mitosis มาจากคาว่า
mitos = สายใย หรือ เส ้นโครโมโซม) ซึงเป็ ่ นกระบวนการเพิม ่
จานวนเซลล ์ โดยทีเซลล ่ ์ใหม่ยงั คงมีโครโมโซมเหมือนเดิม และ

The functions of cell
division

(a (b
) )
(a) Amoeba :
reproduction
(b) Multicellular
organisms: growth and
development
(c (c) Mature multicellular
) organisms: renewal and
่ ชวี ต
การแบ่งเซลล ์ในสิงมี ิ พวกโปร
คาริโอต

พวกโปรคาริโอตมีสภาพเป็ นเซลล ์เดียว ่ ้มนิ วเคลียส


่ ไม่มเี ยือหุ
มี DNA เพียง 1 โมเลกุลรวมอยูก ่ บ
ั และโปรตีนมีลก ั ษณะเป็ นวง
เรียกว่า genophore มีวธิ ก ี ารสืบพันธุ ์แบบไม่อาศัยเพศ เป็ น
แบบ binary fission ซึงมี ่ กระบวนการดังนี ้ เวลาทีจะมี ่ การแบ่ง
เซลล ์ genophore จะเคลือนตั ่ ่ ้มเซลล ์ เพือ
วเข ้ามาติดกับเยือหุ ่
่ ้มเซลล ์เป็ นทียึ
ใช ้เยือหุ ่ ด แล ้วเริมคลายตั
่ วของ DNA และจาลอง
DNA ได ้เป็ น genophore 2 วง ซึงจะเคลื ่ ่
อนย ้ายออกจากกัน
่ ้มเซลล ์ ต่อจากนั้นเซลล ์จะแบ่งตัวทีกึ
ตามผิวของเยือหุ ่ งกลางได
่ ้
เซลล ์ของยู คาริโอต (eukaryotic
cell)
ภายใน eukaryotic cell มีนิวเคลียสที่
หุม ่ ม
้ ด้วยเยือหุ ้ นิ วเคลียส นิ วเคลียสเป็ น
ศู นย ์ควบคุมกิจกรรมต่างๆ ภายใน
นิ วเคลียสมี nuceolus และเส้นใยขนาด
เล็กทีย้่ อมติดสีจาเพาะมากมายขดม้วน
ซ ้อนกันเหมือนร่างแห เรียกว่า โครมาติน
(chromatin) เส้นใยโครมาตินประกอบด้วย
DNA ทีพั ่ นรอบโมเลกุลโปรตีน histone
อย่างมีแบบแผน และขดม้วนตัวหลายชน ้ั
โครโมโ
(a) ซม
ของ
ยู คาริ
(b โอต
)

(c)

(d
)
แผนภาพแสดงโครงสร ้างของโครมาตินที่
ประกอบด้วย DNA และ histone ทีขดม้ ่ วน
ตัวกันแน่ นจนเห็นเป็ นรู ปร่างของโครโมโซม
ช ัดเจนในระยะ metaphase
a) DNA รวมกับ histone 4 ประเภท เป็ น
่ ยกว่า nucleosome แต่ละหน่ วยจะ
โครงสร ้างทีเรี
ต่อเข้าด้วยกันด้วย histone อีกประเภทหนึ่งที่
เรียกว่า H1
b) nucleosome รวมตัวกันเป็ นสายยาว เรียกว่า
chromatin fiber
c) โครมาตินจะม้วนตัวอยู ่ภายในนิ วเคลียสใน
่ การแบ่งตัวสายโครมา
สภาวะปกติ แต่ในเซลล ์ทีมี
Cellular reproduction (การสืบพันธุ ์ของ
เซลล ์)
การแบ่งเซลล ์ประกอบด ้วย การแบ่งนิ วเคลียส (nuclear
division หรือ karyokinesis) สลับกับการแบ่งไซโตพลาสซึม
(cytoplasmic division หรือ cytokinesis) ในกระบวนการ
แบ่งนิ วเคลียส มี 2 แบบ คือ ไมโทซิส (mitosis) และไมโอซิส
(meiosis)
หมายเหตุ คาว่า mitosis และ meiosis
หมายถึงกระบวนการแบ่งนิ วเคลียสเท่านัน ้ แต่
่ าใจ
คนมักเรียกผิดเป็ นการแบ่งเซลล ์จึงเป็ นทีเข้
ว่า หมายถึง การแบ่งเซลล ์แบบไมโทซิส
(mitotic cell division) และการแบ่งเซลล ์แบบ
ไมโอซิส (meiotic cell division)
The Cell Cycle
The continuity of life is based on
the reproduction of cells, or cell
division

การแบ่งเซลล ์ : โครโมโซม (สีเหลือง) และ


The cell cycle
หมายถึงวงจรชีวต ่ มจาก
ิ เซลล ์ทีเริ ่
เซลล ์เดิม 1 เซลล ์ผ่านกระบวนการ

แบ่งเซลล ์จนเสร็จสินสมบู รณ์ได้เซลล ์
ใหม่ 2 เซลล ์
ประกอบด้วย 2 ช่วง คือ
1. Interphase
2. M phase
Interphase

• เป็ นช่วงทียาวที
สุ่ ดใน cell cycle ช่วงนี สั
้ งเกตเห็น
่ ด ซึงภายในจะบรรจุ
นิ วเคลียสได้ช ัดเจนทีสุ ่ ดว้ ยร่างแห
ของเส้นใย chromatin ขนาดเล็กยาวและบางเต็มไป
หมด
• มีกระบวนการ metabolism และกิจกรรมต่างๆของ
เซลล ์มากทีสุ ่ ด เพราะเป็ นช่วงทีมี
่ การเตรียมสะสม
ว ัตถุดบ ่ าเป็ นสาหร ับการสังเคราะห ์สารต่างๆ รวมทัง้
ิ ทีจ

การสร ้าง organelles ด้วยเพือเตรี ยมพร ้อมสาหร ับ
การแบ่งเซลล ์
• มีการจาลองแบบ DNA และโครโมโซมจาก 1 เป็ น 2
โดยแต่ละหน่ วยมีองค ์ประกอบเหมือนกันทุกประการ
่ ่ในระยะ interphase แตกต่างกัน
• ช่วงเวลาทีอยู
interphase แบ่งออกเป็ น 3 ระยะ คือ
(1) ระยะ G1 (first gap) เป็ นระยะทีต่ ่ อเนื่องจาก
การแบ่งเซลล ์เรียบร ้อยแล้ว เป็ นระยะทิงช่ ้ วง

ก่อนทีจะมี การจาลองแบบโครโมโซมขึนมาใหม่ ้
้ ป ริมาณ DNA เท่ากับ
อีก นิ วเคลียสในระยะนี มี

เซลล ์ร่างกายทัวไป
(2) ระยะ S (synthesis) ต่อเนื่องจาก G1 โดย
่ การสังเคราะห ์ DNA เพือสร
เริมมี ่ ้างจาลอง
DNA และโครโมโซม เมือเสร็ ่ ้
จสินแล้ วโครโมโซม
1 แท่ง จะประกอบด้วย 2 sister chromatids ซึง่
ยึดติดกันด้วย centromere
(3) ระยะ G2 (second gap) เป็ นระยะพักอีก
ช่วงหนึ่ง ก่อนทีจะเริ
่ ่ การแบ่งนิ วเคลียส ใน
มมี
M phase ประกอบด้วย
(1) mitosis เป็ นช่วงแบ่งนิ วเคลียส จะ
ดาเนิ นไปอย่างต่อเนื่ อง แบ่งออกเป็ นระยะ
ย่อยได้ 4 ระยะ ตามลาดับ ได้แก่ prophase,
metaphase, anaphase และ telophase
อนั เป็ นผลให้คู่ chromatid ในโครโมโซมแต่
ละแท่งแยกออกจากกันไปอยู ่ขวตรงข้ ้ั าม
่ ม
ของเซลล ์ และเกิดมีเยือหุ ้ นิ วเคลียสล้อม
กลุ่มโครโมโซมชุดใหม่ทง้ั 2 ชุดนัน ้
(2) cytokinesis เป็ นช่วงแบ่งไซโตพ
ลาสซึม
The mitotic cell
cycle วงชีวต
ิ เซลล ์แบบไมโทซิส
แบ่งออกเป็ น 2 ช่วง คือ
mitotic (M) phase
สลับกับ interphase
ในช่วงแรกของ
interphase คือ G1 ต่อ
กับ S phase เป็ นช่วงที่
โครโมโซมจาลองตัวเอง
และช่วงสุดท ้าย คือ G2
M phase แบ่งเป็ น 2
ช่วง ได ้แก่ mitosis เป็ น
่ น
ช่วงแบ่งนิ วเคลียสซึงเป็

ช่วงทีโครโมโซมถู ก
ถ่ายทอดไปสูน ่ ิ วเคลียส
้ั
ใหม่ทงสอง และต่อด ้วย
โครโมโซมจาลองตัวเองและแยกออกจากก ันไป
ระหว่างไมโทซิส
โครโมโซมของยูคา
ริโอตจาลองตัวเอง
ประกอบด ้วย 2
sister
chromatids ซึง่
ยึดติดกันตรง
centromere แต่
ละ sister
chromatid จะมี
องค ์ประกอบ
เหมือนกันทุก
ประการ ขณะแบ่ง
เซลล ์แบบไมโทซิส

โครงสร ้างของ mitotic
chromosome
Kinetochor
e
Centro
mere

Chroma
tids
่ นนี คื
รูปทีเห็ ้ อ โครโมโซมจาก scanning electron microscope ซึง่
มองดูมล ี ก ่
ั ษณะเป็ นขนๆยืนออกมา เนื่ องจากโครมาตินสายยาวม้วนและ
หดตัวเป็ นแท่งโครโมโซม chromatids ทัง้ 2 สายถูกยึดให ้ติดกันตรง
centromere ซึงบริ ่ เวณ centromere นี มี ้ โปรตีนทีอั
่ ดกันแน่ น เรียกว่า
kinetochore ทาหน้าทีเป็ ่ นจุดยึดสาย spindle fiber เพือท ่ าให ้
่ ่
The stages of mitotic cell division
in an animal cell
The stages of mitotic cell division
in an animal cell
G2 ของ Interphase
้ งเกตเห็นนิ วเคลียสได ้ชัดเจน ภายในนิ วเคลียสมี
ในช่วงนี สั
1 หรือ 2 nucleoli และมีเส ้นใย chromatin ขนาดเส ้นบางและ

ยาวซึงในช่ ้ ้มีการจาลองตัวเองเรียบร ้อยแล ้ว ภายนอก
วงนี ได
นิ วเคลียสมี centrosome 2 อัน ซึงได ่ ้แบ่งตัวเพิมขึ
่ นมาก่
้ อนแล ้ว
ภายใน centrosome มี centrioles 1 คู่ และมี microtubules

ยืนออกมา เรียกว่า aster
Prophase
Chromatin จะม้วนหดตัวมากขึนเป็ ้ นรูปร่างโครโมโซม แต่
ละโครโมโซมประกอบด ้วย 2 สายของ sister chromatids
nucleolus จะสลายตัวไป ในไซโตพลาสซึมเริมมี ่ การสร ้าง
spindle fiber centrosome แยกออกจากกัน
Prometaphase

โครโมโซมม้วนตัวหดสันมากที ่ ด ตรงบริเวณ
สุ
Metaphase
centrosome เคลือนมาอยู่ ด
่ ้านตรงข ้ามของเซลล ์
kinetochore microtubules ดึงโครโมโซมให ้มาเรียงกันอยู่ตรง
กลาง โดย centromere มาเรียงกันในแนว metaphase plate
หรือ equatorial plate ซึงตั ่ งฉากกั
้ บแนวของ spindle fiber
Anaphase

เป็ นระยะทีโครโมโซมใหม่ ้ั แ่ ยกออกจากกันเข ้าสูข
ทงคู ้ั
่ วตรง
ข ้ามอย่างรวดเร็ว โดยการทางานของ spindle fiber
Telophase และ cytokinesis

เป็ นระยะทีโครโมโซมใหม่ ่
แต่ละสายเคลือนที ่ ้าสูแ่ ต่ละขัว้
เข

ของเซลล ์ และเริมคลายตั วกลายเป็ น chromatin ใน
ขณะเดียวกันเกิดเยือหุ ่ ้มนิ วเคลียสล ้อมรอบโครโมโซมทังสองชุ
้ ด
เกิดเป็ น 2 นิ วเคลียส ซึงต่างก็มอ ี งค ์ประกอบและสมบัตเิ หมือนกัน
ในขณะเดียวกันมีการแบ่งไซโตพลาสซึมโดย cytokinesis ใน
Mitotic spindle
ระหว่าง prophase : mitotic spindle สร ้าง
จาก microtubules รวมกับ protein
spindle microtubules
• ประกอบด้วยหน่ วย a และ b tubulin

• ยาวขึนโดยเพิ ่
มหน่ ่
วย tubulin ทีปลายข้
าง
หนึ่ง
• microtubules รวมกันเรียก spindle fiber

ซึงมองเห็ ่ นอยู ่
นได้ดว้ ยกล้องจุลทรรศน์ จุดเริมต้
ที่ centrosome
• ในเซลล ์สัตว ์ตรงกลางของ centrosome มี
่ าเป็ นในการ
centrioles อยู ่ แต่ไม่ได้เป็ นสิงจ
Mitotic spindle at
metaphase
Testing a hypothesis for chromosome
migration during anaphase
(a) ในการทดลอง
1. microtubules ของเซลล ์ที่
กาลังแบ่งถูกย ้อมด ้วยสีเรือง
แสง
2. ในระยะ early anaphase

นักวิจยั ทาเครืองหมายบริ เวณ
kinetochrore microtbules
โดยใช ้แสงเลเซอร ์กาจัดสีเรือง
แสงออกไป แต่ microtubules
่ ้เหมือนเดิม
ยังทาหน้าทีได
3. ต่อมาระยะ late
anaphase โครโมโซมถูกดึงให ้

เคลือนที ่
ออกจากกั น
microtubules ด ้านทียึ ่ ดติด

b) โครโมโซมถูกดึงให ้เคลือนที
ด ่ ้วย microtubules โดยเกิด
การแตกตัว (depolymerization) โมเลกุลของ tubulin
ของ kinetochore microtubules ทีบริ ่ เวณ
kinetochore
Cytokinesis ใน
เซลล ์สัตว ์
รูป scanning
electron microscope
แสดงรอยคอดทีเยื ่ อหุ
่ ้ม
เซลล ์บริเวณตรงกลางของ
่ าลังแบ่งตัว โดย
เซลล ์ทีก
ภายในเซลล ์ตรงบริเวณที่
เกิดรอยคอด
microfilament มา
รวมกันเกิดเป็ นวง
(contracting ring) เกิด
แรงหดตัวของ actin กับ
myosin ทาให ้เยือหุ ่ ้ม
cytokinesis ใน
เซลล ์พืช
รูป transmission
electron microscope
ของระยะ telophase ของ
เซลล ์พืช จะเห็นว่า
vesicles จาก Golgi
apparatus มารวมกัน
ตรงจุดกลางเซลล ์ และ
ขยายยาวออกเป็ น
่ ยกว่า cell
โครงสร ้างทีเรี

plate ซึงจะเจริ ญเป็ นผนัง
Mitosis in plant cell (จาก
รากหอม)
สมมุตฐ ่
ิ านเกียวกั
บวิวฒ
ั นาการการแบ่งเซลล ์
แบบไมโทซิส
การแบ่งเซลล ์แบบไมโทซิสเป็ นกระบวนการทีเกิ่ ดขึน้
ในพวกยูคาริโอต สาหร ับพวกโปรคาริโอตทีมี ่ genome
ขนาดเล็กกว่ามาก สืบพันธุ ์โดยกระบวนการง่ายๆ ที่
่ ดมี
เรียกว่า binary fission ดังกล่าวมาแล ้ว เมือเกิ
วิวฒั นาการเป็ นพวกยูคาริโอตซึงมี่ genome ขนาดใหญ่
กว่า นักวิทยาศาสตร ์เชือว่่ ากระบวนการ binary fission
ได ้เกิดวิวฒ
ั นาการเป็ นการแบ่งเซลล ์แบบไมโทซิส โดย
ศึกษาพบว่ามีสงมีิ่ ชวี ต
ิ พวกยูคาริโอตบางชนิ ด เช่น
dinoflagellate และ diatom มีการแบ่งเซลล ์ทีเป็ ่ นแบบ

กึงกลางระหว่ าง binary fission กับ การแบ่งเซลล ์แบบไม
สมมุตฐ ่
ิ านเกียวกับวิ
ว ัฒนาการการแบ่ง
เซลล ์แบบไมโทซิส(a) การแบ่งเซลล ์แบบ binary fission
(a ของแบคทีเรีย: genophore ติดอยู่ทเยื ี่ อ่
) ่
หุ ้มเซลล ์ เมือเซลล ์ยาวขึน้ genophore
ถูกดึงให ้แยกออกจากกัน
(b) การแบ่งเซลล ์ของพวก
(b dinoflagellate: โครโมโซมจาลองตัวเอง
) และติดอยู่ทเยืี่ อหุ
่ ้มนิ วเคลียส
microtubules ผ่านเข ้าไปในนิ วเคลียสทา
่ ดนิ วเคลียส และภายในนิ วเคลียสมี
หน้าทียึ
(c การแบ่งตัวคล ้ายกับของแบคทีเรีย
(c) การแบ่งเซลล ์ของพวก diatom: เยือ่
)
หุมนิ
้ วเคลียสยังอยู่ มีmicrotubules
ภายในนิ วเคลียสทาหน้าทีดึ ่ งโครโมโซมให ้
แยกออกจากกัน และนิ วเคลียสแบ่งเป็ น 2
(d อัน
) (d) ในพวกยูคาริโอตอืนๆ ่ รวมทังพื้ ชและ
Regulation of the cell cycle (การ
ควบคุมวงชีวต
ิ เซลล ์)
เซลล ์แต่ละชนิ ดจะมีแบบแผนของวงจรชีวต ิ
เซลล ์แตกต่างกัน เช่น
-เซลล ์ทีผิ ่ วหนังแบ่งต ัวตลอดเวลา
ี่
-เซลลืทตับจะไม่ ่
แบ่งตัว แบ่งเฉพาะเมือมี
บาดแผล
-เซลล ์ประสาทและเซลล ์กล้ามเนื อไม่้ แบ่งตัว
เลย

ปั จจัยทีควบคุ
มการแบ่งเซลล ์ ได้แก่
1. การจาลองตัวเองของ DNA
นักวิทยาศาสตร ์มีสมมุตฐ ่
ิ านว่า เมือ
โครโมโซมจาลองตัวเองใน S phase จะ
ทาให้เกิดการเติบโตของเซลล ์ในระยะ

G2 ซึงอาจกระตุ น
้ ให้เซลล ์แบ่งตัว
2. สารเคมีบางอย่างทีอยู ่ ่ในไซโตพลาสซึม
่ ่ในระยะต่างกัน
ตัวอย่างเช่น เซลล ์ 2 เซลล ์ทีอยู
แต่เอามารวมกันเป็ นเซลล ์เดียวทีมี ่ 2
นิ วเคลียส ถ้าเซลล ์หนึ่งอยู ่ในระยะ M phase
และอีกเซลล ์หนึ่งอยู ่ในระยะ G1 นิ วเคลียสของ

เซลล ์ทีสองจะเข้าระยะ M phase ทันที ซึงถู ่ ก
กระตุน้ โดยสารเคมีทอยู ี่ ่ในเซลล ์แรก

Evidence for cytoplasmic chemical


signals in cell-cycle regulation
3. ในช่วงวงจรชีวต ิ เซลล ์มี checkpoint 3
่ นสัญญาณว่าเซลล ์จะ
แห่งด้วยกันซึงเป็
แบ่งต ัวหรือไม่ ได้แก่ G1, G2 และ M
checkpoint
3.1 G1 checkpoint ในสัตว ์เลียงลู ้ ก
ด้วยนมดู เหมือนจุดนี จะส้ าคัญ ถ้าเซลล ์

ผ่านจุดนี ไปได้ เซลล ์จะมีการแบ่งตัว ถ้าไม่
ผ่านจะเข้าสู ่ Go phase ซึงเซลล ่ ์ส่วนใหญ่
ี่
ในร่างกายจะอยู ่ทระยะนี ้ เช่นเซลล ์
ประสาทและเซลล ์กล้ามเนื อ ้ แต่เซลล ์ตับ

ซึงปกติไม่แบ่งตัว แต่ถา้ ได้ร ับบาดเจ็บจะ
สามารถแบ่งตัวได้อก ี เนื่ องจากมีปัจจัยอืน ่
กระตุน
้ เช่น growth factor ทีหลั ่ งออกมา

ขณะได้ร ับบาดเจ็บ
3.2 The molecular basis of the cell
cycle control system: control at the
G2 checkpoint

ขันตอนต่ างๆของวงชีวต ิ เซลล ์ถูกควบคุม
โดยปฏิก ิรย ิ าของเอนไซม ์ protein kinases ที่

เปลียนแปลงไประหว่ างวงชีวต ิ เซลล ์ เอนไซม ์
้ ยกว่า cyclin-dependent kinase
เหล่านี เรี
(Cdks) เนื่องจากว่ามันจะทางานได้เมือรวมอยู ่ ่ก ับ
cyclin เท่านัน ้ ซึง่ cyclin เป็ นโปรตีนทีถู ่ กสร ้าง

ขึนระหว่ าง interphase ในวงชีวต ิ เซลล ์ ในทีนี่ ้
จะกล่าวถึงเฉพาะ Cdk-cyclin complex ที่
เรียกว่า MPF (M-phase promoting factor)
้ ่
The molecular basis of the cell cycle control system:
control at the G2 checkpoint


(a) กราฟแสดงปฏิก ิรยิ าของ MPF ซึงเปลี ่
ยนแปลงไปตาม

ปริมาณของ cyclin ในเซลล ์ cyclin จะถูกสังเคราะห ์ขึนและ

สะสมเพิมมากขึ ้
นในระยะ interphase (G1, S และ G2 phase)
จนมีป ริมาณสูงสุดและลดลงในระหว่าง M phase ปฏิก ิรยิ าของ
่ ป ริมาณ cyclin มากเพียงพอ ส่วน Cdk จะมี
MPF จะสูงสุดเมือมี
(b
(1) ที่ G2 checkpoint
) (ขีดสีแดง) มีป ริมาณ
cyclin มากเพียงพอทีจะ ่
ผลิต MPF
(2) MPF กระตุนให
้ ้เกิด
mitosis โดยกระตุนโปรตี
้ น
หลายชนิ ดและเอนไซม ์
ต่างๆด ้วย
(3) ผลของการทางานของ
MPF อีกอย่างหนึ่ งคือ
สุดท ้ายจะสลาย cyclin ไป
่ นอีก
(4) ส่วน Cdk ซึงเป็
ส่วนประกอบหนึ่ งของ
MPF จะคงอยู่และสามารถ

นากลับมาใช ้ใหม่ได ้ เมือ
่ น้
cyclin มีป ริมาณเพิมขึ
3.3 M checkpoint : ปั จจัยภายในเซลล ์ :
message from the kinetochore
่ นระยะทีแยก
ระยะ anaphase ซึงเป็ ่ sister
chromatids ออกจากกัน จะไม่เกิดขึนนอกจาก้
ทุกโครโมโซมจะมี spindle fiber มาเกาะ และมา
เรียงตัวกันตรง metaphase plate (นี่คือ M
่ นการแน่ ใจว่า หลังจากการ
checkpoint) เพือเป็
แบ่งเซลล ์แล้ว เซลล ์จะไม่ได้ร ับโครโมโซมไม่ครบ
หรือเกินมา โดยนักวิจ ัยพบว่า ถ้า kinetochore
ยังไม่ตด
ิ กับ spindle fiber โปรตีน APC
(anaphase promoting complex) จะอยู ่ในรู ป
inactive และไม่ส่งสัญญาณต่อ จึงไม่เกิด
anaphase แต่ถา้ kinetochore เกาะกับ
4. ปั จจัยภายนอกเซลล ์อืนๆ ่
จากเทคนิ คการเพาะเลียงเซลล ้ ์
นักวิทยาศาสตร ์ค้นพบปั จจัยภายนอก
เซลล ์หลายอย่างทีมี่ ผลต่อการแบ่งเซลล ์
เช่น
- สารอาหารทีจ ่ าเป็ น

- อาหารเลียงเซลล ่ specific
์ทีมี
growth factor
- density – dependent inhibition
- anchorage dependence
4.1 specific growth factor เป็ น
่ งออกมาจากเซลล
โปรตีนทีหลั ่ ์ร่างกาย
และกระตุน ้ ให้เซลล ์แบ่งตัวได้ ในเซลล ์
แต่ละชนิ ดต้องการ specific growth
factor แตกต่างกัน เช่น
PDGF (platelet derived
growth factor) เป็ น specific growth
factor สาหร ับการแบ่งเซลล ์ของ
fibroblast cell สร ้างมาจาก blood
platelet ขณะทีเนื่ อเยื
้ อเกี่ ยวพั
่ นเป็ น
แผล และมีความสาคัญเกียวกั ่ บการ

รูปแสดงการเพาะเลียงเซลล ์ fibroblasts แสดงให ้เห็นว่า
platelet-derived growth factor (PDGF) กระตุ ้นให ้เกิด
การแบ่งเซลล ์
(a) 4.2 Density-dependent
inhibition of cell
division (ความหนาแน่ น
หยุดการแบ่งเซลล ์)
(a) ในการเพาะเลียงเซลล้ ์ เซลล ์
ปกติจะเพิมจ ่ านวนจนกระทังแผ่ ่
เต็มพืนผิ้ วของจานเพาะเลียง ้ และ
้ ยว ก็จะหยุดแบ่ง
เรียงเป็ นชันเดี
เนื่ องจากอาหาร growth factor
และพืนที้ ผิ่ วทีเซลล
่ ์เกาะเป็ นตัว
จากัดความหนาแน่ นของเซลล ์ ถา้
นาเซลล ์บางส่วนออกไป เซลล ์ทีอยู ่ ่
(b) ่ ดขึนจะแบ่

ข ้างๆช่องว่างทีเกิ งตัว
จนกระทังเต็่ มช่องว่างนั้น ก็จะหยุด
4.3 Anchorage dependence กล่าวคือ การที่
้ ว
เซลล ์จะแบ่งต ัว เซลล ์ต้องสัมผัสกับพืนผิ

ต ัวอย่างเช่น เซลล ์ทีเพาะเลี ้
ยงในจานเพาะเลี ้
ยง
ต้องสัมผัสกับพืนผิ้ วของจานเพาะเลียง ้ เป็ นต้น

ซึงจากการสั มผัสจะส่งสัญญาณผ่าน plasma
membrane และ cytoskeleton ทาให้เซลล ์
แบ่งตัวต่อไป
density-dependent inhibition of cell
division และ anchorage dependence

แสดงผลทังในเซลล ่
์ทีเพาะเลี ้
ยงและในร่างกาย

เพือให้ เซลล ์แบ่งเซลล ์จนมีความหนาแน่ น
เพียงพอและอยู ่ในตาแหน่ งทีเหมาะสม่ สาหร ับ
เซลล ์มะเร็งจะไม่แสดง density-dependent
้ อ
การเติบโตของเซลล ์มะเร็งไปยังเนื อเยื ่
ข้างเคียง
สรุป Control of cell cycle
G1 phase - most variable phase

ปั จจัยทีควบคุ มได้แก่
- nutrition
- growth factors
- density of cell population
- anchorage dependence
- developmental state of cell
ทีท่ าให้เกิด 1. length of G1
2. whether the cell will pass
the restriction
point and divide
AP
Cell division
C
MPF
เซลล ์เข้าสู ่ระยะ S G M
Reproduction = ความสามารถในการ
่ ชวี ต
ผลิตสิงมี ่
ิ ทีเหมื อนตนเอง
ความสาคัญ: กลไกการดารงเผ่าพันธุ ์หรือ
species ให้คงอยู ่ในโลก
Heredity = การถ่ายทอดลักษณะทาง
กรรมพันธุ ์จากรุน ่ หนึ่ งไปรุน
่ ต่อไป
Variation = ความแตกต่างของสิงมี ่ ชวี ต

แต่ละตัวใน species เดียวกัน
Genetics = วิชาทีศึ ่
่ กษาเกียวกั บ
heredity และ variation
Meiosis, sexual reproduction,
การถ่ายทอดลักษณะทางกรรมพันธุ ์เป็ นไปได้
เนื่องจาก:
•DNA มีการจาลองแบบตัวเอง และถ่ายทอด
จากพ่อแม่ไAsexual
ปสู ่ลูก & Sexual
•Sperm และ ova มีการรวมกันของยีนใน
reproduction
Asexual egg
fertilized Sexual
•single parent •2 parents offsping
offsping •offsping: a unique
•offsping: combination of
genetically identical genes
to the parent •greater genetic
•clone variation
Homologous chromosome = คูข ่ อง
chromosome ทีมี ่ ขนาดเท่ากัน ตาแหน่ ง
centromere และตาแหน่ งยีน (gene loci) ที่
ควบคุมลักษณะเฉพาะอยู ่ตรงกัน (molecular
form ของยีน เรียกว่า allele อาจจะต่างกัน เช่น
A และ a แต่อยู ่ตรงกัน)
Chromosome ทีเป็ ่ ี ้ อ ันหนึ่งมาจากพ่อ และ
่ นคูน
อีกอ ันหนึ่งมาจากแม่
Autosome = chromosomeทีไม่ ่ ใช่ sex
chromosome
Sex chromosome = chromosome ทีไม่ ่

เหมือนกัน ซึงควบคุ มเพศของสิงมี ่ ชวี ต

Female = XX
Diploid = สภาวะที่ cell มี chromosome 2 ชุด
(2n)
Haploid = สภาวะที่ cell มี chromosome 1 ชุด
(n)
่ จานวน
Gamete = เซลล ์สืบพันธุ ์ทีมี
chromosome เป็ น haploid
•Sperm, ova
•Human gametes ประกอบด้วย 22 autosomes
+ 1 sex chromosome
(Xหรือ Y)
Fertilization = การรวมกันของ gametes เกิด
เป็ น zygote
Zygote = cell diploid Mitosis
การศึกษา karyotypes
Karyotypes คือ สภาพของนิ วเคลียส

ของเซลล ์ทีประกอบด้ วยโครโมโซมทัง้ 2 ชุด
(diploid, 2n) นิ ยมศึกษาในโครโมโซมระะ

ยะ metaphase เพราะเป็ นระยะทีโครโมโซม
ประกอบด้วย 2 sister chromatids และหด
้ สุ
สันที ่ ด ทาให้เห็นช ัดเจนและสะดวกต่อ
การวิเคราะห ์รู ปร่างและจานวนของ
โครโมโซม การศึกษา karyotypes นี มี ้
ประโยชน์ชว ่ ยให้ทราบความผิดปกติของ
โครโมโซม ในทางการแพทย ์ศึกษาในเซลล ์
lymphocyte ซึงเป็ ่ นเม็ดเลือดขาวชนิ ด
หนึ่ง มีขนตอนต่
้ั างๆในการเตรียม ด ังนี ้ ใส่
การศึกษา
karyotypes

(1) เซลล ์ (2) ดูดของเหลวชัน้ (3) นาไปปั่นอีกเพือแยก



lymphocyte ใน บนออก และเติม เซลล ์เม็ดขาว และใส่
เลือดนามาปั่นให ้ hypotonic น้ายาร ักษาสภาพ
ตกตะกอน ่ ้
solution เพือให (fixative) แล ้วดูดเซลล ์
เซลล ์บวม หยดลงบนสไลด ์ ทาให ้
แห ้ง ย ้อมสี และศึกษา
ภายใต ้กล ้องจุลทรรศน์

(4) นาภาพของโครโมโซมเข ้า (5) แสดงภาพ


่ บคู่
โปรแกรมคอมพิวเตอร ์ เพือจั
การสืบพันธุ ์แบบอาศ ัยเพศ 3 แบบ ซึง่

ต่างกันทีเวลาของการเกิ ดไมโอซิสและการ
ปฏิสนธิ
เป็ นแบบทีช่ ่ วงชีวต ิ ส่วน
ใหญ่ของสิงมี ่ ชวี ต ้
ิ นันเป็ น
แบบ diploid (2n)
เด่นช ัด ช่วงชีวต ิ ช่วงที่
เป็ น haploid มีอยู ่เฉพาะ
ระยะทีเป็่ นเซลล ์สืบพันธุ ์
เท่านัน ้ ซึงเมื
่ อปฏิ
่ สนธิแล้ว
่ ชวี ต
ได้เป็ นสิงมี ่ น
ิ ทีเป็
diploid ต่อไป สาหร ับ
พวกพืชมีดอกก็มวี งจร
ชีวต ิ เป็ นเดียวก ันนี เช่ ้ นกนั
(a)
เป็ นแบบทีสิ่ งมี
่ ชวี ติ
มีโครโมโซมเพียง 1
ชุดตลอดวงจรชีวต ิ
ช่วง diploid สัน ้
มาก ช่วงทีเป็ ่ น
diploid จะเป็ น

เฉพาะทีเซลล ์
สืบพันธุ ์ปฏิสนธิเป็ น
ไซโกตเท่านัน ้

หลังจากนันไซโก
(b) Most fungi and ตจะแบ่งตัวแบบไมโอ
some algae ซิสทันที ได้เป็ น

เป็ นแบบทีสิ่ งมี
่ ชวี ต
ิ มี
ช่วงชีวติ แบบ
haploid สลับกับ
diploid เช่นในต้น
พืช (sporophyte
=2n) จะมีการสร ้าง
สปอร ์โดยการแบ่ง
เซลล ์แบบไมโอซิส
่ จะเจริญ
สปอร ์ทีได้
เป็ นต้นพืช
(gametophyte=n)
่ งระยะเวลาการ
เมือถึ
สืบพันธุ ์จะมีการสร ้าง
(c) Plants and some เซลล ์สืบพันธุ ์โดยการ
algae แบ่งแบบไมโทซิส
The human life ในการสืบพันธุ ์แบบอาศัย
cycle เพศทังพ่้ อและแม่ ต่างต ้องมี
กระบวนการสร ้างเซลล ์สืบพันธุ ์
เซลล ์สืบพันธุ ์แต่ละเซลล ์มีจานวน
โครโมโซมเพียงครึงหนึ ่ ่ งของ
เซลล ์ร่างกาย ปรากฏการณ์
ดังกล่าวเกิดในกระบวนการแบ่ง
เซลล ์แบบพิเศษ ทีเรี ่ ยกว่า
meiosis เซลล ์ทีมี ่ สมบัติ
สามารถแบ่งเซลล ์แบบ meiosis
้ ้ คือ gonad ในเพศหญิงจะ
นี ได
พบเซลล ์ชนิ ดนี ในร้ ังไข่ (ovary)

ซึงจะสร ้างเซลล ์สืบพันธุ ์เรียกว่า
ไข่ (ovum) ส่วนในเพศชายจะ
พบเซลล ์ชนิ ดนี ในอั้ ณฑะ
(testis) ซึงสร่ ้างเซลล ์สืบพันธุ ์
เรียกว่าสเปิ ร ์ม (sperm) เมือเกิ่ ด
การปฏิสนธิระหว่างสเปิ ร ์มและไข่

How meiosis reduces
chromosome number
หลังจากโครโมโซมจาลองตัวเอง
่ น diploid นี จะ
แล ้ว เซลล ์ทีเป็ ้
แบ่งตัว 2 ครง้ั ได ้เป็ น haploid
(a
cell 4 เซลล ์ ในทีนี ่ แสดงให
้ ้เห็น
)
homologous chromosome
เพียง 1 คู่ เท่านั้น
(a)โครโมโซมจาลองตัวเอง
(b)ในระยะ meiosis I เป็ น
(b กระบวนการแบ่งนิ วเคลียสทีท ่ าให ้
) โครโมโซมลดลงครึงหนึ ่ ่ ง โดยที่
โครโมโซมคูเ่ หมือนในเซลล ์เดิมแยก
ออกไปอยูใ่ นแต่ละนิ วเคลียสใหม่
(c
(c)ในระยะ meiosis II เป็ น
)
The stages of meiotic cell division
แผนภาพแสดงการแบ่งเซลล ์แบบไมโอซิส
่ 2n = 4 สีแดงและสีน้ าเงิน
ของเซลล ์สัตว ์ ซึงมี
แสดงโครโมโซมทีเป็ ่ นคู เ่ หมือนกน

The stages of meiotic cell
division
Interphase I
เซลล ์มีการเตรียมพร ้อมสาหร ับการสังเคราะห ์
สารอินทรีย ์ต่างๆ เช่นเดียวกับการแบ่งแบบไมโทซิสทีกล่ ่ าว
มาแล ้ว
Prophase I
ระยะ prophase I เป็ นระยะทีกิ ่ นเวลานานและซบั ซ ้อน
กว่า prophase ของไมโทซิสคือ (1) การเข ้าคูข ่ องโครโมโซมคู่
เหมือน เรียกว่า synapsis (2) แลกเปลียนส่ ่ วนของ
chromatid (3) การแยกตัวของโครโมโซมคูเ่ หมือนออกจาก
กัน
Metaphase I

โครโมโซมม้วนหดตัวสันมากที ่ ด โครโมโซมคู่
สุ
เหมือนกันยังคงอยูเ่ คียงข ้างกันและเรียงกันตามแนว
metaphase plate โดยที่ kinetochore microtubules
Anaphase I
โครโมโซมคูเ่ หมือนกันแยกตัวออกจากกกันในทิศทางตรง
ข ้ามกัน แต่โครโมโซมแต่ละแท่งยังประกอบด ้วย 2 chromatid
อยู่
Telophase I และ cytokinesis

โครโมโซมเคลือนไปอยู ท
่ ขัี่ วทั
้ ง้ 2 ข ้าง แต่ละขัวจะมี


โครโมโซม 1 ชุด (haploid) ซึงโครโมโซมแต่ ละแท่งยังคงมี 2
sister chromatids อยู่ โดยทัวไป ่ cytokinesis จะเกิดขึน้
พร ้อมกับ telophase I ได ้เซลล ์ใหม่ 2 เซลล ์ แต่ในสิงมี ่ ชวี ต
ิ บาง
ชนิ ด โครโมโซมคลายตัว เกิดเยือหุ ่ ้มเซลล ์และนิ วคลีโอลัสขึนมา ้
ใหม่ เข ้าสูร่ ะยะ interphase II ก่อนเกิด meiosis II ต่อไป หรือ
ในบางชนิ ดเซลล ์ใหม่ในระยะ telophase I ผ่านเข ้าสูร่ ะยะ
เตรียมพร ้อมสาหร ับ meiosis II โดยทันที ไม่วา่ จะเป็ นแบบใดก็
ตาม ไม่มก ี ารจาลองตัวเองของโครโมโซมอีกในระยะ meiosis II
Meiosis II
กระบวนการ meiosis II คล ้ายกับ mitosis โดย
ผ่าน Prophase II, Metaphase II, Anaphase II,
Telophase II และตามด ้วย cytokinesis อย่างรวดเร็ว

จนกระทังเสร็ ้
จสินกระบวนการ meiosis อย่างสมบูรณ์ ได ้
ผลลัพธ ์เป็ น haploid cell 4 เซลล ์
เปรียบเทียบระหว่างกระบวนการไมโทซิส
และไมโอซิส
Meiosis 1 และ
Mitosis
Meiosis 1 Mitosis
Propha •เกิด synapsis •ไม่เกิด synapsis
se tatrads และ crossing
•chiasma over
Metaph crossing over •แต่ละโครโมโซม
ase •homologous เรียงกันอยู ่กลาง
pairs อยู ่กลาง เซลล ์
Anapha เซลล ์ •sister
se •คูข
่ องโครโมโซม chromatids แยก
แยกกัน ออกจากกันไปคน
centromere ละขัว้
ไม่ได้แยก sister centromere ถูก
chromatids ถูก แยกออกไป
Meiosis และ fertilization
genetic variation
1. Independent
assortment
2. Crossing over
3. Random fertilization
Independent assortment = การแยกคู ่
ออกจากกันของ chromosome คู ่
เหมือนกัน แต่ละคู จ
่ ะเป็ นแบบสุ่ม หรือเป็ น
อิสระต่อกันและกัน ทาให้เซลล ์สืบพันธุ ์ที่

เกิดขึนมา ่
อาจมี โครโมโซมทีมาจากพ่ อ
บ้าง และจากแม่บา้ งปะปนกันอย่างไม่มแ ี บบ
แผนแน่ นอน
ตย. ในคน โอกาสทีจะเกิ่ ด gamete ทีมี่
โครโมโซมแตกต่างกัน = 223 หรือ
8,000,000 แบบ
•Crossing over gene
Independent assortment of
chromosome

ในรูปแสดงผลลัพธ ์การแบ่งเซลล ์แบบไมโอซิสของเซลล ์ทีมี ่ 2n=4 สีแดงและสี


้ นแสดงโครโมโซมคูเ่ หมือนกันทีมาจากพ่
นาเงิ ่ อและแม่ การแยกกันของโครโมโซมคู่
เหมือนในระยะ metaphase I เป็ นแบบสุม ่ หรือเป็ นอิสระต่อกันและกัน ทาให ้
่ ้มา อาจมีโครโมโซมทีมาจากพ่
haploid cell หรือ เซลล ์สืบพันธุ ์ทีได ่ อบ ้างและแม่
The results of crossing over during meiosis:
gene recombination
ใน prophase I มีการ
เข ้าคูแ่ นบชิดกันของ
โครโมโซมคูเ่ หมือนแต่ละคู่
่ นกลไกทีเปิ
ซึงเป็ ่ ดโอกาสให ้
มีการแลกเปลียนชิ ่ ้ วน
นส่
ระหว่างโครโมโซมคู่
เหมือนกันนั้น โดย
ปรากฏการณ์ทเรี ี่ ยกว่า
crossing over อันเป็ น
ผลทาให ้เกิดการรวมตัวกัน
ใหม่ของยีน หรือทีเรี ่ ยกว่า
gene recombination ที่
จะถ่ายทอดผ่านเซลล ์
สืบพันธุ ์ไปยังรุน ่ ลูกต่อไป
Genetic variation and evolution
Charles Dawin' s Theory
1. Inheritable variation
2. Natural selection
Natural selection

•เพิมความถี ่
ของลั กษณะทางกรรมพันธุ ์ที่
สามารถสืบพันธุ ์ได้ดก ี ว่าพวกอืนๆ ่
•เกิดการสะสมของลักษณะทางกรรมพันธุ ์ที่
สามารถดารงชีวต ่
ิ อยู ่ในสิงแวดล้ ้
อมนันๆได้ ดี

•เมือการเปลี ่
ยนแปลงสิ ่
งแวดล้ ่ ชวี ต
อม สิงมี ิ ที่
มีลกั ษณะทีดี ่ สามารถสืบพันธุ ์เพิมจ ่ านวน
ลู กหลานได้ ดารงชีวต ่
ิ อยู ่ในสิงแวดล้ อม
ใหม่ได้

You might also like