You are on page 1of 8

กฎกระทรวง

กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการแจง การอนุญาต


และอัตราคาธรรมเนียมเกี่ยวกับการประกอบกิจการน้ํามันเชื้อเพลิง
พ.ศ. ๒๕๔๖
------------------------------

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ มาตรา ๗ (๑) (๒) (๓) และ (๗) มาตรา ๑๗ วรรคหนึ่ง มาตรา ๑๙ วรรค
สอง มาตรา ๒๑ มาตรา ๒๓ วรรคสอง มาตรา ๒๕ วรรคสอง และมาตรา ๒๘ วรรคสอง แห งพระราชบั ญ ญั ติควบคุม น้ํ ามั น
เชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๔๒ อันเปนพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่ง
มาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๕ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย บัญ ญัติใหกระทําได
.โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้
ขอ ๑ ในกฎกระทรวงนี้
“จุดวาบไฟ” หมายความวา อุณ หภูมิ ณ จุดที่ไอของน้ํามันเชื้อเพลิงลุกเปนเปลวไฟวาบขึ้นเมื่อสัมผัสกับ
เปลวไฟทดสอบ
“สถานที่เก็บรักษาน้ํามันเชื้อเพลิง” หมายความวา สถานที่ที่ใชในการเก็บรักษาน้ํามันเชื้อเพลิงและใหหมาย
ความรวมถึงบริเวณที่กําหนดไวในใบอนุญาตใหใชสถานที่เปนสถานที่เก็บรักษาน้ํามันเชื้อเพลิงตลอดจน สิ่งกอสราง ถัง ทอ
อุปกรณ หรือเครื่องมือตางๆ แตไมรวมถึงสถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงหรือคลังน้ํามันเชื้อเพลิง
“ถนนสาธารณะ” หมายความวา ถนนที่เปดหรือยินยอมใหประชาชนเขาไปหรือ ใชเปนทางสัญจรได ทั้งนี้
ไมวาจะมีการเรียกเก็บคาตอบแทนหรือไม
หมวด ๑
บททั่วไป
ขอ ๒ น้ํามันเชื้อเพลิงมี ๓ ชนิด ดังนี้
(๑) ชนิดไวไฟนอย ไดแก น้ํามันเชื้อเพลิงที่มีจุดวาบไฟตั้งแต ๖๐ องศาเซลเซียสขึ้นไป
(๒) ชนิดไวไฟปานกลาง ไดแก น้ํามันเชื้อเพลิงที่มีจุดวาบไฟตั้งแต ๓๗.๘ องศาเซลเซียส แตต่ํากวา ๖๐
องศาเซลเซียส
(๓) ชนิดไวไฟมาก ไดแก น้ํามันเชื้อเพลิงที่มีจุดวาบไฟต่ํากวา ๓๗.๘ องศาเซลเซียส
ขอ ๓ ภาชนะบรรจุน้ํามันเชื้อเพลิงมี ๕ ประเภท ดังนี้
(๑) ขวดน้ํามันเชื้อเพลิง
(๒) กระปองน้ํามันเชื้อเพลิง
(๓) ถังน้ํามันเชื้อเพลิง
(๔) ถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิง
(๕) ถังขนสงน้ํามันเชื้อเพลิง
ขอ ๔ ขวดน้ํามันเชื้อเพลิง ไดแก
(๑) ภาชนะแกวสําหรับบรรจุน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมากที่มีปริมาณความจุไมเกิน ๐.๕ ลิตร หรือ
(๒) ภาชนะแกวสําหรับบรรจุน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟปานกลางหรือชนิดไวไฟนอยที่มีปริมาณความจุ
ไมเกิน ๑ ลิตร
ขอ ๕ กระปองน้ํามันเชื้อเพลิง ไดแก
(๑) ภาชนะเหล็กเคลือบดีบุกสําหรับบรรจุน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟปานกลาง หรือชนิดไวไฟนอยที่มีปริมาณ
ความจุไมเกิน ๒๐ ลิตร หรือ
(๒) ภาชนะพลาสติกสําหรับบรรจุน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมากที่มีปริมาณบรรจุไมเกิน ๔ ลิตร หรือ
(๓) ภาชนะพลาสติกสําหรับบรรจุน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟปานกลางหรือชนิดไวไฟนอยที่มีปริมาณความจุ
ไมเกิน ๒๐ ลิตร
ขอ ๖ ถังน้ํามันเชื้อเพลิง ไดแก
(๑) ภาชนะเหล็กสําหรับบรรจุน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมาก ชนิดไวไฟปานกลางหรือชนิดไวไฟนอยที่มี
ปริมาณความจุไมเกิน ๒๒๗ ลิตร หรือ
(๒) ภาชนะพลาสติกสําหรับบรรจุน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟนอย ประเภทน้ํามันหลอลื่นที่มีปริมาณความจุ
เกิน ๒๐ ลิตร แตไมเกิน ๒๒๗ ลิตร
ขอ ๗ ถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิง ไดแก ภาชนะสําหรับบรรจุน้ํามันเชื้อเพลิงที่มีปริมาณความจุเกิน ๒๒๗ ลิตร
แบงตามลักษณะการติดตั้งได ๓ ลักษณะ ดังนี้
(๑) ถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงเหนือพื้นดิน มี ๒ ชนิด ดังนี้
(ก) ถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงขนาดเล็ก ไดแก ถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงที่มีปริมาณ
ความจุเกิน ๒๒๗ ลิตร แตไมเกิน ๒,๕๐๐ ลิตร
(ข) ถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงขนาดใหญ ไดแก ถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงที่มีปริมาณ
ความจุเกิน ๒,๕๐๐ ลิตรขึ้นไป แบงเปน
๑) ถังตามแนวนอน (Horizontal Tank)
๒) ถังตามแนวตั้ง (Vertical Tank)
(๒) ถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงใตพื้นดิน ไดแก ถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงตามแนวนอนหรือแนวตั้ง หรือ
ถังทรงกลมที่ฝงอยูใตพื้นดิน
(๓) ถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงที่ติดตั้งภายในโปะเหล็ก ไดแก ถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิง ตามแนวนอนหรือแนวตั้ง
หรือถังทรงกลมที่เชื่อมหรือตรึงไวภายในโปะเหล็ก
ขอ ๘ ถังขนสงน้ํามันเชื้อเพลิง ไดแก ภาชนะสําหรับบรรจุน้ํามันเชื้อเพลิงที่ตรึงไวบนยานพาหนะขนสง
น้ํามันทางบก
ขอ ๙ คลังน้ํามันเชื้อเพลิง ไดแก คลังน้ํามันเชื้อเพลิงตามกฎหมายวาดวยการควบคุมน้ํามันเชื้อเพลิงที่เก็บ
น้ํามันเชื้อเพลิงมีปริมาณเกิน ๕๐๐,๐๐๐ ลิตรขึ้นไป
ขอ ๑๐ สถานที่เก็บรักษาน้ํามันเชื้อเพลิงมี ๓ ลักษณะ ดังนี้
(๑) ลักษณะที่หนึ่ง ไดแก สถานที่เก็บน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดใดชนิดหนึ่งหรือหลายชนิด ดังนี้
(ก) สถานที่เก็บน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมาก มีปริมาณไมเกิน ๔๐ ลิตร หรือ
(ข) สถานที่เก็บน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟปานกลาง มีปริมาณไมเกิน ๒๒๗ ลิตร หรือ
(ค) สถานที่เก็บน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟนอย มีปริมาณไมเกิน ๔๕๔ ลิตร
(๒) ลักษณะที่สอง ไดแก สถานที่เก็บน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดใดชนิดหนึ่งหรือหลายชนิด ดังนี้
(ก) สถานที่เก็บน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมาก มีปริมาณเกิน ๔๐ ลิตร
แตไมเกิน ๔๕๔ ลิตร หรือ
(ข) สถานที่เก็บน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟปานกลาง มีปริมาณเกิน ๒๒๗ ลิตร
แตไมเกิน ๑,๐๐๐ ลิตร หรือ
(ค) สถานที่เก็บน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟนอย มีปริมาณเกิน ๔๕๔ ลิตร แตไมเกิน ๑๕,๐๐๐ ลิตร
(๓) ลักษณะที่สาม ไดแก สถานที่เก็บน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดใดชนิดหนึ่งหรือหลายชนิด ดังนี้
(ก) สถานที่เก็บน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมาก มีปริมาณเกิน ๔๕๔ ลิตรขึ้นไป หรือ
(ข) สถานที่เก็บน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟปานกลาง มีปริมาณเกิน ๑,๐๐๐ ลิตร ขึ้นไป หรือ
(ค) สถานที่เก็บน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟนอย มีปริมาณเกิน ๑๕,๐๐๐ ลิตรขึ้นไป
ทั้งนี้ ปริมาณทั้งหมดตาม (ก) (ข) และ (ค) รวมกันแลวตองไมเกิน ๕๐๐,๐๐๐ ลิตร
ขอ ๑๑ สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง แบงเปน ๖ ประเภท คือ
(๑) ประเภท ก
(๒) ประเภท ข
(๓) ประเภท ค
(๔) ประเภท ง
(๕) ประเภท จ
(๖) ประเภท ฉ
ข อ ๑๒ สถานี บ ริ ก ารน้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ประเภท ก ได แ ก สถานี บ ริ ก ารน้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ งที่ ใ ห บ ริ ก ารแก
ยานพาหนะทางบก ซึ่งตั้งอยูในพื้นที่ที่ติดเขตทางหลวง ถนนสาธารณะ หรือถนนสวนบุคคลซึ่งมีขนาดความกวางตามที่
กรมธุรกิจพลังงานประกาศกําหนด และเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงไวในถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงใตพื้นดิน
ข อ ๑๓ สถานี บ ริ ก ารน้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ประเภท ข ได แ ก สถานี บ ริ ก ารน้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ที่ ใ ห บ ริ ก ารแก
ยานพาหนะทางบก ซึ่ งตั้งอยูในพื้ น ที่ที่ติ ดเขตถนนสาธารณะหรือถนนสวนบุคคลที่มี ความกวางตามที่กรมธุรกิ จพลังงาน
ประกาศกําหนด และเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงไวในถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงใตพื้นดิน
ขอ ๑๔ สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงประเภท ค มี ๒ ลักษณะ ดังนี้
(๑) ลักษณะที่หนึ่ง ไดแก สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงที่ใหบริการแกยานพาหนะทางบกที่มีการเก็บน้ํามัน
เชื้อเพลิงชนิดไวไฟปานกลางหรือชนิดไวไฟนอย มีปริมาณไมเกิน ๑๐,๐๐๐ ลิตร และเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงไวในถังเก็บน้ํามัน
เชื้อเพลิงเหนือพื้นดิน
(๒) ลักษณะที่สอง ไดแก สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงที่ใหบริการแกยานพาหนะทางบกที่มีการเก็บน้ํามัน
เชื้อเพลิงชนิดไวไฟปานกลางหรือชนิดไวไฟนอย มีปริมาณเกิน ๑๐,๐๐๐ ลิตรขึ้นไป และเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงไวในถังเก็บน้ํามัน
เชื้อเพลิงเหนือพื้นดิน
ขอ ๑๕ สถานบริการน้ํามันเชื้อเพลิงประเภท ง ไดแก สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงที่เก็บน้ํามันเชื้อเพลิงชนิด
ไวไฟมาก ชนิดไวไฟปานกลาง หรือชนิดไวไฟนอยไวในถังน้ํามันเชื้อเพลิง
ขอ ๑๖ สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงประเภท จ มี ๒ ลักษณะ ดังนี้
(๑) ลักษณะที่หนึ่ง ไดแก สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงที่ใหบริการแกเรือที่มีปริมาณการเก็บน้ํามันเชื้อเพลิง
ชนิดไวไฟปานกลางหรือชนิดไวไฟนอย มีปริมาณไมเกิน ๑๐,๐๐๐ ลิตร และเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงไวในถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิง
เหนือพื้นดินหรือถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงที่ติดตั้งภายในโปะเหล็ก
(๒) ลักษณะที่สอง ไดแก สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงที่ใหบริการแกเรือที่มีปริมาณการเก็บน้ํามันเชื้อเพลิง
ไวไฟปานกลางหรือชนิดไวไฟนอย มีปริมาณเกิน ๑๐,๐๐๐ ลิตรขึ้นไป และเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงไวในถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิง
เหนือพื้นดินหรือถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงที่ติดตั้งภายในโปะเหล็กหรือเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมาก ชนิดไวไฟปานกลาง
หรือชนิดไวไฟนอยไวในถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงใตพื้นดิน
ขอ ๑๗ สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงประเภท ฉ ไดแก สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงที่ใหบริการแกอากาศยาน
หมวด ๒
ประเภทและลักษณะของกิจการควบคุม
ขอ ๑๘ กิจการควบคุมประเภทที่ ๑ ตามมาตรา ๑๗ ไดแก สถานที่เก็บรักษาน้ํามันเชื้อเพลิงลักษณะที่หนึ่ง
ขอ ๑๙ กิจการควบคุมประเภทที่ ๒ ตามมาตรา ๑๗ ไดแก
(๑) สถานที่เก็บรักษาน้ํามันเชื้อเพลิง ลักษณะที่สอง
(๒) สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงประเภท ค ลักษณะที่หนึ่ง
(๓) สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงประเภท ง
(๔) สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงประเภท จ ลักษณะที่หนึ่ง
ขอ ๒๐ กิจการควบคุมประเภทที่ ๓ ตามมาตรา ๑๗ ไดแก
(๑) สถานที่เก็บรักษาน้ํามันเชื้อเพลิง ลักษณะที่สาม
(๒) คลังน้ํามันเชื้อเพลิง
(๓) สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงประเภท ก
(๔) สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงประเภท ข
(๕) สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงประเภท ค ลักษณะที่สอง
(๖) สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงประเภท จ ลักษณะที่สอง
(๗) สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงประเภท ฉ

หมวด ๓
การแจงสําหรับการประกอบกิจการควบคุม
ขอ ๒๑ ผูใดประสงคจะประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ ๒ ตองแจงการประกอบกิจการตอพนักงานเจาหนาที่
ตามแบบ ธพ.น ๑ ทายกฎกระทรวงนี้พรอมดวยเอกสารหลักฐานที่ระบุไวในแบบดังกลาว
การประกอบกิจการตามวรรคหนึ่งเกินกวาหนึ่งแหง ใหผูประกอบกิจการแจงการประกอบกิจการทุกแหง
ขอ ๒๒ การแจงตามขอ ๒๑ ใหปฏิบัติ ดังนี้
(๑) ในเขตกรุงเทพมหานคร ใหแจง ณ กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน
(๒) ในเขตจังหวัดอื่นนอกจากเขตกรุงเทพมหานคร ใหแจง ณ สํานักงานพลังงานภูมิภาคหรือสํานักงานของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น แลวแตกรณี
ขอ ๒๓ เมื่อพนักงานเจาหนาที่ไดรับแจงแลว ใหออกใบรับแจงตามแบบ ธพ.น ๒ ทายกฎกระทรวงนี้ใหแก
ผูประกอบกิจการ และกรณีที่เปนการแจงตามขอ ๒๒ (๒) ใหรายงานใหกรมธุรกิจพลังงานทราบภายในสามสิบวันนับแตวันที่
ออกใบรับแจงดวย
ในกรณีที่เปนการแจงตามขอ ๒๒ (๒) และพนักงานเจาหนาที่ตรวจพบในภายหลังวาการแจงไมถูกตองหรือ
ไมครบถวน และไดดําเนินการอยางหนึ่งอยางใดตอผูประกอบกิจการ ใหพนักงานเจาหนาที่รายงานใหกรมธุรกิจพลังงาน
ทราบภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดดําเนินการแลวเสร็จ
ขอ ๒๔ การแกไขเปลี่ยนแปลงการประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ ๒ ใหผูประกอบกิจการแจงตอพนักงาน
เจาหนาที่ตามแบบ ธพ.น ๑ ณ สถานที่ที่แจงการประกอบกิจการควบคุมตามขอ ๒๒

หมวด ๔
การอนุญาตสําหรับการประกอบกิจการควบคุม
ขอ ๒๕ ผูใดประสงคจะประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ ๓ ใหยื่นคําขอรับใบอนุญาตตามแบบที่กรมธุรกิจ
พลังงานประกาศกําหนดพรอมดวยเอกสารหลักฐานตามที่ระบุไวในแบบดังกลาว
การประกอบกิจการตามวรรคหนึ่งเกินกวาหนึ่งแหง ใหผูประกอบกิจการยื่นคําขอรับใบอนุญาตประกอบ
กิจการทุกแหง
ขอ ๒๖ การยื่นคําขอรับใบอนุญาตตามขอ ๒๕ ใหปฏิบัติ ดังนี้
(๑) ในเขตกรุงเทพมหานคร ใหแจง ณ กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน
(๒) ในเขตจังหวัดอื่นนอกจากเขตกรุงเทพมหานคร ใหแจง ณ สํานักงานพลังงานภูมิภาคหรือสํานักงานของ
องค.กรปกครองสวนทองถิ่น แลวแตกรณี
ขอ ๒๗ ใบอนุญาตประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ ๓ ใหเปนไปตามแบบที่กรมธุรกิจพลังงานประกาศ
กําหนด
ใบอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ใหมีอายุหนึ่งปนับแตวันที่ออกใบอนุญาต
การออกใบอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ใหแยกใบอนุญาตประกอบกิจการตามประเภทของการประกอบกิจการ
และใหใชไดเฉพาะกับสถานที่ประกอบกิจการที่ระบุไวในใบอนุญาตเทานั้น
หลักเกณฑวิธีการตรวจสอบ และการพิจารณาออกใบอนุญาตประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ ๓ ใหเปน
ไปตามที่กรมธุรกิจพลังงานประกาศกําหนด
ขอ ๒๘ หามมิใหผูไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ ๓ แกไขเปลี่ยนแปลงลักษณะของ
สถานที่ประกอบกิจการใหแตกตางไปจากที่ไดรับอนุญาต เวนแตจะไดรับอนุญาต โดยจะตองยื่นคํารองขออนุญาตตามแบบที่
กรมธุรกิจพลังงานประกาศกําหนดพรอมดวยเอกสารหลักฐานตามที่กําหนดในแบบดังกลาว
ใบอนุญ าตใหแกไขเปลี่ยนแปลงลักษณะสถานที่ป ระกอบกิจการใหเป นไปตามแบบที่ กรมธุรกิ จพลังงาน
ประกาศกําหนด
ขอ ๒๙ กรณีที่ผูไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ ๓ ประสงคจะกอสราง ดัดแปลง รื้อถอน
เคลื่อนยาย ใช หรือเปลี่ยนการใชอาคารที่ใชประกอบกิจการ และประสงคใหผูอนุญาตตามกฎหมายวาดวยการควบคุมน้ํามัน
เชื้อเพลิงเปนผูออกใบอนุญาต ใบรับแจง หรือใบรับรองการใชอาคารควบคุมการใชตามกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร ให
ผูไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ ๓ ยื่นคําขอพรอมดวยเอกสารหลักฐานตามที่กําหนด
ในกฎกระทรวงที่ อ อกตามกฎหมายว า ด ว ยการควบคุ ม อาคารต อ ผู อ นุ ญ าต ณ สถานที่ ที่ ยื่ น คํ า ขอรั บ
ใบอนุญาตตามขอ ๒๖
แบบคําขออนุญาต ใบแจง ใบอนุญาต ใบรับแจง ใบรับรองการใชอาคาร ใหเปนไปตามแบบที่กําหนดตาม
กฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร
การพิ จ ารณาออกใบอนุ ญ าต ใบรับ แจ ง หรือ ใบรับ รองการใช อ าคารตามวรรคหนึ่ ง ให ดํ า เนิ น การตาม
กฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร และเพื่อประโยชน.ในการดําเนินการดังกลาว ในกรณีที่กฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร
อางถึง “เจาพนักงานทองถิ่น” ใหหมายความถึง “ผูอนุญาต” ตามกฎหมายวาดวยการควบคุมน้ํามันเชื้อเพลิง
ขอ ๓๐ หามมิใหผูไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ ๓ ใชถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงเก็บน้ํามัน
เชื้อเพลิงตางชนิดจากที่ไดรับอนุญาตใหใชเก็บน้ํามันเชื้อเพลิง เวนแตเปนการใชถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงที่ไวไฟมากกวาเก็บ
น้ํามันเชื้อเพลิงชนิดที่ไวไฟนอยกวา และตองแจงใหผูอนุญาตทราบทุกครั้งที่มีการใชถังเก็บน้ํามันตางชนิดกัน
ขอ ๓๑ ผูไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ ๓ ตองยื่นเอกสารจัดทําสัญญาประกันภัยและ
กรมธรรมประกันภัย โดยกรมธรรมดังกลาวจะตองกําหนดใหผูไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ ๓ เปนผูเอา
ประกัน และใหบุคคลหรือนิติบุคคลผูไดรับความเสียหายอันเนื่องมาจากการประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ ๓ ของผูเอา
ประกัน เปน ผูรับประโยชน. เพื่ อเปน คาเสียหายอัน เกิดแกชีวิต รางกาย หรือทรัพ ยสินของบุค คลหรือนิ ติบุค คลนั้ น ตาม
หลักเกณฑและวิธีการที่กรมธุรกิจพลังงานประกาศกําหนด
ขอ ๓๒ ผูไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ ๓ ผูใดประสงคจะขอตออายุใบอนุญาต ใหยื่น
คําขอตออายุใบอนุญาตตามแบบที่กรมธุรกิจพลังงานประกาศกําหนด พรอมดวยเอกสารหลักฐานที่ระบุไวในแบบดังกลาว
ภายในหกสิบวันกอนใบอนุญาตสิ้นอายุและเมื่อไดยื่นคําขอตออายุใบอนุญาตแลว ใหดําเนินการตอไปไดจนกวาจะไดรับแจง
การไมอนุญาต
หลักเกณฑวิธีการตรวจสอบ และการพิจารณาตออายุใบอนุญาตประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ ๓ ใหเปน
ไปตามที่กรมธุรกิจพลังงานประกาศกําหนด
ใบอนุญาตที่ขอตออายุตามวรรคหนึ่งใหมีอายุหนึ่งป.นับจากวันที่ใบอนุญาตเดิมสิ้นอายุ
ขอ ๓๓ ในกรณีที่ใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทําลายในสาระสําคัญ ใหผูไดรับใบอนุญาตยื่นคําขอรับใบแทน
ใบอนุญาตตามแบบที่กรมธุรกิจพลังงานประกาศกําหนด พรอมดวยหลักฐานการรับแจงความของพนักงานสอบสวนหรือหลัก
ฐานการรับแจงของพนักงานเจาหนาที่หรือใบอนุญาตเดิมที่ถูกทําลายภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดทราบถึงการสูญหายหรือ
ถูกทําลาย
ใบแทนใบอนุญาตประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ ๓ ใหใชแบบใบอนุญาตและเขียนหรือประทับตราความ
วา “ใบแทน” ดวยอักษรสีแดงไวดานบนของใบอนุญาต และใหระบุวัน เดือน ป.ที่ออกใบแทนพร.อมทั้งลงลายมือชื่อผูอนุญาต
กํากับไวดวย
ขอ ๓๔ ผูไดรับใบอนุญาตผูใดประสงค.จะโอนใบอนุญาตประกอบกิจการควบคุม ประเภทที่ ๓ ใหแกบุคคล
อื่น ใหผูไดรับใบอนุญาตและผูขอรับโอนใบอนุญาตยื่นคําขอโอนใบอนุญาตตามแบบที่กรมธุรกิจพลังงานประกาศกําหนดพรอม
ดวยเอกสารหลักฐานตามที่ระบุไวในแบบดังกลาว
ในการพิจารณาโอนใบอนุญาต ใหนําหลักเกณฑการพิจารณาออกใบอนุญาตมาใชบังคับโดยอนุโลม
ใบอนุญาตที่ไดรับอนุญาตใหโอนแลวใหเขียนหรือประทับตราความวา “โอนแลว” ดวยอักษรสีแดงไวดานบน
ของใบอนุญาต และใหระบุชื่อผูรับโอน วัน เดือน ป.ที่อนุญาตใหโอนใบอนุญาต พร.อมทั้งลงลายมือชื่อผูอนุญาตกํากับไวใน
ใบอนุญาตดวย
ขอ ๓๕ ในกรณีที่ผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ ๓ ตาย และทายาทหรือผูจัดการมรดก
ของผูรับใบอนุญาตดังกลาวประสงคจะดําเนินกิจการนั้นตอไป ใหดําเนินการตามขอ ๓๔ ภายในเกาสิบวันนับแตวันที่ผูไดรับ
ใบอนุญาตตาย และเมื่อไดยื่นคําขอ แลวใหดําเนินการตอไปไดจนกวาจะไดรับแจงการไมอนุญาต

หมวด ๕
คาธรรมเนียม
ขอ ๓๖ คาธรรมเนียมคําขอใบอนุญาตประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ ๓ ใบแทนใบอนุญาตการอนุญาต
ใหใชถังหรือภาชนะในการบรรจุหรือขนสงน้ํามันเชื้อเพลิง และการตออายุใบอนุญาตใหเรียกเก็บตามอัตรา ดังนี้
(๑) คําขอ ฉบับละ ๒๐ บาท
(๒) ใบอนุญาตประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ ๓ ฉบับละ ๒๐๐ บาท
(๓) ใบแทนใบอนุญาต ฉบับละ ๒๐๐ บาท
(๔) การอนุญาตใหใชถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิง ไมรวมถึงถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงใตพื้นดิน
ใหคิดคาธรรมเนียมตามชนิดของน้ํามันเชื้อเพลิงและปริมาตรของถัง ดังนี้
ก. น้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟนอย
ปริมาตรไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตราถังละ ๔๐๐ บาท
ปริมาตรที่เกินจาก ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตรา ๕ บาทตอปริมาตร ๑๐,๐๐๐ ลิตร เศษ
ของ ๑๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดเปน ๑๐,๐๐๐ ลิตร
ข. น้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟปานกลาง
ปริมาตรไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตราถังละ ๖๐๐ บาท
ปริมาตรที่เกินจาก ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตรา ๖๐ บาทตอปริมาตร ๑๐,๐๐๐ ลิตร เศษ
ของ ๑๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดเปน ๑๐,๐๐๐ ลิตร
ค. น้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมาก
ปริมาตรไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตราถังละ ๘๐๐ บาท
ปริมาตรที่เกินจาก ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตรา ๘๐ บาทตอปริมาตร ๑๐,๐๐๐ ลิตร เศษ
ของ ๑๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดเปน ๑๐,๐๐๐ ลิตร
ง. ในกรณีที่มีการอนุญาตใหใชถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงอันมีลักษณะแบงเปนชองสําหรับใชเก็บน้ํามันเชื้อเพลิง
ชนิดไวไฟนอย ชนิดไวไฟปานกลาง หรือชนิดไวไฟมาก ใหคิดคาธรรมเนียมสําหรับถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงนี้ในอัตราของถังเก็บ
น้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟสูงสุด
(๕) การอนุญาตใหใชถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงใตพื้นดิน ใหคิดคาธรรมเนียมตามชนิดของน้ํามันเชื้อเพลิงและ
ปริมาตรของถัง ดังนี้
ก. น้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟนอย
ปริมาตรไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตราถังละ ๒๐๐ บาท
ปริมาตรที่เกินจาก ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตรา ๒๐ บาทตอปริมาตร ๑๐,๐๐๐ ลิตร เศษ
ของ ๑๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดเปน ๑๐,๐๐๐ ลิตร
ข. น้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟปานกลาง
ปริมาตรไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตราถังละ ๒๕๐ บาท
ปริมาตรที่เกินจาก ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตรา ๒๕ บาทตอปริมาตร ๑๐,๐๐๐ ลิตร เศษ
ของ ๑๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดเปน ๑๐,๐๐๐ ลิตร
ค. น้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมาก
ปริมาตรไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตราถังละ ๓๐๐ บาท
ปริมาตรที่เกินจาก ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตรา ๓๐ บาทตอปริมาตร ๑๐,๐๐๐ ลิตร เศษ
ของ ๑๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดเปน ๑๐,๐๐๐ ลิตร
ง. ในกรณีที่มีการอนุญาตใหใชถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงใตพื้นดินอันมีลักษณะแบงเปนชองสําหรับใชเก็บน้ํามัน
เชื้อเพลิงชนิดไวไฟนอย ชนิดไวไฟปานกลาง หรือชนิดไวไฟมาก ใหคิดคาธรรมเนียมสําหรับถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงนี้ในอัตรา
ของถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงไวไฟสูงสุด
(๖) การอนุญาตใหใชขวดน้ํามันเชื้อเพลิง หรือกระปองน้ํามันเชื้อเพลิง หรือถังน้ํามันเชื้อเพลิงภายในสถานี
บริการน้ํามันเชื้อเพลิง ใหคิดคาธรรมเนียมตามปริมาณรวมของน้ํามันเชื้อเพลิงแตละชนิด ดังนี้
ก. น้ํามันเชื้อเพลิงไวไฟนอย
ปริมาณไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตรา ๒๐๐ บาท
ปริมาณที่เกินจาก ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตรา ๒๐ บาทตอปริมาตร ๑๐,๐๐๐ ลิตร
เศษของ ๑๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดเปน ๑๐,๐๐๐ ลิตร
ข. น้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟปานกลาง
ปริมาณไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตรา ๒๕๐ บาท
ปริมาณที่เกินจาก ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตรา ๒๐ บาทตอ ปริมาตร ๑๐,๐๐๐ ลิตร
เศษของ ๑๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดเปน ๑๐,๐๐๐ ลิตร
ค. น้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมาก
ปริมาณไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตรา ๓๐๐ บาท
ปริมาณที่เกินจาก ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตรา ๓๐ บาทตอปริมาตร ๑๐,๐๐๐ ลิตร
เศษของ ๑๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดเปน ๑๐,๐๐๐ ลิตร
(๗) การอนุญาตใหใชขวดน้ํามันเชื้อเพลิง กระปองน้ํามันเชื้อเพลิง หรือถังน้ํามันเชื้อเพลิงนอกจากที่เก็บ
ภายในสถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง ใหคิดคาธรรมเนียมตามปริมาณรวมของน้ํามันเชื้อเพลิงแตละชนิด ดังนี้
ก. น้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟนอย
ปริมาณไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตรา ๔๐๐ บาท
ปริมาณที่เกินจาก ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตรา ๕ บาทตอปริมาตร ๑๐,๐๐๐ ลิตร
เศษของ ๑๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดเปน ๑๐,๐๐๐ ลิตร
ข. น้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟปานกลาง
ปริมาณไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตรา ๖๐๐ บาท
ปริมาณที่เกินจาก ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตรา ๖๐ บาทตอปริมาตร ๑๐,๐๐๐ ลิตร
เศษของ ๑๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดเปน ๑๐,๐๐๐ ลิตร
ค. น้ํามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมาก
ปริมาณไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตรา ๘๐๐ บาท
ปริมาณที่เกินจาก ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตรา ๘๐ บาทตอปริมาตร ๑๐,๐๐๐ ลิตร
เศษของ ๑๐,๐๐๐ ลิตร ใหคิดเปน ๑๐,๐๐๐ ลิตร
(๘) การอนุญาตใหใชถังขนสงน้ํามันเชื้อเพลิงที่มีปริมาณความจุน้ํามันเชื้อเพลิง ไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ ลิตร
ใหคิดคาธรรมเนียมถังละ ๒๕๐ บาท
(๙) การตออายุใบอนุญาตใหคิดคาธรรมเนียมตามอัตรา (๒) (๔) (๕) (๖) (๗) หรือ (๘) แลวแตกรณี

บทเฉพาะกาล
ขอ ๓๗ ผูใดประกอบกิจการที่เขาลักษณะกิจการควบคุมประเภทที่ ๒ อยูกอนหรือในวันที่กฎกระทรวงนี้ใช
บังคับใหแจงการประกอบกิจการตอพนักงานเจาหนาที่ตามแบบ ธพ.น ๑ ทายกฎกระทรวงนี้พรอมดวยเอกสารหลักฐานที่ระบุ
ไวในแบบดังกลาว ยกเวนเอกสารหลักฐานตาม ๓ (๖) (๙) (๑๐) และ (๑๑) ภายในเกาสิบวันนับแตวันที่กฎกระทรวงนี้ใชบังคับ
ขอ ๓๘ ผูใดประกอบกิจการโดยไดรับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติควบคุมน้ํามันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๔๒
อยูกอนหรือในวันที่กฎกระทรวงนี้ใชบังคับ ใหใบอนุญาตดังกลาว ใชไดจนถึงวันที่ใบอนุญาตฉบับเดิมสิ้นอายุ
ขอ ๓๙ ผูใดประกอบกิจการโดยไดรับใบอนุญาตและไดยื่นคําขอตออายุใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติควบคุม
น้ํามันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๔๒ กอนหรือในวันที่กฎกระทรวงนี้ใชบังคับใหดําเนินกิจการตอไปไดจนกวาจะไดรับแจงการไมอนุญาต
การพิจารณาตออายุใบอนุญาตใหเปนไปตามขอ ๓๒ ใบอนุญาตที่ขอตออายุตามวรรคหนึ่งใหมีอายุหนึ่งป
นับจากวันที่ใบอนุญาตเดิมสิ้นอายุ

ใหไว ณ วันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๖


พรหมินทร เลิศสุริยเดช
รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน
----------------------------------------------------------------------
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่กฎหมายวาดวยการควบคุมน้ํามันเชื้อเพลิงบัญญัติใหหลักเกณฑวิธีการและ
เงื่อนไขเกี่ยวกับการแจงและการออกใบรับแจงการขอและออกใบอนุญาต อายุใบอนุญาต การขอและการใหตออายุใบอนุญาต การออกใบแทน
ใบอนุญาต การขอและการใหโอนใบอนุญาต รวมทั้งอัตราคาธรรมเนียมเกี่ยวกับการประกอบกิจการน้ํามันเชื้อเพลิงตามกฎหมายดังกลาวเปนไป
ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง จึงจําเปนตองออกกฎกระทรวงนี้ [รก.๒๕๔๖/๒๗ก/๔/๑ เมษายน ๒๕๔๖]

You might also like